• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a3423003a84a55de503a6613e83c430e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u19991/1_1.jpg\" height=\"66\" />\n</p>\n<p>\n          เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. ๒๓๑๐ นั้น การละเล่นที่มีอยู่ในประเทศ เช่น โขน ละคร ฯลฯ ก็ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นอย่างมาก ตัวละครและบทละครได้สูญหายไปเป็นจำนวนไม่น้อย ละครในคงจะมีตัวละครเหลืออยู่น้อยเพราะเป็นของหลวงแต่การที่แบบแผนละครในไม่หายสาบสูญไปเสียทีเดียวเพราะมีผู้เล่นละครบางคนหลบหนีรอดชีวิตอยู่ได้ ละครนอกเป็นละครของชาวบ้าน ตัวละครคงจะหลบหนีข้าศึกอยู่ได้มากและเมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงฟื้นฟูความเจริญทางศิลปะการละครขึ้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกก็ทรงเจริญรอยตาม เข้าใจว่าในสมัยรัชกาลที่ ๑ คงจะมีละครหลายโรง ทั้งของหลวงและของเอกชน ซึ่งละครเอกชนก็จะเล่นละครนอกส่วนละครหลวงจะเล่นละครใน<br />\n          เดิมละครผู้หญิงของหลวงเล่นแต่ละครในคือ เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนาและอุณรุท ส่วนละครนอกแต่เดิมคือละครที่ราษฎรเล่นกันในพื้นเมือง ตัวละครเป็นชายล้วน เพราะแต่โบราณมีพระราชบัญญัติห้ามมิให้ผู้อื่นมีละครผู้หญิงเพิ่งพระราชทานพระบรมราชานุญาต เมื่อรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์นี่เอง ดังนั้น ละครนอกที่ใช้ผู้หญิงเล่น จึงมีแต่ละครของหลวง เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกขึ้นใหม่ จึงโปรดให้หัดละครหลวงขึ้นอีกชุดหนึ่งนอกเหนือไปจากละครใน ฝึกหัดกันที่โรงต้นสนละครชุดนี้เข้าใจว่าได้เล่นออกเป็นโรงเป็นครั้งแรกเมื่อคราวสมโภชพระยาเศวตกุญชร ช้างเผือกเอกเมืองโพธิสัตว์ซึ่งเข้าสู่พระบารมี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๕ ตัวละครเท่าที่สืบทราบนาม และบทที่เล่นก็มี จัน พระสังข์ ขำ เงาะ องุ่น รจนา บัว ท้าวสามนต์ น้อยงอก ไกรทอง<br />\n          นาฏศิลป์ศิลปินหญิงของหลวงในสมัยรัชกาลที่ ๒ แสดงทั้งละครในและละครนอก ส่วนละครของเอกชนนั้นเป็นการแสดงของศิลปินชายเพราะไม่ได้อยู่ในข้อห้าม แต่การละเล่นละครนอกในกรุงเทพฯ นั้น คงจะเอาอย่างละครในที่เล่นกันเมื่อครั้งก่อนกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี จนกระทั่งละครนอกกับละครในเกือบจะเป็นอย่างเดียวกัน ผิดกันแต่ทำนองร้องและกระบวนการเล่นบางอย่างเท่านั้น<br />\n          บทละครนอกที่ใช้เล่นในสมัยกรุงศรีอยุธยามีต้นฉบับอยู่ ๑๔ เรื่อง และมีบทละครนอกอีก ๕ เรื่อง ที่เป็นสำนวนเก่าก่อนรัชกาลที่ ๒ รวม ๑๙ เรื่อง แต่ไม่มีเรื่องใดมีต้นฉบับครบถ้วนสมบูรณ์เลย เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงฝึกหัดละครผู้หญิงของหลวงดีขึ้น จึงโปรดให้ละครผู้หญิงของหลวงเล่นละครนอกแข่งกับละครผู้ชาย และเลือกละครนอกบางเรื่องมาทรงพระราชนิพนธ์บทขึ้นใหม่เฉพาะตอนที่จะให้ละครผู้หญิงของหลวงเล่น คือ เรื่อง ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง ไกรทอง มณีพิชัย คาวี ส่วนเรื่องสังข์ศิลป์ชัยนั้นกล่าวกันว่าเป็นบทที่พระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ปรับปรุงบทเดิม แล้วถวายตราเป็นพระราชนิพนธ์<br />\n          ละครนอกของเอกชนเล่นเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย ฯลฯ เช่นเดียวกับละครหลวง แต่กระบวนที่ละครหลวงเล่นไม่เหมือนกับละครเอกชน เพราะพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแก้ไขทั้งทำนองร้องและวิธีรำจึงมี &quot; ละครนอกแบบหลวง&quot;  ขึ้น ซึ่งละครของผู้มีบรรดาศักดิ์ถือเอาเป็นแบบอย่างสืบมา (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ๒๕๐๘: ๖๔-๑๔๒)\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42965 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/HOME_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47067 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_10.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47068 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_9.jpg\" height=\"29\" /></a>  <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/2_resize_1.jpg\" height=\"29\" />  <a href=\"/node/47073 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_1_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47077 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_2_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47079 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_3_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47083 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_4_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47087 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_5_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47089 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_6_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47091 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_7_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47094 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_8_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47097 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_9_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47113 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_10_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47116 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_11_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47807 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_3.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47810 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_4.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47816 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_7.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47818 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_5.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47819 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_6.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/50117 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_8.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n', created = 1715305906, expire = 1715392306, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a3423003a84a55de503a6613e83c430e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จุดประสงค์ในการแต่งเรื่องสังข์ทอง

 

          เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. ๒๓๑๐ นั้น การละเล่นที่มีอยู่ในประเทศ เช่น โขน ละคร ฯลฯ ก็ได้รับความกระทบกระเทือนเป็นอย่างมาก ตัวละครและบทละครได้สูญหายไปเป็นจำนวนไม่น้อย ละครในคงจะมีตัวละครเหลืออยู่น้อยเพราะเป็นของหลวงแต่การที่แบบแผนละครในไม่หายสาบสูญไปเสียทีเดียวเพราะมีผู้เล่นละครบางคนหลบหนีรอดชีวิตอยู่ได้ ละครนอกเป็นละครของชาวบ้าน ตัวละครคงจะหลบหนีข้าศึกอยู่ได้มากและเมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงฟื้นฟูความเจริญทางศิลปะการละครขึ้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกก็ทรงเจริญรอยตาม เข้าใจว่าในสมัยรัชกาลที่ ๑ คงจะมีละครหลายโรง ทั้งของหลวงและของเอกชน ซึ่งละครเอกชนก็จะเล่นละครนอกส่วนละครหลวงจะเล่นละครใน
          เดิมละครผู้หญิงของหลวงเล่นแต่ละครในคือ เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนาและอุณรุท ส่วนละครนอกแต่เดิมคือละครที่ราษฎรเล่นกันในพื้นเมือง ตัวละครเป็นชายล้วน เพราะแต่โบราณมีพระราชบัญญัติห้ามมิให้ผู้อื่นมีละครผู้หญิงเพิ่งพระราชทานพระบรมราชานุญาต เมื่อรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์นี่เอง ดังนั้น ละครนอกที่ใช้ผู้หญิงเล่น จึงมีแต่ละครของหลวง เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกขึ้นใหม่ จึงโปรดให้หัดละครหลวงขึ้นอีกชุดหนึ่งนอกเหนือไปจากละครใน ฝึกหัดกันที่โรงต้นสนละครชุดนี้เข้าใจว่าได้เล่นออกเป็นโรงเป็นครั้งแรกเมื่อคราวสมโภชพระยาเศวตกุญชร ช้างเผือกเอกเมืองโพธิสัตว์ซึ่งเข้าสู่พระบารมี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๕ ตัวละครเท่าที่สืบทราบนาม และบทที่เล่นก็มี จัน พระสังข์ ขำ เงาะ องุ่น รจนา บัว ท้าวสามนต์ น้อยงอก ไกรทอง
          นาฏศิลป์ศิลปินหญิงของหลวงในสมัยรัชกาลที่ ๒ แสดงทั้งละครในและละครนอก ส่วนละครของเอกชนนั้นเป็นการแสดงของศิลปินชายเพราะไม่ได้อยู่ในข้อห้าม แต่การละเล่นละครนอกในกรุงเทพฯ นั้น คงจะเอาอย่างละครในที่เล่นกันเมื่อครั้งก่อนกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี จนกระทั่งละครนอกกับละครในเกือบจะเป็นอย่างเดียวกัน ผิดกันแต่ทำนองร้องและกระบวนการเล่นบางอย่างเท่านั้น
          บทละครนอกที่ใช้เล่นในสมัยกรุงศรีอยุธยามีต้นฉบับอยู่ ๑๔ เรื่อง และมีบทละครนอกอีก ๕ เรื่อง ที่เป็นสำนวนเก่าก่อนรัชกาลที่ ๒ รวม ๑๙ เรื่อง แต่ไม่มีเรื่องใดมีต้นฉบับครบถ้วนสมบูรณ์เลย เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงฝึกหัดละครผู้หญิงของหลวงดีขึ้น จึงโปรดให้ละครผู้หญิงของหลวงเล่นละครนอกแข่งกับละครผู้ชาย และเลือกละครนอกบางเรื่องมาทรงพระราชนิพนธ์บทขึ้นใหม่เฉพาะตอนที่จะให้ละครผู้หญิงของหลวงเล่น คือ เรื่อง ไชยเชษฐ์ สังข์ทอง ไกรทอง มณีพิชัย คาวี ส่วนเรื่องสังข์ศิลป์ชัยนั้นกล่าวกันว่าเป็นบทที่พระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงพระราชนิพนธ์ปรับปรุงบทเดิม แล้วถวายตราเป็นพระราชนิพนธ์
          ละครนอกของเอกชนเล่นเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย ฯลฯ เช่นเดียวกับละครหลวง แต่กระบวนที่ละครหลวงเล่นไม่เหมือนกับละครเอกชน เพราะพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแก้ไขทั้งทำนองร้องและวิธีรำจึงมี " ละครนอกแบบหลวง"  ขึ้น ซึ่งละครของผู้มีบรรดาศักดิ์ถือเอาเป็นแบบอย่างสืบมา (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ๒๕๐๘: ๖๔-๑๔๒)

         

         

         

   

สร้างโดย: 
นางสาวกิตติยา วิทยานารถไพศาล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์