• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:819e304652e4b27b0423483b50cd5995' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"357\" width=\"250\" src=\"/files/u40902/Ramkhamhaeng-picwiki001_md.jpg\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.thaigoodview.com/files/u40902/Ramkhamhaeng-picwiki001_md.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u40902/Ramkhamhaeng-picwiki001_md.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u40902/Ramkhamhaeng-picwiki001_md.jpg</a>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">สำเนาศิลาจารึกหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคำแหงราว พ.ศ. ๔๐๐ ไทยได้อพยพจากถิ่นเดิมมาตั้งภูมิลำเนาอยู่ใกล้อาณาเขตมอญซึ่งกำลังเป็นชาติที่เจริญรุ่งเรือง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">ในสมัยนั้นเริ่มแรกคงเริ่มเลียนแบบตัวอักษรมาจากมอญ ต่อมาราว พ.ศ. ๑๕๐๐ เมื่อขอมขยายอำนาจเข้ามาในดินแดนของคนไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">ซึ่งตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำยม และได้ปกครองเมืองเชลียงและเมืองสุโขทัีย ไทยก็เริ่มดัดแปลงอักษรที่มีอยู่เดิมให้คล้ายกับอักษรขอม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">วัดอักษรมอญและอักษรขอมที่เรานำมาดัดแปลง ใช้นั้นล้วนแปลงรูปมาจากอักษรพนามีของพวกพราหมณ์ซึ่งแพร่หลายในอินเดียตอนเหนือ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">และอักษรสันสกฤตในสมัยราชวงค์ปัลลวะซึ่งแพร่หลายบริเวณ อินเดียตอนใต้ อักษรอินเดียทั้งคู่นี้ต่างก็รับแบบมาจากอักษรฟินิเซียนอีกชั้นหนึ่ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">อักษรเฟนีเซียนับได้ว่าเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นแม่แบบตัวอักษรของชาติต่างๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปราว พ.ศ. ๑๘๒๖  </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">พ่อขุนรามคำแหงทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกกันว่า &quot;ลายสือไทย&quot; ขึ้น ซึ่งได้เค้ารูปจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">รวมทั้งอักษรมอญและเขมรที่มีอยู่เดิม (ซึ่งต่างก็ถ่ายแบบมาจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้ทั้งสิ้น) ทำให้อักษรไทยมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรทั้งสาม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">แม้บางตัวจะไม่คล้ายกัน แต่ก็สามารถรู้ได้ว่าดัดแปลงมาจากอักษรตัวไหนอักษรไทยมีการปรับปรุงอยู่เรื่อยๆ ในสมัยพญาฦาไท ราว พ.ศ. ๑๙๐๐ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">มีการแก้ไขตัวอักษรให้ผิดเพี้ยนไปบ้างเล็กน้อย โดยเฉพาะการเพิ่มเชิงที่ตัว ญ ซึ่งใช้ติดต่อเรื่อยมาจนทุกวันนี้ คาดว่าน่าจะเอาอย่างมาจากเขมร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ราว พ.ศ. ๒๒๒๓ ตัวอักษรเริ่มมีทรวดทรงดีขึ้นแต่ก็ไม่ทิ้งเค้าเดิม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">มีบางตัวเท่านั้นที่แก้ไขผิดไปจากเดิม คือตัว ฎ และ ธ ซึ่งเหมือนกับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นักวิชาการจำนวนหนึ่งเชื่อว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\">ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชตัวอักษรและการใช้งานมีความคล้ายคลึงกับในปัจจุบันมากที่สุด   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #cc99ff; font-size: 9pt\"><a href=\"http://www.openbase.in.th/files/Ramkhamhaeng-picwiki001_md.png\"><b><u><span lang=\"EN-US\" style=\"color: purple\"></span></u></b><b><u><span lang=\"EN-US\" style=\"color: purple\"></span></u></b></a></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220; font-size: 9pt\"></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #2b3220; font-size: 9pt\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83330\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B01.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83354\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B02.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83355\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B03.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /><a href=\"/node/83358\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B04.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83362\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B05.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83363\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B06.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83364\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B07.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83365\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B09.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83373\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B010.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83376\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a1.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83385\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a2.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83387\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a3.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83388\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a4.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83389\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a5.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83391\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a6.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83471\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a7.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83469\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a8.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/76641\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a9.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83472\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a10.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81975\"><img height=\"52\" width=\"55\" src=\"/files/u31501/aaaaaaaaa.jpg\" align=\"right\" style=\"width: 71px; height: 63px\" /></a>\n</p>\n', created = 1716275054, expire = 1716361454, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:819e304652e4b27b0423483b50cd5995' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิวัฒนาการ

 

สำเนาศิลาจารึกหลักที่ ๑ พ่อขุนรามคำแหงราว พ.ศ. ๔๐๐ ไทยได้อพยพจากถิ่นเดิมมาตั้งภูมิลำเนาอยู่ใกล้อาณาเขตมอญซึ่งกำลังเป็นชาติที่เจริญรุ่งเรือง

ในสมัยนั้นเริ่มแรกคงเริ่มเลียนแบบตัวอักษรมาจากมอญ ต่อมาราว พ.ศ. ๑๕๐๐ เมื่อขอมขยายอำนาจเข้ามาในดินแดนของคนไทย

ซึ่งตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำยม และได้ปกครองเมืองเชลียงและเมืองสุโขทัีย ไทยก็เริ่มดัดแปลงอักษรที่มีอยู่เดิมให้คล้ายกับอักษรขอม

วัดอักษรมอญและอักษรขอมที่เรานำมาดัดแปลง ใช้นั้นล้วนแปลงรูปมาจากอักษรพนามีของพวกพราหมณ์ซึ่งแพร่หลายในอินเดียตอนเหนือ

และอักษรสันสกฤตในสมัยราชวงค์ปัลลวะซึ่งแพร่หลายบริเวณ อินเดียตอนใต้ อักษรอินเดียทั้งคู่นี้ต่างก็รับแบบมาจากอักษรฟินิเซียนอีกชั้นหนึ่ง

อักษรเฟนีเซียนับได้ว่าเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นแม่แบบตัวอักษรของชาติต่างๆ ทั้งในเอเชียและยุโรปราว พ.ศ. ๑๘๒๖ 

พ่อขุนรามคำแหงทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกกันว่า "ลายสือไทย" ขึ้น ซึ่งได้เค้ารูปจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้

รวมทั้งอักษรมอญและเขมรที่มีอยู่เดิม (ซึ่งต่างก็ถ่ายแบบมาจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้ทั้งสิ้น) ทำให้อักษรไทยมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรทั้งสาม

แม้บางตัวจะไม่คล้ายกัน แต่ก็สามารถรู้ได้ว่าดัดแปลงมาจากอักษรตัวไหนอักษรไทยมีการปรับปรุงอยู่เรื่อยๆ ในสมัยพญาฦาไท ราว พ.ศ. ๑๙๐๐

มีการแก้ไขตัวอักษรให้ผิดเพี้ยนไปบ้างเล็กน้อย โดยเฉพาะการเพิ่มเชิงที่ตัว ญ ซึ่งใช้ติดต่อเรื่อยมาจนทุกวันนี้ คาดว่าน่าจะเอาอย่างมาจากเขมร

ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ราว พ.ศ. ๒๒๒๓ ตัวอักษรเริ่มมีทรวดทรงดีขึ้นแต่ก็ไม่ทิ้งเค้าเดิม

มีบางตัวเท่านั้นที่แก้ไขผิดไปจากเดิม คือตัว ฎ และ ธ ซึ่งเหมือนกับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นักวิชาการจำนวนหนึ่งเชื่อว่า

ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชตัวอักษรและการใช้งานมีความคล้ายคลึงกับในปัจจุบันมากที่สุด  

 

   

   

   

   

   

   

สร้างโดย: 
นางสาวเกวลิน ทวีสุข,นางสาวชนัญญา ศรีสุริยพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 358 คน กำลังออนไลน์