• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ce4fc936af87b9145410b80ccd3caa05' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"448\" width=\"300\" src=\"/files/u30463/headklung.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n ภาพจาก : <a href=\"http://thaihandiwork.com/images/royalfamily120.jpg\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://thaihandiwork.com/images/royalfamily120.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                <strong>งานกลึง</strong> คืองานของช่างกลึง จะมีการกลึงให้กลมและกลึงให้ผิวเรียบ รวมไปถึงการประดับตกแต่งสิ่งที่กลึงแล้วอีกด้วย เช่น การปิดทอง การประดับกระจก การแกะสลัก<strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>               ช่างกลึง </strong>คือช่างผู้<span style=\"color: #333333\">สร้างสิ่งของบางสิ่งขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ โดยวิธีการกลึงเป็นรูปทรงต่างๆ มีรูปลักษณ์ที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ เป็นงานสร้าง ทำเครื่องอุปโภคและเครื่องสำหรับประดับตกแต่ง ซึ่งโดยมากเป็นทรงกลม ทรงกระบอก หรือทรงกรวยกลม จัดเป็นงานประณีตศิลปอีกประเภทหนึ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">               <strong>วัสดุในงานกลึง   </strong>ช่างกลึงในอดีตได้นำวัสดุเหล่านี้มาใช้ทำการกลึง ด้วยโบราณวิธีกลึงที่ยังคงอยู่ให้เห็นได้ ได้แก่ ไม้  งาช้าง และเขาสัตว์บางชนิด เช่น เขาวัว เขาควาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">              <strong>เครื่องมือและอุปกรณ์ของช่างกลึง</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\"><strong>                      </strong>1. </span><span style=\"color: #333333\">สิ่วกลึง สิ่วหน้าต่างๆ <br />\n                      2. ไม้กางเวียนแบบเขาควาย สำหรับสอบขนาด <br />\n                      3. เลื่อย<br />\n                      4. บิหล่า เครื่องเจาะชนิดหนึ่ง<br />\n                      5. เครื่องกลึง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญพื้นฐานของงานกลึง แบ่งได้หลายแบบ ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                  - <em>เครื่องกลึงแบบแรก</em> เป็นแบบที่ใช้กำลังแรงคน ทำการฉุดชักโดยตรง ส่วนสำคัญของเครื่องกลึงแบบนี้อยู่ที่ตัวไม้ที่เรียกว่า &quot;ภมร&quot; คือ แกนสำหรับชักให้หมุน งานกลึงซึ่งทำขึ้นจากเครื่องกลึงแบบแรกนี้ มักเป็นสิ่งของที่เป็นลักษณะทรงกลม เช่น ตลับ ตัวหมากรุก ตราประทับ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                  - <em>เครื่องกลึงแบบที่สอง</em> หรือเรียกว่า <em>เครื่องกลึงแบบกงชัก</em> เป็นเครื่องกลึงที่ประกอบด้วย อุปกรณ์ช่วยผ่อนแรงในการฉุดชักภมร โดยไม่ต้องออกแรงชักเชือกฉุดภมรตรงๆ เครื่องกลึงแบบกงชักนี้ ในส่วนตัวภมร มีลักษณะคล้ายกับภมรในแบบแรก แต่จะมีที่ต่างกัน ตรงส่วนแคร่รองรับส่วนหัว และส่วนท้ายได้รับการสร้างให้มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น ส่วนประกอบสำหรับภมรนี้เรียกว่า &quot;เรือนภมร&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                 - <em>เครื่องกลึงแบบที่สาม</em> หรือเรียกว่า <em>เครื่องกลึงแบบกงดีด</em> เครื่องกลึงแบบนี้ มีลักษณะโดยรวมของเรือนภมรคล้ายกับเครื่องกลึงแบบที่สอง แต่แทนที่จะใช้กำลังฉุดชักภมรด้วยมือ หากได้ใช้เท้าถีบ ชักเชือกฉุดภมร เครื่องกลึงแบบนี้ ดูออกจะใช้งานได้สะดวก และคล่องตัวกว่าเครื่องกลึงสองแบบแรก เพราะช่างกลึงสามารถเหยียบคานกระเดื่องชัก ภมรให้หมุนไปได้ในขณะเดียวที่ช่างทำการกลึงไปได้พร้อมกัน และ ที่สำคัญคือช่างกลึงอาจควบคุมความเร็วในการ หมุนของภมรได้ตามประสงค์ของตัวเอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                 เครื่องกลึงแบบนี้ อาจใช้กลึงทำสิ่งในลักษณะทรงกระบอก หรือ ทรงกรวยกลมได้มากอย่าง เช่น กลึงลูกกรง กลึงด้ามมีด-ด้ามดาบ กลึงหัวเม็ดทรงมัณฑ์ กลึงโกศไม้ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small\">  </span><a href=\"/node/89396\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 41px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">       </span><a href=\"/node/89398\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u30463/button-2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">      </span><a href=\"/node/89400\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89401\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></a>     <a href=\"/node/89404\"></a>     <a href=\"/node/89406\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-6.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89408\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-7.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 42px\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89409\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-8.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 134px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89412\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89414\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-10.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></a>     </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">       <a href=\"/node/89415\"><img height=\"41\" width=\"141\" src=\"/files/u30463/conclude.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 155px; height: 53px\" /></a>      <a href=\"/node/89420\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-11.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 142px; height: 52px\" /></a>      <a href=\"/node/89421\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-12.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 53px\" /></a>         <a href=\"/node/89422\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/82138\"><img height=\"68\" width=\"220\" src=\"/files/u30463/button-14.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><strong> การปฏิบัติงานกลึง</strong><br />\n                                 งานกลึงขั้นต้น จะต้องตัดแบ่งวัสดุชนิดหนึ่ง ออกเป็นชิ้นเป็นท่อนให้ได้ขนาดโตกว่าสิ่งที่จะกลึงเล็กน้อย<br />\n                                 งานขั้นที่สอง นำเอาชิ้นวัสดุนั้นติดเข้าที่หน้าภมร หรือที่เรือนภมรให้มั่นคง แล้วทำให้ภมรหมุน พร้อมพาวัตถุนั้นหมุนตามไป ในตอนนี้ช่างกลึงจะใช้ &quot;สิ่วกลึง&quot; ลงคมสิ่วที่ผิววัตถุ แล้วค่อยสกัด ขูด ผิวที่ไม่ต้องการออก ทำให้เป็นรูปทรงเลาๆ ของสิ่งที่จะทำ งานขั้นนี้เรียกว่า &quot;กลึงโกลน&quot;<br />\n                                 งานขั้นที่สาม ช่างกลึงจะใช้สิ่วกลึง ลงคมสกัด ถาก กลึงลึกเข้าไปในเนื้อวัสดุนั้นหนักมือขึ้น ในกรณีกลึงไม้ ช่างกลึงจะกลึงขึ้นเป็นรูปทรงค่อนข้างจะเห็นชัดว่าเป็นรูปอะไร เรียกว่า &quot;ตั้งรูป&quot; หรือ &quot;ตั้งทรง&quot;<br />\n                                 งานขั้นที่สี่ ช่างกลึงจะลงฝีสิ่วหรือคมสิ่วค่อนข้างผ่อนกำลังมือ เนื่องด้วยงานขั้นนี้เป็นการ &quot;วัดรูป&quot; คือกลึงให้ เข้ารูป เข้าส่วน เป็นรูปที่ชัดเจนใกล้สมบูรณ์ <br />\n                                 งานขั้นที่ห้า เป็นการแทงสิ่วค่อนข้างเบาเพื่อเก็บเหลี่ยม เก็บคม เก็บผิวงานกลึงให้ชัดเจน เรียบร้อย งานขั้นนี้ เรียกว่า &quot;กลึงเก็บ&quot;<br />\n                                 งานขั้นสุดท้าย คืองานขัดผิวหรือขัดมันชิ้นงานกลึงนั้นให้ผิวเป็นมัน &quot;ขั้นตอนนี้ช่างกลึงจะใช้ขี้ไม้หรือขี้งา ที่ตกเรี่ยรายอยู่ใต้ภมรนั้น ควักใส่มือโปะลงบนชิ้นงานซึ่งทำให้หมุนไปรอบๆ ขี้ไม้หรือขี้งานั้นจะช่วยขัดผิวของวัตถุ ที่กลึงเสร็จให้ผิวเรียบเป็นมัน จึงปลดชิ้นงานออกจากภมรหรือเรือนภมรก็เป็นอันเสร็จการปฏิบัติงานกลึงโดยโบราณ วิธีกลึงของช่างกลึง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"> <strong>งานกลึงทำกลอง</strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><img height=\"262\" width=\"354\" src=\"/files/u30463/klung-5.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://chaopraya.tkc.go.th/media/กลอง/2.JPG\">http://chaopraya.tkc.go.th/media/กลอง/2.JPG</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"233\" width=\"343\" src=\"/files/u30463/klung-4.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://chaopraya.tkc.go.th/media/กลอง/3.JPG\">http://chaopraya.tkc.go.th/media/กลอง/3.JPG</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>งานกลึงหัวกรงนก</strong>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"240\" width=\"212\" src=\"/files/u30463/klung-2.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://province.m-culture.go.th/pattani/pom010.jpg\">http://province.m-culture.go.th/pattani/pom010.jpg</a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n <img height=\"154\" width=\"600\" src=\"/files/u30463/klung-3.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.changsipmu.com/all_images/RoyalCraftsmanCollege/rtc018_w730a.jpg\">http://www.changsipmu.com/all_images/RoyalCraftsmanCollege/rtc018_w730a.jpg</a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"194\" width=\"259\" src=\"/files/u30463/klung-6.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #69951d\"><a href=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:bJ7nUDEZVsLtFM:http://www.uppicweb.com/ia/4wczn.jpg&amp;t=1\">http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:bJ7nUDEZVsLtFM:http://www.uppicweb.com/ia/4wczn.jpg&amp;t=1</a></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #69951d\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89396\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 41px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">       </span><a href=\"/node/89398\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u30463/button-2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">      </span><a href=\"/node/89400\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></span></a> \n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89401\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></a>     <a href=\"/node/89404\"></a>     <a href=\"/node/89406\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-6.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89408\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-7.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 42px\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89409\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-8.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 134px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89412\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89414\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-10.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></a>     </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">     <a href=\"/node/89415\"><img height=\"41\" width=\"141\" src=\"/files/u30463/conclude.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 161px; height: 52px\" /></a>      <a href=\"/node/89420\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-11.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 142px; height: 52px\" /></a>      <a href=\"/node/89421\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-12.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 53px\" /></a>         <a href=\"/node/89422\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/82138\"><img height=\"68\" width=\"220\" src=\"/files/u30463/button-14.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n</div>\n</div>\n', created = 1715765973, expire = 1715852373, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ce4fc936af87b9145410b80ccd3caa05' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5347c8567aadf780dfc8d46590262438' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"448\" width=\"300\" src=\"/files/u30463/headklung.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n ภาพจาก : <a href=\"http://thaihandiwork.com/images/royalfamily120.jpg\"><u><span style=\"color: #0066cc\">http://thaihandiwork.com/images/royalfamily120.jpg</span></u></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                <strong>งานกลึง</strong> คืองานของช่างกลึง จะมีการกลึงให้กลมและกลึงให้ผิวเรียบ รวมไปถึงการประดับตกแต่งสิ่งที่กลึงแล้วอีกด้วย เช่น การปิดทอง การประดับกระจก การแกะสลัก<strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong>               ช่างกลึง </strong>คือช่างผู้<span style=\"color: #333333\">สร้างสิ่งของบางสิ่งขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ โดยวิธีการกลึงเป็นรูปทรงต่างๆ มีรูปลักษณ์ที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ เป็นงานสร้าง ทำเครื่องอุปโภคและเครื่องสำหรับประดับตกแต่ง ซึ่งโดยมากเป็นทรงกลม ทรงกระบอก หรือทรงกรวยกลม จัดเป็นงานประณีตศิลปอีกประเภทหนึ่ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">               <strong>วัสดุในงานกลึง   </strong>ช่างกลึงในอดีตได้นำวัสดุเหล่านี้มาใช้ทำการกลึง ด้วยโบราณวิธีกลึงที่ยังคงอยู่ให้เห็นได้ ได้แก่ ไม้  งาช้าง และเขาสัตว์บางชนิด เช่น เขาวัว เขาควาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">              <strong>เครื่องมือและอุปกรณ์ของช่างกลึง</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\"><strong>                      </strong>1. </span><span style=\"color: #333333\">สิ่วกลึง สิ่วหน้าต่างๆ <br />\n                      2. ไม้กางเวียนแบบเขาควาย สำหรับสอบขนาด <br />\n                      3. เลื่อย<br />\n                      4. บิหล่า เครื่องเจาะชนิดหนึ่ง<br />\n                      5. เครื่องกลึง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญพื้นฐานของงานกลึง แบ่งได้หลายแบบ ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                  - <em>เครื่องกลึงแบบแรก</em> เป็นแบบที่ใช้กำลังแรงคน ทำการฉุดชักโดยตรง ส่วนสำคัญของเครื่องกลึงแบบนี้อยู่ที่ตัวไม้ที่เรียกว่า &quot;ภมร&quot; คือ แกนสำหรับชักให้หมุน งานกลึงซึ่งทำขึ้นจากเครื่องกลึงแบบแรกนี้ มักเป็นสิ่งของที่เป็นลักษณะทรงกลม เช่น ตลับ ตัวหมากรุก ตราประทับ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                  - <em>เครื่องกลึงแบบที่สอง</em> หรือเรียกว่า <em>เครื่องกลึงแบบกงชัก</em> เป็นเครื่องกลึงที่ประกอบด้วย อุปกรณ์ช่วยผ่อนแรงในการฉุดชักภมร โดยไม่ต้องออกแรงชักเชือกฉุดภมรตรงๆ เครื่องกลึงแบบกงชักนี้ ในส่วนตัวภมร มีลักษณะคล้ายกับภมรในแบบแรก แต่จะมีที่ต่างกัน ตรงส่วนแคร่รองรับส่วนหัว และส่วนท้ายได้รับการสร้างให้มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น ส่วนประกอบสำหรับภมรนี้เรียกว่า &quot;เรือนภมร&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                 - <em>เครื่องกลึงแบบที่สาม</em> หรือเรียกว่า <em>เครื่องกลึงแบบกงดีด</em> เครื่องกลึงแบบนี้ มีลักษณะโดยรวมของเรือนภมรคล้ายกับเครื่องกลึงแบบที่สอง แต่แทนที่จะใช้กำลังฉุดชักภมรด้วยมือ หากได้ใช้เท้าถีบ ชักเชือกฉุดภมร เครื่องกลึงแบบนี้ ดูออกจะใช้งานได้สะดวก และคล่องตัวกว่าเครื่องกลึงสองแบบแรก เพราะช่างกลึงสามารถเหยียบคานกระเดื่องชัก ภมรให้หมุนไปได้ในขณะเดียวที่ช่างทำการกลึงไปได้พร้อมกัน และ ที่สำคัญคือช่างกลึงอาจควบคุมความเร็วในการ หมุนของภมรได้ตามประสงค์ของตัวเอง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">                                 เครื่องกลึงแบบนี้ อาจใช้กลึงทำสิ่งในลักษณะทรงกระบอก หรือ ทรงกรวยกลมได้มากอย่าง เช่น กลึงลูกกรง กลึงด้ามมีด-ด้ามดาบ กลึงหัวเม็ดทรงมัณฑ์ กลึงโกศไม้ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-size: x-small\">  </span><a href=\"/node/89396\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 41px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">       </span><a href=\"/node/89398\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u30463/button-2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></span></a><span style=\"font-size: x-small\">      </span><a href=\"/node/89400\"><span style=\"font-size: x-small\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89401\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 42px\" /></a>     <a href=\"/node/89404\"></a>     <a href=\"/node/89406\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-6.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 132px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89408\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-7.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 42px\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/89409\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-8.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 134px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89412\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 41px\" /></a>     <a href=\"/node/89414\"><img height=\"88\" width=\"330\" src=\"/files/u30463/button-10.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 138px; height: 42px\" /></a>     </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\">       <a href=\"/node/89415\"><img height=\"41\" width=\"141\" src=\"/files/u30463/conclude.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 155px; height: 53px\" /></a>      <a href=\"/node/89420\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-11.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 142px; height: 52px\" /></a>      <a href=\"/node/89421\"><img height=\"72\" width=\"250\" src=\"/files/u30463/button-12.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 53px\" /></a>         <a href=\"/node/89422\"></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"><a href=\"/node/82138\"><img height=\"68\" width=\"220\" src=\"/files/u30463/button-14.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; font-size: 10pt\"></span></p>\n', created = 1715765973, expire = 1715852373, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5347c8567aadf780dfc8d46590262438' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ช่างกลึง---Turning

 ภาพจาก : http://thaihandiwork.com/images/royalfamily120.jpg

 

                งานกลึง คืองานของช่างกลึง จะมีการกลึงให้กลมและกลึงให้ผิวเรียบ รวมไปถึงการประดับตกแต่งสิ่งที่กลึงแล้วอีกด้วย เช่น การปิดทอง การประดับกระจก การแกะสลัก 

               ช่างกลึง คือช่างผู้สร้างสิ่งของบางสิ่งขึ้นจากวัสดุธรรมชาติ โดยวิธีการกลึงเป็นรูปทรงต่างๆ มีรูปลักษณ์ที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ เป็นงานสร้าง ทำเครื่องอุปโภคและเครื่องสำหรับประดับตกแต่ง ซึ่งโดยมากเป็นทรงกลม ทรงกระบอก หรือทรงกรวยกลม จัดเป็นงานประณีตศิลปอีกประเภทหนึ่ง

               วัสดุในงานกลึง   ช่างกลึงในอดีตได้นำวัสดุเหล่านี้มาใช้ทำการกลึง ด้วยโบราณวิธีกลึงที่ยังคงอยู่ให้เห็นได้ ได้แก่ ไม้  งาช้าง และเขาสัตว์บางชนิด เช่น เขาวัว เขาควาย

              เครื่องมือและอุปกรณ์ของช่างกลึง

                      1. สิ่วกลึง สิ่วหน้าต่างๆ
                      2. ไม้กางเวียนแบบเขาควาย สำหรับสอบขนาด
                      3. เลื่อย
                      4. บิหล่า เครื่องเจาะชนิดหนึ่ง
                      5. เครื่องกลึง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญพื้นฐานของงานกลึง แบ่งได้หลายแบบ ดังนี้

                                  - เครื่องกลึงแบบแรก เป็นแบบที่ใช้กำลังแรงคน ทำการฉุดชักโดยตรง ส่วนสำคัญของเครื่องกลึงแบบนี้อยู่ที่ตัวไม้ที่เรียกว่า "ภมร" คือ แกนสำหรับชักให้หมุน งานกลึงซึ่งทำขึ้นจากเครื่องกลึงแบบแรกนี้ มักเป็นสิ่งของที่เป็นลักษณะทรงกลม เช่น ตลับ ตัวหมากรุก ตราประทับ เป็นต้น

                                  - เครื่องกลึงแบบที่สอง หรือเรียกว่า เครื่องกลึงแบบกงชัก เป็นเครื่องกลึงที่ประกอบด้วย อุปกรณ์ช่วยผ่อนแรงในการฉุดชักภมร โดยไม่ต้องออกแรงชักเชือกฉุดภมรตรงๆ เครื่องกลึงแบบกงชักนี้ ในส่วนตัวภมร มีลักษณะคล้ายกับภมรในแบบแรก แต่จะมีที่ต่างกัน ตรงส่วนแคร่รองรับส่วนหัว และส่วนท้ายได้รับการสร้างให้มั่นคงแข็งแรงมากขึ้น ส่วนประกอบสำหรับภมรนี้เรียกว่า "เรือนภมร"

                                 - เครื่องกลึงแบบที่สาม หรือเรียกว่า เครื่องกลึงแบบกงดีด เครื่องกลึงแบบนี้ มีลักษณะโดยรวมของเรือนภมรคล้ายกับเครื่องกลึงแบบที่สอง แต่แทนที่จะใช้กำลังฉุดชักภมรด้วยมือ หากได้ใช้เท้าถีบ ชักเชือกฉุดภมร เครื่องกลึงแบบนี้ ดูออกจะใช้งานได้สะดวก และคล่องตัวกว่าเครื่องกลึงสองแบบแรก เพราะช่างกลึงสามารถเหยียบคานกระเดื่องชัก ภมรให้หมุนไปได้ในขณะเดียวที่ช่างทำการกลึงไปได้พร้อมกัน และ ที่สำคัญคือช่างกลึงอาจควบคุมความเร็วในการ หมุนของภมรได้ตามประสงค์ของตัวเอง

                                 เครื่องกลึงแบบนี้ อาจใช้กลึงทำสิ่งในลักษณะทรงกระบอก หรือ ทรงกรวยกลมได้มากอย่าง เช่น กลึงลูกกรง กลึงด้ามมีด-ด้ามดาบ กลึงหัวเม็ดทรงมัณฑ์ กลึงโกศไม้ เป็นต้น

               

              

               

                            

สร้างโดย: 
นางสาวนีติรัฐ พึ่งเดช และคุณครูผกากรอง กันทะเขียว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์