• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:583bb8cea06eb784c0a409ec2a6626a0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"520\" src=\"/files/u19991/20_5.jpg\" height=\"66\" />\n</p>\n<p>\n          พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  ทรงสนพระทันในการกวีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์  เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นเวลาที่บ้านเมืองเบาบางจากศึกสงครามจึงทรงมีเวลาในพระราชานุกิจเกี่ยวกับการพระราชนิพนธ์บทละครและการทอดพระเนตรการซ้อมหรือการแสดงละครได้<br />\n          เราไม่ทราบแน่ชัดว่าละครนอกมีกำเนิดขึ้นในช่วงเวลาใดแน่  เพราะหลักฐานเกี่ยวกับการละครในสมัยแรก ๆ  ไม่ปรากฏชัด  เพิ่งจะมีหลักฐานจากหนังสือจดหมายเหตุลาลูแบร์ว่า  ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้นมีศิลปะการแสดงที่เรียกว่า  โขน  ละคร  และระบำอยู่  ซึ่งแสดงว่าละครนี้อาจจะมีขึ้นก่อนสมัยสมเด็จพระนารายณ์  และเล่นกันอยู่อย่างแพร่หลายแล้ว  เมื่อเมอสิเออร์  เดอ  ลาลูแบร์  ราชทูตฝรั่งเศสเข้ามาในสมัยนั้น  จึงมีโอกาสได้ดูและบันทึกไว้ซึ่งสันนิษฐานว่าละครที่ลาลูแบร์กล่าวถึงก็คือละครนอกนั่นเอง<br />\n          สำหรับละครในนั้นเข้าใจว่าเกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแต่ศิลปะการละครคงจะรุ่งเรืองอยู่เพียงชั่วสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศเท่านั้น  พอสิ้นรัชสมัยของพระองค์ก็เกิดเหตุการณ์ยุ่งยากในทางการเมือง  เกิดสงครามกับพม่าอีก  ศิลปะการละครไม่ได้รับกานทำมุบำรุงเพราะสภาพบ้านเมืองไม่อำนวย  จนถึงรัชสมัยสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก  พระองค์โปรดให้มีการหัดละครทั้งวังหลวงและวังหน้า  โดยจำกัดให้ผูหญิงเป็นละครหลวงเหมือนในสมัยกรุงศรีอยุธยา  ทรงพระราชนิพนธ์บทละครขึ้นมา  ๔  เรื่องคือรามเกียรติ์  อิเหนา  ดาหลัง  และอุณรุท  ละครนอกที่เป็นขงประชาชนก็นิยมกันอย่างแพร่หลาย  จนต้องมีพระราชกำหนดห้ามสร้างเครื่องโขนละครเหมือนแบบข้างต้นซึ่งเป็นของกษัตริย์<br />\n          พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงปรับปรุงศิลปะการละครต่อมาด้วยวิธีการต่าง ๆ  คือ  ทรงพระราชนิพนธ์บทใหม่โดยปรับปรุงของเดิมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ทดลองซ้อมกระบวนรำให้เข้ากับบท  จนอาจจะกล่าวได้ว่า  “ศิลปะทางโขน ละครฟ้อนรำในสมัยรัชกาลที่ ๒ เป็นศิลปะที่ประณีตงดงามยิ่งกว่าที่เคยมีมาแต่ก่อน บรรดาศิลปินในรุ่นต่อมาจึงพากันยกย่องนับถือเป็นศิลปะแบบครู และรับเข้าแบบฉบับของศิลปะที่ดีประจำชาติสืบต่อกันมาจนตราบเท่าทุกวันนี้” (ธนิต อยู่โพธิ์ ๒๔๙๗:๘๗)<br />\n          ละครนอกแบบหลวง  คือ  การผสมผสานระหว่างละครในกับละครนอกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกแบบหลวงขึ้นมาเพื่อให้นางในราชสำนักได้แสดงละครนอกบ้าง  แต่ถ้าจะแสดงละครนอกแบบดั้งเดิมก็คงไม่เหมาะสมนัก  เพราะกลอนไม่ไพเราะ  บางแห่งก็หยาบคาย  ตัวละครต้องร้องกลอนเองและด้นกลอนเองบ้าง  จึงทรงปรับปรุงแบบแผนของละครนอกเสียใหม่ให้เหมาะกับรสนิยมในราชสำนัก  และความสามารถของนางในที่แสดงละครใน  (สุรพล  วิรุฬหรักษ์  ๒๕๔๔: ๒๑๓) ละครนอกแบบหลวงได้รับความนิยมอย่างสูงไม่แพ้ละครในที่แสดงกันอยู่ก่อน<br />\n          สังคมไทยในสมัยรัชกาลที่  ๒  เป็นสังคมที่ยึดมั่นอยู่ในพุทธศาสนา  เชื่อในเรื่องเวรกรรม  การทำดีได้ดี  ทำชั่วได้ชั่ว  ขณะเดียวกันก็ยังมีความเชื่อถือเรื่องภูตผีและอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์  ทั้งยังเทิดทูนพระมหากษัตริย์  ในฐานะเจ้าชีวิตเราสามารถมองเห็นคติเหล่านี้ได้ชัดเจนในบทละครนอกเรื่องสังข์ทอง  ซึ่งเป็นบทละครที่สนุกสนาน  อ่านแล้วเพลิดเพลิน  ทั้งยังได้ข้อคิดหลายประการ<br />\n          บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง  เป็นวรรณกรรมที่ผู้นิพนธ์มีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในราชสำนัก  ถึงแม้จะเป็นบทที่ปรับปรุงมาจากของเก่า แต่ก็ไพเราะและมีคุณค่าทำให้ละครนอกของชาวบ้านไม่ใช่การแสดงที่ต้อยต่ำอีกต่อไป  แต่มีมาตรฐานสูงขึ้นจากการสนับสนุนของพระมหากษัตริย์  ที่มีพระราชอัธยาศัยฝักใฝ่ในศิลปะการละคร  นับเป็นมรดกอันล้ำค่าของชาวไทยทุกคน \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42965 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/HOME_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47067 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_10.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47068 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_9.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47069 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_1.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47073 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_1_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47077 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_2_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47079 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_3_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47083 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_4_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47087 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_5_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47089 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_6_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47091 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_7_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47094 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_8_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47097 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_9_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47113 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_10_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47116 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_11_resize.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47807 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_3.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47810 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_4.jpg\" height=\"29\" /></a>  <a href=\"/node/47816 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_7.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47818 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_5.jpg\" height=\"29\" /></a>  <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_15.jpg\" height=\"29\" />  <a href=\"/node/50117 \"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19991/_resize_8.jpg\" height=\"29\" /></a>\n</p>\n', created = 1715312311, expire = 1715398711, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:583bb8cea06eb784c0a409ec2a6626a0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาคผนวก

          พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  ทรงสนพระทันในการกวีมาตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์  เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นเวลาที่บ้านเมืองเบาบางจากศึกสงครามจึงทรงมีเวลาในพระราชานุกิจเกี่ยวกับการพระราชนิพนธ์บทละครและการทอดพระเนตรการซ้อมหรือการแสดงละครได้
          เราไม่ทราบแน่ชัดว่าละครนอกมีกำเนิดขึ้นในช่วงเวลาใดแน่  เพราะหลักฐานเกี่ยวกับการละครในสมัยแรก ๆ  ไม่ปรากฏชัด  เพิ่งจะมีหลักฐานจากหนังสือจดหมายเหตุลาลูแบร์ว่า  ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชนั้นมีศิลปะการแสดงที่เรียกว่า  โขน  ละคร  และระบำอยู่  ซึ่งแสดงว่าละครนี้อาจจะมีขึ้นก่อนสมัยสมเด็จพระนารายณ์  และเล่นกันอยู่อย่างแพร่หลายแล้ว  เมื่อเมอสิเออร์  เดอ  ลาลูแบร์  ราชทูตฝรั่งเศสเข้ามาในสมัยนั้น  จึงมีโอกาสได้ดูและบันทึกไว้ซึ่งสันนิษฐานว่าละครที่ลาลูแบร์กล่าวถึงก็คือละครนอกนั่นเอง
          สำหรับละครในนั้นเข้าใจว่าเกิดขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแต่ศิลปะการละครคงจะรุ่งเรืองอยู่เพียงชั่วสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศเท่านั้น  พอสิ้นรัชสมัยของพระองค์ก็เกิดเหตุการณ์ยุ่งยากในทางการเมือง  เกิดสงครามกับพม่าอีก  ศิลปะการละครไม่ได้รับกานทำมุบำรุงเพราะสภาพบ้านเมืองไม่อำนวย  จนถึงรัชสมัยสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก  พระองค์โปรดให้มีการหัดละครทั้งวังหลวงและวังหน้า  โดยจำกัดให้ผูหญิงเป็นละครหลวงเหมือนในสมัยกรุงศรีอยุธยา  ทรงพระราชนิพนธ์บทละครขึ้นมา  ๔  เรื่องคือรามเกียรติ์  อิเหนา  ดาหลัง  และอุณรุท  ละครนอกที่เป็นขงประชาชนก็นิยมกันอย่างแพร่หลาย  จนต้องมีพระราชกำหนดห้ามสร้างเครื่องโขนละครเหมือนแบบข้างต้นซึ่งเป็นของกษัตริย์
          พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงปรับปรุงศิลปะการละครต่อมาด้วยวิธีการต่าง ๆ  คือ  ทรงพระราชนิพนธ์บทใหม่โดยปรับปรุงของเดิมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ทดลองซ้อมกระบวนรำให้เข้ากับบท  จนอาจจะกล่าวได้ว่า  “ศิลปะทางโขน ละครฟ้อนรำในสมัยรัชกาลที่ ๒ เป็นศิลปะที่ประณีตงดงามยิ่งกว่าที่เคยมีมาแต่ก่อน บรรดาศิลปินในรุ่นต่อมาจึงพากันยกย่องนับถือเป็นศิลปะแบบครู และรับเข้าแบบฉบับของศิลปะที่ดีประจำชาติสืบต่อกันมาจนตราบเท่าทุกวันนี้” (ธนิต อยู่โพธิ์ ๒๔๙๗:๘๗)
          ละครนอกแบบหลวง  คือ  การผสมผสานระหว่างละครในกับละครนอกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกแบบหลวงขึ้นมาเพื่อให้นางในราชสำนักได้แสดงละครนอกบ้าง  แต่ถ้าจะแสดงละครนอกแบบดั้งเดิมก็คงไม่เหมาะสมนัก  เพราะกลอนไม่ไพเราะ  บางแห่งก็หยาบคาย  ตัวละครต้องร้องกลอนเองและด้นกลอนเองบ้าง  จึงทรงปรับปรุงแบบแผนของละครนอกเสียใหม่ให้เหมาะกับรสนิยมในราชสำนัก  และความสามารถของนางในที่แสดงละครใน  (สุรพล  วิรุฬหรักษ์  ๒๕๔๔: ๒๑๓) ละครนอกแบบหลวงได้รับความนิยมอย่างสูงไม่แพ้ละครในที่แสดงกันอยู่ก่อน
          สังคมไทยในสมัยรัชกาลที่  ๒  เป็นสังคมที่ยึดมั่นอยู่ในพุทธศาสนา  เชื่อในเรื่องเวรกรรม  การทำดีได้ดี  ทำชั่วได้ชั่ว  ขณะเดียวกันก็ยังมีความเชื่อถือเรื่องภูตผีและอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์  ทั้งยังเทิดทูนพระมหากษัตริย์  ในฐานะเจ้าชีวิตเราสามารถมองเห็นคติเหล่านี้ได้ชัดเจนในบทละครนอกเรื่องสังข์ทอง  ซึ่งเป็นบทละครที่สนุกสนาน  อ่านแล้วเพลิดเพลิน  ทั้งยังได้ข้อคิดหลายประการ
          บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง  เป็นวรรณกรรมที่ผู้นิพนธ์มีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในราชสำนัก  ถึงแม้จะเป็นบทที่ปรับปรุงมาจากของเก่า แต่ก็ไพเราะและมีคุณค่าทำให้ละครนอกของชาวบ้านไม่ใช่การแสดงที่ต้อยต่ำอีกต่อไป  แต่มีมาตรฐานสูงขึ้นจากการสนับสนุนของพระมหากษัตริย์  ที่มีพระราชอัธยาศัยฝักใฝ่ในศิลปะการละคร  นับเป็นมรดกอันล้ำค่าของชาวไทยทุกคน 

         

         

         

   

สร้างโดย: 
นางสาวกิตติยา วิทยานารถไพศาล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 288 คน กำลังออนไลน์