• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d3833c0971203f7715c68b2cf0dc1137' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<u style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #00ffff\">ตัวเรียงภาษาไทย</span><br />\n</u><br />\n<span style=\"color: #00ff00\">- <b>ในสมัยสุโขทัย</b> พ่อ ขุนรามคำแหงมหาราชได้คิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ โดยมีการศึกษามาจากภาษาขอม มอญ อินเดีย <br />\nสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ลูกหลานชาวไทยตลอดมา ตัวอักษรไทยมีความสวยงามอยู่ในตัวเอง ประกอบกับคนไทยมีนิสัยชอบประดิษฐ์ประดอย<br />\nมีความปราณีต นุ่มนวลอยู่ในสายเลือดจึงชอบที่จะเขียนตัวอักษรมากกว่าการพิมพ์ ทำให้มีการเขียนตัวอักษรไว้ในที่ต่างๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน <br />\nหรือตามฝาผนังเพื่อใช้อธิบายภาพ ใช้บันทึกตำรายา อักษรไทยที่เป็นตัวเขียนจะมีความงามเฉพาะโดยจะเอียงไปทางขวาของผู้เขียน <br />\nประมาณ ๔๕ องศา บางครั้งมีการประกวดแข่งขันกัน หรือใช้เป็นข้อมูลในการทำนายอนาคตด้วยลายมือก็ได้ เช่น ถ้าเขียนอักษรได้สวยงาม<br />\nเชื่อว่าจะเรียนเก่ง ต่อไปจะได้ดี ทำให้การพิมพ์ไม่มีความสำคัญหรือไม่มีความจำเป็น สำหรับสังคมไทยในสมัยนั้น<br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #33cccc\"><br />\n-ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศมหาอำนาจทางตะวันตกจะแสวงหา เมืองขึ้นเพื่อเป็นอาณานิคมของตน ประเทศต่างๆรอบบ้านเรา <br />\nตกเป็นเมืองขึ้นของชาวตะวันตกจนหมดด้วยพระบารมีขององค์พระมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี จึงทำให้เราดำรงความเป็นไทยมาได้จนปัจจุบัน <br />\nแต่อย่างไรก็ตาม ชาวตะวันตกก็ไม่ละความพยายาม จึงแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในรูปของความศรัทธา ความเชื่อถือโดยการเผยแพร่ศาสนาคริสต์<br />\nเข้ามายังบ้านเรา นนอกจากนี้ยังได้นำความรู้ด้านการพิมพเข้ามาสู่ประเทศไทยดด้วย ดังจะกล่าวโดยสรุปดังต่อไปนี้</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">- <b>ปี พ.ศ. ๒๓๖๐</b> นักสอน ศานา2คนชื่อ นางแอน เฮเชลไทน์ จัดสัน (Ann Hazel) และนายจอร์ส เอ็ช ฮัฟ (Geore H.Hough) <br />\nตระหนักถึงการเผยแพร่ศาสนาว่าถ้าเป็นภาษาถิ่นจะช่วยให้ชาวบ้านเข้าใจได้ดี และรวดเร็วขึ้น จึงเริ่มศึกษาภาษาไทย<br />\nจากเ๙ลยศึกเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐) แล้วแปลคำสอนศาสนาคริสต์จากภาษาอังกฤษมาเป็น<br />\nภาษาไทยและช่วยกันหล่อตัวพิมพ์ เป็นภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรกที่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า มีลักษณะเป็นตัวเขียน<br />\nด้วยปากกาคอแล้งหรือปากกาจิ้มหมึก ขนาดประมาณ ๓๐ พ้อยท์ หลายปีต่อมา สถานการณ์ในประเทพม่าไม่น่าไว้วางใจ <br />\nนายฮัฟ จึงอพยพครอบครัวมาอยู่ที่เมือง กัลกัตตา แล้วเดินทางต่อมายังประเทศสิงคโปร์ และได้นำตัวเรียงภาษาไทยมาพิมพ์ที่นี่ด้วย</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #008000\"><br />\n- <b>ปี พ.ศ. ๒๓๗๘</b> หมอบ ลัดเลย์ (Dr.Dan Beach Bradley) ได้ซื้อตัวเรียงภาษาไทยที่ได้พัฒนามาจากตัวเรียงที่หล่อขึ้นที่เมือง <br />\nย่างกุ้ง และนำเข้าสู่ประเทศไทย เป็นตัวเรียงที่มีภาษาเดียว (ประมาณ ๓๒ พ้อยท์ ตัวเรียงชุดนี้หมอบรัดเลย์ <br />\nใช้พิมพ์ประกาศห้ามสูบฝิ่น เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๓๘๒<br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n-<span style=\"color: #cc99ff\"> <b>ปี พ.ศ.๒๓๘๔ </b>หมอบ ลัดเลย์ ได้พัฒนาตัวเรียงให้อ่านง่ายและดูสวยงามได้มาตรฐานยิ่งขึ้น และหล่อขึ้นในประเทศไทย<br />\nเป็นครั้งแรกที่ข้างวัดประยูรวงศ์ (ธนบุรี) กทม. ทำให้ตัวเรียงภาษาไทยมีหลายแบบหลายขนาดเช่น ตัวโป้ง <br />\nขนาด ๓๒ พ้อยท์ ตัวกลาง ขนาด ๒๔ พ้อยท์ และตัวธรรมดา ขนาด ๒๐-๒๒พ้อยท์</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff99cc\">- <b>ปี พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๙๕</b> ได้ ทำตัวเรียงภาษาไทยให้มีหลายแบบหลาบขนาดมากยิ่งขึ้น เช่น ตัวโป้งหนา (แบบหัวกลมทึบหรือตัวหัวบอด) <br />\nขนาด32พ้อยท์ ใช้เป็นตัวหัวเรื่อง ตัวจิ๋วบางขนาด ๑๔-๑๖ พ้อยท์ เป็นตัวที่เล็กมากถ้าใช้โลหะทั่วไปหล่อ จะทำได้ยากและไม่คม <br />\nจึงต้องใช้ทองแดงที่สั่งมาจากฝรั่งเศสหล่อ ทำให้เรียกกันติดปากว่าตัว ฝรั่งเศส<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #008080\">- <b>ปี พ.ศ.๒๕๐๐ </b>บริษัท โมโนไทน์และบริษัทไทยวัฒนาพานิช ได้ร่วมมือกันปรับปรุงตัวเรียงภาษาไและหล่อขึ้นอีกหลายแบบ<br />\nหลายขนาดใช้กัน อยู่ในปัจจุบันส่งผลให้บริษัทไทยวัฒนาพานิชเจริญรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบัน<br />\n</span><span style=\"color: #ff9900\"><br />\n- <b>ปี พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๐๙ </b>โรง พิมพ์ชาเก็น (Shaken ) ของประเทศญี่ปุ่น ได้นำอักษรไทยไปพัฒนาใช้กับระบบเรียงพิมพ์ด้วยแสง <br />\nแล้วไปถ่ายฟิล์ม อัดเพลท ใช้กับแท่นพิมพ์ระบบออฟเซท (ขณะนั้นสามารถทำได้ขนาดตั้งแต่ ๘-๖๗ พ้อยท์<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #ff0000\">- <b>ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ </b>นายทองเต็ม เสมรสุต ได้ร่วมมือกับผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำตัวเรียงพิมพ์ภาษาไทยออกมาได้อีกมากมายหลายขนาด <br />\nมีทั้งตัวหนา ตัวบาง ตัวเอน ตัวราชการ ตัวตลกและตัวพิมพ์อื่นๆที่สวยงาม คมชัด เหมาะกับการทำต้นฉบับเพื่อการพิมพ์ในระบบต่างๆ<br />\nโดยเฉพาะระบบออฟเซทที่กำลัง เป็นที่นิยมกันในปัจจุบันนี้ (วัลลภ สวัสดิวัลลภ.๒๕๓๕ : ๕๐)</span><br />\n<span style=\"color: #99ccff\"><br />\n- <b>ปี พ.ศ. ๒๕๑๙</b> บริษัท วัชรพล (โรงพิมพ์ไทยรัฐ) ได้นำเครื่องคอมพิวกราฟิค (Comput ) เข้ามาทำตัวเรียงเพื่อผลิตต้นฉบับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ <br />\nและได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆจนเหมาะสมและใช้กันในปัจจุบัน เรียกการทำตัวเรียงลักษณะนี้ว่าเรียงคอมพิวกราฟิค (เรียกตามชื่อเครื่อง) และเรียกตัวเรียงว่า ตัวคอมพิว<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #800000\">- วงการพิมพ์บ้านเราเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อสนองตอบความต้องการ ที่เพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันเรากำลังก้าวสู่ยุคแห่งสังคม<br />\nข่าวสารความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์ยิ่งทวีค่ามากขึ้นตามลำดับ จึงทำให้มีการคิดค้นตัวอักษรภาษาไทยในรูปแบบต่างๆเพื่อสะดวกแก่กสรใช้งาน<br />\nเช่น อักษรลอกซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด เหมาะที่จะใช้ทำต้นฉบับสิ่งพิมพ์ที่ใช้ข้อความน้อยๆหรือทำเป็นตัวหัวเรื่อง ตัวเน้นตัว <br />\nอักษรที่พิมพ์มาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป (เครื่อง P.C.) ก็สามารถใช้ทำต้นฉบับเพื่อการพิมพ์ได้ แต่ควรจะมีความคมชัด <br />\nถ้าปริ้น (Print )ออกมาจากเครื่องที่ใช้เข็ม (DotMatric ) ก็ควรจะเลือกเครื่องที่มีความถี่สูงและเปลี่ยนผ้าหมึกใหม่เพื่อให้ได้ตัวที่ <br />\nเข้ม แต่ถ้าเป็นเครื่องเลเซอร์ปริ้น (Laser Print )สามารถนำไปใช้ได้ เลย แต่ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอส <br />\nจะออกแบบตัวอักษรได้หลากหลายกว่า มีลูกเล่นพลิกแพลงได้มาก โดยเฉพาะโปรแกรมเพจเมคเกอร์ (Pagemaker )<br />\nแต่ขณะนี้เครื่องพีซี ก็มีโปรแกรมนี้และโปรแกรมอื่นๆภายใต้วินโดว์ที่เอื้ออำนวยแก่การออกแบบเพื่อ การพิมพ์อีกมากมาย </span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><u>ตัวอักษรในงานพิมพ์</u></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><br />\nตัวอักษรที่ใช้ในงาน พิมพ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวเรียง ซึ่งปัจจุบันมีการเรียงพิมพ์ ๒ ลักษณะ คือ<br />\n</span><span style=\"color: #ffcc99\"><br />\n<b>๑. การเรียงตัวพิมพ์แบบร้อน</b> (Hot Type Computer ) เป็นการเรียงพิมพ์โดยใช้ตัวเรียงที่ทำด้วยโลหะ (๓ มิติ) และการหล่อตัวเรียงเป็น<br />\nข้อความด้วยเครื่องจักรกล ตัวเรียงจะแยกกันอยู่ในกระบะตามชนิด ตามแบบและขนาด สามารถนำมาใช้ได้หลายครั้ง <br />\nเมื่อชำรุดหักหรือบิ่น สามารถหล่อใหม่ได้ เป็นตัวเรียงที่ใช้ในการพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรส<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #ff99cc\"><b>๒. การเรียงตัวพิมพ์แบบเย็น </b>(Cold Type Composition) เป็นการสร้างตัวเรียงโดยการอัดภาพบนกระดาษ (๒ มิติ) ผ่านเครื่องพิมพ์แบบต่างๆ <br />\nบางครั้งเรียกว่า รางยาวใช้ได้ครั้งเดียวเป็นตัวเรียงที่นำมาใช้ในการจัดหน้า ทำอาร์ตเวิร์ค เป็นต้นฉบับพิมพ์ระบบออฟเซท</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #808080\"><u><b>การใช้ตัวอักษรในการพิมพ์</b></u></span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #008080\">ข้อความหรือตัวอักษรที่ใช้ในงานพิมพ์ ทั้งงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะได้รับการกลั่นกรองจาก นักคิดคำโฆษณา ผู้กำกับศิลป์ ลูกค้า <br />\nก่อนออกสู่สายตาสาธารณชน นับเป็นกระบวนการสร้างสรรค์และยิ่งใหญ่ไม่แพ้งานเขียนอื่นๆ สิ่งพิมพ์ที่เราพบเห็ฯกันในปัจจุบัน <br />\nจะมีตัวอักษรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญพอๆกับองค์ประกอบอื่นๆ เมื่อพิจารณาดูแล้วจะเห็นว่าเราใช้ตัวอักษรในกรณีต่อไปนี้<br />\n</span><span style=\"color: #808000\"><br />\n<b>๑. ใช้ตัวอักษรเพื่อการอธิบาย หรือบรรยาย เนื้อหา </b>(Book Face) หรือที่เรียกว่าตัวพื้นซึ่งนักออกแบบจะต้องออกแบบให้สอดคล้องกับประเภทของ <br />\nสิ่งพิมพ์และการรับรู้ของประชาชน เช่นถ้าเป็นหนังสือโดยทั่วไปแล้วจะมีข้อกำหนดตามวัยต่างๆดังนี้ ระดับอนุบาล ควรใช้ตัวขนาด 30 พ้อยท์ขึ้นไป <br />\nระดับประถมปีที่ ๑-๒ ควรใช้ขนาด ๒๔-๓๒ พ้อยท์ ระดับประถมปีที่ ๓-๔ ควรใช้ตัวขนาด ๑๘-๒๔ พ้อยท์ ระดับประถมปีที่๕-๖ ควรใช้ตัวขนาด ๑๖-1๑๘ พ้อยท์ <br />\nระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ ควรใช้ตัวขนาด ๑๖ พ้อยท์ ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป ควรใช้ตัวขนาด ๑๔-๑๖ พ้อยท์ <br />\nนอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับระยะในการมองเห็นด้วย เช่น ถ้าเป็นหนังสือ เอกสาร ระยะการมองปกติ ขนาดของตัวอักษรไม่เป็นปัญหา <br />\nแต่ถ้าเป็นสิ่งพิมพ์ประเภทโปสเตอร์ ป้ายโฆษณากลางแจ้งผู้ออกแบบควรพิจารณาเรื่องขนาดของตัวอักษรด้วย</span> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>๒. ใช้ตัวอักษรเพื่อเป็นจุดเด่น</b> ในการดึง ดูดสายตา (Display Face) ส่วนใหญ่จะใช้เป็นชื่อเรื่อง หัวข้อเรื่อง หรือหน้าปกหนังสือ <br />\nซึ่งมักจะมีขนาดใหญ่อาจจะเป็นตัวเรียง อักษรลอก หรือักษรประดิษฐ์ก็ได้</span><br />\n<span style=\"color: #339966\"><br />\n<b>ตัวอักษรที่ใช้ในการออกแบบและจัด ทำต้นฉบับสิ่งพิมพ์ มี ๓ ลักษณะใหญ่ๆคือ</b></span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><br />\n<b>๑. ตัวพื้นหรือตัวกลาง</b> (Bass Line) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นส่วนใหญ่ในสิ่งพิมพ์ เช่นการจัดทำหนังสือ ตัวพื้นจะเป็นตัวเดินเรื่อง <br />\nหรือตัวพรรณา นับว่าเป็นตัวที่สำคัญมากเพราะผู้อ่านต้องมอง ต้องอ่าน ตลอดทั้งเรื่อง และใช้เวลาในการอ่านส่วนใหญ่อยู่กับตัวพื้น<br />\n</span><span style=\"color: #333399\"><br />\n<b>๒. ตัวเน้น (Emphasis ) </b>เป็นตัวที่มีขนาดเท่ากับตัวพื้น แต่มีแบบหรือมีลักษณะที่แตกต่างออกไป</span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399\">เช่น ตัวเอน ตัวหนา หรือตัวที่มีช่องไฟห่างมากกว่าตัวพื้นเพื่อเน้นข้อความสำคัญหรือต้องการ</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399\">จะตอกย้ำความเข้าใจ บางครั้งใช้ตัวเน้นอธิบายซึ่งมีส่วนทำให้ผู้อ่านตื่นเต้นและฝั่งใจจำได้ดี กว่าตัวกลาง</span><br />\n<span style=\"color: #003366\"><b><br />\n๓. ตัวหัวเรื่อง</b> (Head Line) เป๋นตัวหนาและใหญ่ขนาดประมาณ ๔๐-๗๒ พ้อยท์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวอักษรป้ายแสดง ( )ซึ่งอาจจะเป็นตัวเรียง <br />\nตัวประดิษฐ์ที่แสดงอารมณ์ต่างๆ หรืออักษรลอกก็ได้ (Letter Press) ตัวหัวเรื่องทำหน้าที่ สร้างความน่าสนใจ สะดุดตา <br />\nชักจูงให้อยากอ่านรายละเอียดต่อไป ปัจจุบันมีการทำตัวซ้อน ตัวห่าง ตัวอิสระที่หันไปตามทิศทางต่างๆ (ตัวเรียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์) <br />\nหัวเรื่องที่ดีมักจะบอกถึงประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับการนำเสนอข่าวใหม่ หรือข้อความที่เป็นจริง ฯลฯ  </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83330\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B01.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83354\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B02.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83355\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B03.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /><a href=\"/node/83358\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B04.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83362\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B05.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83363\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B06.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83364\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B07.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83365\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B09.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83373\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B010.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83376\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a1.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83385\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a2.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83387\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a3.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83388\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a4.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83389\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a5.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83391\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a6.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83471\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a7.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83469\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a8.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83472\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a9.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83473\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a10.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\"><a href=\"/node/81975\"><img height=\"52\" width=\"55\" src=\"/files/u31501/aaaaaaaaa.jpg\" align=\"right\" /></a></span>\n</div>\n', created = 1715907553, expire = 1715993953, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d3833c0971203f7715c68b2cf0dc1137' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตัวเรียงภาษาไทย

ตัวเรียงภาษาไทย

- ในสมัยสุโขทัย พ่อ ขุนรามคำแหงมหาราชได้คิดประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ โดยมีการศึกษามาจากภาษาขอม มอญ อินเดีย
สร้างความภาคภูมิใจให้แก่ลูกหลานชาวไทยตลอดมา ตัวอักษรไทยมีความสวยงามอยู่ในตัวเอง ประกอบกับคนไทยมีนิสัยชอบประดิษฐ์ประดอย
มีความปราณีต นุ่มนวลอยู่ในสายเลือดจึงชอบที่จะเขียนตัวอักษรมากกว่าการพิมพ์ ทำให้มีการเขียนตัวอักษรไว้ในที่ต่างๆ เช่น สมุดข่อย ใบลาน
หรือตามฝาผนังเพื่อใช้อธิบายภาพ ใช้บันทึกตำรายา อักษรไทยที่เป็นตัวเขียนจะมีความงามเฉพาะโดยจะเอียงไปทางขวาของผู้เขียน
ประมาณ ๔๕ องศา บางครั้งมีการประกวดแข่งขันกัน หรือใช้เป็นข้อมูลในการทำนายอนาคตด้วยลายมือก็ได้ เช่น ถ้าเขียนอักษรได้สวยงาม
เชื่อว่าจะเรียนเก่ง ต่อไปจะได้ดี ทำให้การพิมพ์ไม่มีความสำคัญหรือไม่มีความจำเป็น สำหรับสังคมไทยในสมัยนั้น

-ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศมหาอำนาจทางตะวันตกจะแสวงหา เมืองขึ้นเพื่อเป็นอาณานิคมของตน ประเทศต่างๆรอบบ้านเรา
ตกเป็นเมืองขึ้นของชาวตะวันตกจนหมดด้วยพระบารมีขององค์พระมหากษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี จึงทำให้เราดำรงความเป็นไทยมาได้จนปัจจุบัน
แต่อย่างไรก็ตาม ชาวตะวันตกก็ไม่ละความพยายาม จึงแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในรูปของความศรัทธา ความเชื่อถือโดยการเผยแพร่ศาสนาคริสต์
เข้ามายังบ้านเรา นนอกจากนี้ยังได้นำความรู้ด้านการพิมพเข้ามาสู่ประเทศไทยดด้วย ดังจะกล่าวโดยสรุปดังต่อไปนี้
- ปี พ.ศ. ๒๓๖๐ นักสอน ศานา2คนชื่อ นางแอน เฮเชลไทน์ จัดสัน (Ann Hazel) และนายจอร์ส เอ็ช ฮัฟ (Geore H.Hough)
ตระหนักถึงการเผยแพร่ศาสนาว่าถ้าเป็นภาษาถิ่นจะช่วยให้ชาวบ้านเข้าใจได้ดี และรวดเร็วขึ้น จึงเริ่มศึกษาภาษาไทย
จากเ๙ลยศึกเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๑๐) แล้วแปลคำสอนศาสนาคริสต์จากภาษาอังกฤษมาเป็น
ภาษาไทยและช่วยกันหล่อตัวพิมพ์ เป็นภาษาไทยขึ้นเป็นครั้งแรกที่กรุงย่างกุ้ง ประเทศพม่า มีลักษณะเป็นตัวเขียน
ด้วยปากกาคอแล้งหรือปากกาจิ้มหมึก ขนาดประมาณ ๓๐ พ้อยท์ หลายปีต่อมา สถานการณ์ในประเทพม่าไม่น่าไว้วางใจ
นายฮัฟ จึงอพยพครอบครัวมาอยู่ที่เมือง กัลกัตตา แล้วเดินทางต่อมายังประเทศสิงคโปร์ และได้นำตัวเรียงภาษาไทยมาพิมพ์ที่นี่ด้วย


- ปี พ.ศ. ๒๓๗๘ หมอบ ลัดเลย์ (Dr.Dan Beach Bradley) ได้ซื้อตัวเรียงภาษาไทยที่ได้พัฒนามาจากตัวเรียงที่หล่อขึ้นที่เมือง
ย่างกุ้ง และนำเข้าสู่ประเทศไทย เป็นตัวเรียงที่มีภาษาเดียว (ประมาณ ๓๒ พ้อยท์ ตัวเรียงชุดนี้หมอบรัดเลย์
ใช้พิมพ์ประกาศห้ามสูบฝิ่น เมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๓๘๒
- ปี พ.ศ.๒๓๘๔ หมอบ ลัดเลย์ ได้พัฒนาตัวเรียงให้อ่านง่ายและดูสวยงามได้มาตรฐานยิ่งขึ้น และหล่อขึ้นในประเทศไทย
เป็นครั้งแรกที่ข้างวัดประยูรวงศ์ (ธนบุรี) กทม. ทำให้ตัวเรียงภาษาไทยมีหลายแบบหลายขนาดเช่น ตัวโป้ง
ขนาด ๓๒ พ้อยท์ ตัวกลาง ขนาด ๒๔ พ้อยท์ และตัวธรรมดา ขนาด ๒๐-๒๒พ้อยท์

 

- ปี พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๙๕ ได้ ทำตัวเรียงภาษาไทยให้มีหลายแบบหลาบขนาดมากยิ่งขึ้น เช่น ตัวโป้งหนา (แบบหัวกลมทึบหรือตัวหัวบอด)
ขนาด32พ้อยท์ ใช้เป็นตัวหัวเรื่อง ตัวจิ๋วบางขนาด ๑๔-๑๖ พ้อยท์ เป็นตัวที่เล็กมากถ้าใช้โลหะทั่วไปหล่อ จะทำได้ยากและไม่คม
จึงต้องใช้ทองแดงที่สั่งมาจากฝรั่งเศสหล่อ ทำให้เรียกกันติดปากว่าตัว ฝรั่งเศส

- ปี พ.ศ.๒๕๐๐ บริษัท โมโนไทน์และบริษัทไทยวัฒนาพานิช ได้ร่วมมือกันปรับปรุงตัวเรียงภาษาไและหล่อขึ้นอีกหลายแบบ
หลายขนาดใช้กัน อยู่ในปัจจุบันส่งผลให้บริษัทไทยวัฒนาพานิชเจริญรุ่งเรืองมาจนถึงปัจจุบัน

- ปี พ.ศ.๒๕๐๐-๒๕๐๙ โรง พิมพ์ชาเก็น (Shaken ) ของประเทศญี่ปุ่น ได้นำอักษรไทยไปพัฒนาใช้กับระบบเรียงพิมพ์ด้วยแสง
แล้วไปถ่ายฟิล์ม อัดเพลท ใช้กับแท่นพิมพ์ระบบออฟเซท (ขณะนั้นสามารถทำได้ขนาดตั้งแต่ ๘-๖๗ พ้อยท์

- ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ นายทองเต็ม เสมรสุต ได้ร่วมมือกับผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำตัวเรียงพิมพ์ภาษาไทยออกมาได้อีกมากมายหลายขนาด
มีทั้งตัวหนา ตัวบาง ตัวเอน ตัวราชการ ตัวตลกและตัวพิมพ์อื่นๆที่สวยงาม คมชัด เหมาะกับการทำต้นฉบับเพื่อการพิมพ์ในระบบต่างๆ
โดยเฉพาะระบบออฟเซทที่กำลัง เป็นที่นิยมกันในปัจจุบันนี้ (วัลลภ สวัสดิวัลลภ.๒๕๓๕ : ๕๐)


- ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ บริษัท วัชรพล (โรงพิมพ์ไทยรัฐ) ได้นำเครื่องคอมพิวกราฟิค (Comput ) เข้ามาทำตัวเรียงเพื่อผลิตต้นฉบับหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
และได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆจนเหมาะสมและใช้กันในปัจจุบัน เรียกการทำตัวเรียงลักษณะนี้ว่าเรียงคอมพิวกราฟิค (เรียกตามชื่อเครื่อง) และเรียกตัวเรียงว่า ตัวคอมพิว

- วงการพิมพ์บ้านเราเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อสนองตอบความต้องการ ที่เพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันเรากำลังก้าวสู่ยุคแห่งสังคม
ข่าวสารความสำคัญของสื่อสิ่งพิมพ์ยิ่งทวีค่ามากขึ้นตามลำดับ จึงทำให้มีการคิดค้นตัวอักษรภาษาไทยในรูปแบบต่างๆเพื่อสะดวกแก่กสรใช้งาน
เช่น อักษรลอกซึ่งมีหลายแบบหลายขนาด เหมาะที่จะใช้ทำต้นฉบับสิ่งพิมพ์ที่ใช้ข้อความน้อยๆหรือทำเป็นตัวหัวเรื่อง ตัวเน้นตัว
อักษรที่พิมพ์มาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป (เครื่อง P.C.) ก็สามารถใช้ทำต้นฉบับเพื่อการพิมพ์ได้ แต่ควรจะมีความคมชัด
ถ้าปริ้น (Print )ออกมาจากเครื่องที่ใช้เข็ม (DotMatric ) ก็ควรจะเลือกเครื่องที่มีความถี่สูงและเปลี่ยนผ้าหมึกใหม่เพื่อให้ได้ตัวที่
เข้ม แต่ถ้าเป็นเครื่องเลเซอร์ปริ้น (Laser Print )สามารถนำไปใช้ได้ เลย แต่ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอส
จะออกแบบตัวอักษรได้หลากหลายกว่า มีลูกเล่นพลิกแพลงได้มาก โดยเฉพาะโปรแกรมเพจเมคเกอร์ (Pagemaker )
แต่ขณะนี้เครื่องพีซี ก็มีโปรแกรมนี้และโปรแกรมอื่นๆภายใต้วินโดว์ที่เอื้ออำนวยแก่การออกแบบเพื่อ การพิมพ์อีกมากมาย

ตัวอักษรในงานพิมพ์

ตัวอักษรที่ใช้ในงาน พิมพ์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวเรียง ซึ่งปัจจุบันมีการเรียงพิมพ์ ๒ ลักษณะ คือ

๑. การเรียงตัวพิมพ์แบบร้อน (Hot Type Computer ) เป็นการเรียงพิมพ์โดยใช้ตัวเรียงที่ทำด้วยโลหะ (๓ มิติ) และการหล่อตัวเรียงเป็น
ข้อความด้วยเครื่องจักรกล ตัวเรียงจะแยกกันอยู่ในกระบะตามชนิด ตามแบบและขนาด สามารถนำมาใช้ได้หลายครั้ง
เมื่อชำรุดหักหรือบิ่น สามารถหล่อใหม่ได้ เป็นตัวเรียงที่ใช้ในการพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรส

๒. การเรียงตัวพิมพ์แบบเย็น (Cold Type Composition) เป็นการสร้างตัวเรียงโดยการอัดภาพบนกระดาษ (๒ มิติ) ผ่านเครื่องพิมพ์แบบต่างๆ
บางครั้งเรียกว่า รางยาวใช้ได้ครั้งเดียวเป็นตัวเรียงที่นำมาใช้ในการจัดหน้า ทำอาร์ตเวิร์ค เป็นต้นฉบับพิมพ์ระบบออฟเซท

 

การใช้ตัวอักษรในการพิมพ์


ข้อความหรือตัวอักษรที่ใช้ในงานพิมพ์ ทั้งงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะได้รับการกลั่นกรองจาก นักคิดคำโฆษณา ผู้กำกับศิลป์ ลูกค้า
ก่อนออกสู่สายตาสาธารณชน นับเป็นกระบวนการสร้างสรรค์และยิ่งใหญ่ไม่แพ้งานเขียนอื่นๆ สิ่งพิมพ์ที่เราพบเห็ฯกันในปัจจุบัน
จะมีตัวอักษรเป็นองค์ประกอบที่สำคัญพอๆกับองค์ประกอบอื่นๆ เมื่อพิจารณาดูแล้วจะเห็นว่าเราใช้ตัวอักษรในกรณีต่อไปนี้

๑. ใช้ตัวอักษรเพื่อการอธิบาย หรือบรรยาย เนื้อหา (Book Face) หรือที่เรียกว่าตัวพื้นซึ่งนักออกแบบจะต้องออกแบบให้สอดคล้องกับประเภทของ
สิ่งพิมพ์และการรับรู้ของประชาชน เช่นถ้าเป็นหนังสือโดยทั่วไปแล้วจะมีข้อกำหนดตามวัยต่างๆดังนี้ ระดับอนุบาล ควรใช้ตัวขนาด 30 พ้อยท์ขึ้นไป
ระดับประถมปีที่ ๑-๒ ควรใช้ขนาด ๒๔-๓๒ พ้อยท์ ระดับประถมปีที่ ๓-๔ ควรใช้ตัวขนาด ๑๘-๒๔ พ้อยท์ ระดับประถมปีที่๕-๖ ควรใช้ตัวขนาด ๑๖-1๑๘ พ้อยท์
ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ ควรใช้ตัวขนาด ๑๖ พ้อยท์ ระดับอุดมศึกษาและประชาชนทั่วไป ควรใช้ตัวขนาด ๑๔-๑๖ พ้อยท์
นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับระยะในการมองเห็นด้วย เช่น ถ้าเป็นหนังสือ เอกสาร ระยะการมองปกติ ขนาดของตัวอักษรไม่เป็นปัญหา
แต่ถ้าเป็นสิ่งพิมพ์ประเภทโปสเตอร์ ป้ายโฆษณากลางแจ้งผู้ออกแบบควรพิจารณาเรื่องขนาดของตัวอักษรด้วย

 

๒. ใช้ตัวอักษรเพื่อเป็นจุดเด่น ในการดึง ดูดสายตา (Display Face) ส่วนใหญ่จะใช้เป็นชื่อเรื่อง หัวข้อเรื่อง หรือหน้าปกหนังสือ
ซึ่งมักจะมีขนาดใหญ่อาจจะเป็นตัวเรียง อักษรลอก หรือักษรประดิษฐ์ก็ได้


ตัวอักษรที่ใช้ในการออกแบบและจัด ทำต้นฉบับสิ่งพิมพ์ มี ๓ ลักษณะใหญ่ๆคือ


๑. ตัวพื้นหรือตัวกลาง (Bass Line) เป็นตัวอักษรที่ใช้เป็นส่วนใหญ่ในสิ่งพิมพ์ เช่นการจัดทำหนังสือ ตัวพื้นจะเป็นตัวเดินเรื่อง
หรือตัวพรรณา นับว่าเป็นตัวที่สำคัญมากเพราะผู้อ่านต้องมอง ต้องอ่าน ตลอดทั้งเรื่อง และใช้เวลาในการอ่านส่วนใหญ่อยู่กับตัวพื้น

๒. ตัวเน้น (Emphasis ) เป็นตัวที่มีขนาดเท่ากับตัวพื้น แต่มีแบบหรือมีลักษณะที่แตกต่างออกไป

เช่น ตัวเอน ตัวหนา หรือตัวที่มีช่องไฟห่างมากกว่าตัวพื้นเพื่อเน้นข้อความสำคัญหรือต้องการ
จะตอกย้ำความเข้าใจ บางครั้งใช้ตัวเน้นอธิบายซึ่งมีส่วนทำให้ผู้อ่านตื่นเต้นและฝั่งใจจำได้ดี กว่าตัวกลาง

๓. ตัวหัวเรื่อง
(Head Line) เป๋นตัวหนาและใหญ่ขนาดประมาณ ๔๐-๗๒ พ้อยท์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ตัวอักษรป้ายแสดง ( )ซึ่งอาจจะเป็นตัวเรียง
ตัวประดิษฐ์ที่แสดงอารมณ์ต่างๆ หรืออักษรลอกก็ได้ (Letter Press) ตัวหัวเรื่องทำหน้าที่ สร้างความน่าสนใจ สะดุดตา
ชักจูงให้อยากอ่านรายละเอียดต่อไป ปัจจุบันมีการทำตัวซ้อน ตัวห่าง ตัวอิสระที่หันไปตามทิศทางต่างๆ (ตัวเรียงจากเครื่องคอมพิวเตอร์)
หัวเรื่องที่ดีมักจะบอกถึงประโยชน์ที่ผู้บริโภคจะได้รับการนำเสนอข่าวใหม่ หรือข้อความที่เป็นจริง ฯลฯ 

 

   

   

   

   

   

   

 

สร้างโดย: 
นางสาวเกวลิน ทวีสุข,นางสาวชนัญญา ศรีสุริยพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 263 คน กำลังออนไลน์