• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:516e01af82c2ef02f5fc8c4730fef279' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u19991/17_5.jpg\" height=\"66\" />\n</p>\n<p>\n          <strong>วิเคราะห์ภาษาและกวีโวหาร</strong><br />\n          บทละครนอกเป็นวรรณคดีร้อยกรองซึ่งมีภาษาที่ไพเราะ  เพราะกวีใช้ภาษาที่ทีความหมายลึกซึ้ง  สร้างสรรค์อารมณ์  ทำให้เกิดจินตนาการ  และภาพพจน์การใช้ภาษาและกวีโวหารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการแต่งร้อยกรอง  การแต่งมุ่งแสดงความรู้สึกด้านอารมณ์มากกว่าข้อเท็จจริง  ภาษาที่ใช้ทำให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ได้ดี  ซึ่งแง่งามของวรรณคดีแยกออกได้ดังนี้<br />\n<strong>          การเลือกสรรคำ</strong><br />\n          คำที่ใช้เป็นคำง่าย  แต่กลั่นกรองอย่างประณีต  เหมาะสมกับตัวละครและเนื้อเรื่อง  ในบทละครนอกส่วนใหญ่ใช้คำที่เป็นภาษาชาวบ้าน  เพราะแลดงให้ชาวบ้านชม  เดิมจะใช้ภาษาง่ายแต่อาจหยาบโลนไม่ไพเราะ  บทพระราชนิพนธ์จะใช้คำที่เป็นลักษณะเดียวกันแต่ขัดเกลาให้เรียบร้อยไพเราะกว่า  ใช้ภาษากวีได้ดีแม้ว่าจะเป็นการแต่งละครนอกซึ่งไม่มุ่งความงดงามองภาษามากนัก  การเลือกสรรคำมาใช้แบงออกได้เป็น  ๒  ลักษณะคือ<br />\n          ๑.การใช้คำให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง  คือ  ใช้คำจำนวนน้อย  กินใจความมาก  ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย  บทละครนอกจะดำเนินเรื่องไปอย่างรวดเร็ว  การแต่งจึงค่อนข้างรวบรัดใช้คำที่เข้าใจง่าย <br />\n          ๒.การใช้คำให้เหมาะกับบุคคล  เรื่องสังข์ทองมีบทบาทของบุคคลที่ต่างสถานภาพกันมากมาย  รัชกาลที่  ๒   สามารถเลือกใช้ถ้อยคำได้เหมาะสมกับสถานภาพของบุคคล<br />\n<strong>เสียงเสนะ</strong><br />\n          ความไพเราะในคำกลอนได้จากสัมผัสอักษรและสัมผัสสระ<br />\n<strong>จินตนาการ</strong><br />\n          การบรรยายบางตอนทำให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพตามไปด้วย  เช่น  การบรรยายภาพทะเล                                                                     <strong>กวีโวหาร</strong><br />\n          กวีโวหาร  คือการใช้ชั้นเชิงในการแต่งให้มีรสของถ้อยคำลึกซึ้งประทับใจ  ได้แก่<br />\n          ๑.การใช้ภาษาให้เกิดภาพพจน์  คือ  กลวิธีในการใช้ภาษาให้ข้อความนั้นกินใจ  ชวนคิด  ชวนให้จดจำ  โดยไมใช่การบอกเล่าอย่างตรงไปตรงมา  มีหลายวิธี เช่น<br />\n                    ๑.๑  วิธีอุปมาอุปไมย  คือ  การกล่าวเปรียบเทียบของสองสิ่งว่าสิ่งหนึ่ง  เหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง  ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมให้เห็นความรู้สึกชัดเจนยิ่งขึ้นกว่าคำอธิบายตามธรรมดา  โดนใช้คำที่บ่งบอกว่าเปรียบเทียบอย่างชัดเจน  คือ  คำว่า  อุปมา  เล่ห์  ดุจ  กล  เฉก  เช่น  เหมือน  ราว  ประดุจ  เพียง  เสมอ  คล้าย<br />\n                    ๑.๒  วิธีอุปลักษณ์  คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง  ไม่มีคำที่บ่งบอกการเปรียบให้เห็นเหมือนอุปมา  บางครั้งเรียกว่า  เปรียบเป็น  เพราะใช้คำว่า  เป็น เท่า  คือ    <br />\n                    ๑.๓  บุคลาธิษฐาน  คือ  การสมมติให้สิ่งที่กล่าวถึงมีชีวิตเหมือนมนุษย์<br />\n          ๒.  การพรรณนาและการบรรยายที่แจ่มแจ้งชัดเจน  การพรรณนาแบบนี้ผู้อ่านจะสามารถนึกตาม  เห็นภาพ  เข้าใจถ้อยคำและข้อความอย่างแจ่มแจ้งลึกซึ้ง  ซึ่งมีหลายวิธี  เช่น  <br />\n                    ๒.๑  การพรรณนาที่ทำให้เห็นภาพอย่าสงตรงไปตรงมา  <br />\n                    ๒.๒  การบรรยายให้เห็นนาฏการ  คือ  ภาพความเคลื่อนไหวและบทบาททางอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของตัวละคร<br />\n<strong>รสในวรรณคดี<br />\n</strong>           รสในวรรณคดี  คือ  ลีลาอันไพเราะที่เกิดจากการแงคำประพันธ์  ซึ่งมี ดังนี้<br />\n๑.เสาวรจนี  (ถ้อยคำชมโฉม)  คือ  บทที่ชมความงาม  ส่วนใหญ่เป็นการชมความงามของตัวละคร<br />\n๒.นารีปราโมทย์  (ถ้อยคำเกี้ยวหรือบทโอ้โลม)  เป็นบทที่แสดงความรักใคร่  หรือพูดจาโอ้โลมให้อีกฝ่ายหนึ่งชื่นชอบ<br />\n๓.พิโรธวาทัง  (ถ้อยคำแสดงความโกรธหรือบทตัดพ้อ)  เป็นบทแสดงความโกรธ  เคียดแค้น  ตัดพ้อ  เหน็บแนม  เสียดสี  ด้วยประการต่างๆ<br />\n๔.สัลลาปังคพิสัย  (ถ้อยคำแสดงความโศก)  เป็นบทพรรณนาความโศกเศร้า  หรือคร่ำครวญ<br />\nความไพเราะหรือความดีเด่นของถ้อยคำในบทละครนอกนั้นเน้นหนักที่สำนวนโวหารอันคมคาย  การใช้ถ้อยคำโต้ตอบกันอย่างเผ็ดร้อนแต่ก็น่าฟัง  เพราะเป็นคารมที่เฉียบแหลม  ทำให้มองเห็นลักษณะของ  “ละครชาวบ้าน”   ซึ่งการใช้ภาษาไม่ละเมียดละไม ประณีตบรรจงเท่ากับละครใน ซึ่งละครนอกจะใช้คำง่าย ตรงไปตงมา และสนุกแบบ “สาแก่ใจ” ผู้ชม\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42965\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/HOME_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47067\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_10.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47068\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_9.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47069\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_1.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47073\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_1_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47077\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_2_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47079\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_3_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47083\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_4_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47087\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_5_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47089\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_6_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47091\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_7_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47094\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_8_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47097\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_9_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47113\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_10_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47116\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_11_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47807\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_3.jpg\" height=\"29\" /></a>  <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_12.jpg\" height=\"29\" />  <a href=\"/node/47816\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_7.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47818\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_5.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47819\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_6.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/50117\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_8.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n', created = 1715343815, expire = 1715430215, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:516e01af82c2ef02f5fc8c4730fef279' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิเคราะห์ภาษา

          วิเคราะห์ภาษาและกวีโวหาร
          บทละครนอกเป็นวรรณคดีร้อยกรองซึ่งมีภาษาที่ไพเราะ  เพราะกวีใช้ภาษาที่ทีความหมายลึกซึ้ง  สร้างสรรค์อารมณ์  ทำให้เกิดจินตนาการ  และภาพพจน์การใช้ภาษาและกวีโวหารเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการแต่งร้อยกรอง  การแต่งมุ่งแสดงความรู้สึกด้านอารมณ์มากกว่าข้อเท็จจริง  ภาษาที่ใช้ทำให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ได้ดี  ซึ่งแง่งามของวรรณคดีแยกออกได้ดังนี้
          การเลือกสรรคำ
          คำที่ใช้เป็นคำง่าย  แต่กลั่นกรองอย่างประณีต  เหมาะสมกับตัวละครและเนื้อเรื่อง  ในบทละครนอกส่วนใหญ่ใช้คำที่เป็นภาษาชาวบ้าน  เพราะแลดงให้ชาวบ้านชม  เดิมจะใช้ภาษาง่ายแต่อาจหยาบโลนไม่ไพเราะ  บทพระราชนิพนธ์จะใช้คำที่เป็นลักษณะเดียวกันแต่ขัดเกลาให้เรียบร้อยไพเราะกว่า  ใช้ภาษากวีได้ดีแม้ว่าจะเป็นการแต่งละครนอกซึ่งไม่มุ่งความงดงามองภาษามากนัก  การเลือกสรรคำมาใช้แบงออกได้เป็น  ๒  ลักษณะคือ
          ๑.การใช้คำให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง  คือ  ใช้คำจำนวนน้อย  กินใจความมาก  ไม่ใช้คำฟุ่มเฟือย  บทละครนอกจะดำเนินเรื่องไปอย่างรวดเร็ว  การแต่งจึงค่อนข้างรวบรัดใช้คำที่เข้าใจง่าย
          ๒.การใช้คำให้เหมาะกับบุคคล  เรื่องสังข์ทองมีบทบาทของบุคคลที่ต่างสถานภาพกันมากมาย  รัชกาลที่  ๒   สามารถเลือกใช้ถ้อยคำได้เหมาะสมกับสถานภาพของบุคคล
เสียงเสนะ
          ความไพเราะในคำกลอนได้จากสัมผัสอักษรและสัมผัสสระ
จินตนาการ
          การบรรยายบางตอนทำให้ผู้อ่านนึกเห็นภาพตามไปด้วย  เช่น  การบรรยายภาพทะเล                                                                     กวีโวหาร
          กวีโวหาร  คือการใช้ชั้นเชิงในการแต่งให้มีรสของถ้อยคำลึกซึ้งประทับใจ  ได้แก่
          ๑.การใช้ภาษาให้เกิดภาพพจน์  คือ  กลวิธีในการใช้ภาษาให้ข้อความนั้นกินใจ  ชวนคิด  ชวนให้จดจำ  โดยไมใช่การบอกเล่าอย่างตรงไปตรงมา  มีหลายวิธี เช่น
                    ๑.๑  วิธีอุปมาอุปไมย  คือ  การกล่าวเปรียบเทียบของสองสิ่งว่าสิ่งหนึ่ง  เหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง  ทั้งโดยตรงหรือโดยอ้อมให้เห็นความรู้สึกชัดเจนยิ่งขึ้นกว่าคำอธิบายตามธรรมดา  โดนใช้คำที่บ่งบอกว่าเปรียบเทียบอย่างชัดเจน  คือ  คำว่า  อุปมา  เล่ห์  ดุจ  กล  เฉก  เช่น  เหมือน  ราว  ประดุจ  เพียง  เสมอ  คล้าย
                    ๑.๒  วิธีอุปลักษณ์  คือการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง  ไม่มีคำที่บ่งบอกการเปรียบให้เห็นเหมือนอุปมา  บางครั้งเรียกว่า  เปรียบเป็น  เพราะใช้คำว่า  เป็น เท่า  คือ   
                    ๑.๓  บุคลาธิษฐาน  คือ  การสมมติให้สิ่งที่กล่าวถึงมีชีวิตเหมือนมนุษย์
          ๒.  การพรรณนาและการบรรยายที่แจ่มแจ้งชัดเจน  การพรรณนาแบบนี้ผู้อ่านจะสามารถนึกตาม  เห็นภาพ  เข้าใจถ้อยคำและข้อความอย่างแจ่มแจ้งลึกซึ้ง  ซึ่งมีหลายวิธี  เช่น 
                    ๒.๑  การพรรณนาที่ทำให้เห็นภาพอย่าสงตรงไปตรงมา 
                    ๒.๒  การบรรยายให้เห็นนาฏการ  คือ  ภาพความเคลื่อนไหวและบทบาททางอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของตัวละคร
รสในวรรณคดี
           รสในวรรณคดี  คือ  ลีลาอันไพเราะที่เกิดจากการแงคำประพันธ์  ซึ่งมี ดังนี้
๑.เสาวรจนี  (ถ้อยคำชมโฉม)  คือ  บทที่ชมความงาม  ส่วนใหญ่เป็นการชมความงามของตัวละคร
๒.นารีปราโมทย์  (ถ้อยคำเกี้ยวหรือบทโอ้โลม)  เป็นบทที่แสดงความรักใคร่  หรือพูดจาโอ้โลมให้อีกฝ่ายหนึ่งชื่นชอบ
๓.พิโรธวาทัง  (ถ้อยคำแสดงความโกรธหรือบทตัดพ้อ)  เป็นบทแสดงความโกรธ  เคียดแค้น  ตัดพ้อ  เหน็บแนม  เสียดสี  ด้วยประการต่างๆ
๔.สัลลาปังคพิสัย  (ถ้อยคำแสดงความโศก)  เป็นบทพรรณนาความโศกเศร้า  หรือคร่ำครวญ
ความไพเราะหรือความดีเด่นของถ้อยคำในบทละครนอกนั้นเน้นหนักที่สำนวนโวหารอันคมคาย  การใช้ถ้อยคำโต้ตอบกันอย่างเผ็ดร้อนแต่ก็น่าฟัง  เพราะเป็นคารมที่เฉียบแหลม  ทำให้มองเห็นลักษณะของ  “ละครชาวบ้าน”   ซึ่งการใช้ภาษาไม่ละเมียดละไม ประณีตบรรจงเท่ากับละครใน ซึ่งละครนอกจะใช้คำง่าย ตรงไปตงมา และสนุกแบบ “สาแก่ใจ” ผู้ชม

         

         

         

   

สร้างโดย: 
นางสาวกิตติยา วิทยานารถไพศาล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 326 คน กำลังออนไลน์