• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c0bb0c83ffc5d9015da591b4d04306ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<u><span style=\"color: #cc99ff\">ตัวอักษรและตัวพิมพ์</span></u>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<u><span style=\"color: #cc99ff\"><br />\n </span></u>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\">..................    เรื่องราว เกี่ยวกับรูปแบบของ Font ในลักษณะต่างๆ การออกแบบและการใช้ตัวพิมพ์เพื่อที่เกี่ยวข้องกับ <br />\nหัวเรื่อง(Head)  หัวข้อ(Title)  เนื้อความ(Body)  ประโยคสำคัญ(Quato) อักษรเริ่มต้น(Drop Cap</span></span> \n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #800080\"><u>ตัวอักษรเพื่อการพิมพ์</u></span> </span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><br />\n<span style=\"color: #008000\">ตัวอักษรเป็น สัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสารจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งหรือกลุ่ม หนึ่ง โดยแสดงถึงเหตุผล อารมณ์ ความต้องการและ<br />\nความรู้สึกนึกคิด ภาษาอักษรสามารถเก็บความรู้ต่างๆไว้ได้เป็ฯระยะเวลานาน และสามารถถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นหลังให้มีโอกาสได้เรียนรู้ต่อไป </span></span>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><b>ตัวอักษร (Letter ) หมายถึงพยัญชนะ ข้อความ และตัวเลขด้วย</b></span> </span><span style=\"color: #ff00ff\"><b><br />\n</b><br />\n<span style=\"color: #ff9900\"><b>ไท โปกราฟีค</b> (Typography ) หมายถึงตัวพิมพ์ การทำตัวพิมพ์ ศิลปะการพิมพ์ <br />\nการพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ การจัดตัวเรียง และผลงานการพิมพ์อันเนื่องมาจากตัวพิมพ์<br />\nตัวอักษร เป็นพยัญชนะ ตัวหนังสือ ตัวเลข ที่มาเรียงเป็นข้อความ เป็นส่วนหนึ่งของงานพิมพ์ซึ่งมีความสำคัยิ่ง <br />\nเพราะช่วยให้เกิดการสื่อสารตามจุดประสงค์ของสิ่งพิมพ์นั้น ในการพิมพ์ระยะแรกๆ (ประมาณกลางศตวรรษที่ ๕ )<br />\nยังไม่มีการพิมพ์ตัวอักษร ส่วนมากเป็นการพิมพ์ในลักษณะการประทับตราและพิมพ์เป็นภาพ <br />\nต่อมามีความจำเป็นในการที่จะต้องบันทึกเรื่องราวบันทึกหลักฐานต่างๆไว้ หรือแจ้งข่าวให้คนส่วนใหญ่รับยรู้ <br />\nจึงเกิดการพิมพ์เป็นตัวอักษรขึ้น และมีการพัฒนาต่อเนื่องกันมา โดยเริ่มตั้งแต่การเขียน การออกแบบตัวอักษร (Lettering ) <br />\nจนในปัจจุบันเรามีตัวอักษรที่สร้างขึ้นเป็นแบบมาตรฐาน เรียกว่าตัวเรียงซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือตัวเรียงแบบร้อน <br />\nเกิดจากการหล่อด้วยโลหะเช่นตะกั่ว ทองแดง ฯลฯ และตัวเรียงแบบเย็น เกิดจากการสร้างตัวอักษรโดยใช้ระบบการอัดภาพบนแผ่นกระดาษ <br />\nตัวเรียงแบบเย็นนี้ จะต้องนำไปผ่านกระบวนการอื่นอีขั้นหนึ่งก่อนจึงจะเป็นแม่พิมพ์ได้ (ถ่ายฟิล์ม อัดเพลท)<br />\nเพื่อให้นักศึกษารู้จักความเป็นมาของตัวเรียง จึงขอกล่าวโดยสรุปดังต่อไปนี้</span></span><span style=\"color: #ff9900\"> </span><span style=\"color: #ff00ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><b>ใน ปี ค.ศ.๘๖๘</b> วางเซียะ ได้พิมพ์หนังสือชื่อวัชรสูตร จากแม่พิมพ์ไม้โดยมีทั้งภาพและตัวอักษรภาษาจีน ใน<br />\nขณะนั้นใช้วิธีการแกะไม้เป็นแม่พิมพ์ พิมพ์ที่ละหน้าซึ่งต้องใช้เวลานาน แตมีความประณีต สวยงาม และดูมีคุณค่า</span></span><span style=\"color: #3366ff\"> </span><span style=\"color: #3366ff\"><br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #ff99cc\"><b>ค.ศ. ๑๐๔๑</b> ไป เช็ง (ชาวจีน) ได้ทดลองประดิษฐ์ตัวพิมพ์เป็นตัวๆขึ้นเป็นครั้งแรกโดยใช้ดินเหนียวตากแดดและ <br />\nเผาไฟเรียกว่าตัวเรียง ( ) แต่ไม่ได้รับความนิยมเพราะแตกหักง่ายและมีข้อจำกัดทางภาษาคือ <br />\nภาษาจีนมีลักษณะเป็นคำๆ ต้องนำมาเรียงต่อกันจึงจะเป็นประโยคซึ่งต้องใช้คำมาก <br />\nต่างกับภาษาไทย ภาษาอังกฤษ มีพยัญชนะ สระ เพียงไม่กี่ตัวก็นำมาผสมเป็นคำ เป็ฯประโยคได้</span></span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<p>\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #cc99ff\"><b>ปีค.ศ. ๑๒๔๑</b> ช่าง ชาวเกาหลีสามารถหล่อตัวเรียงขึ้นใช้ในการพิมพ์ได้ โดยการหล่อด้วยโลหะ <br />\nทั้งนี้เพราะได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์ไทจง ( ) จนสามารถหล่อได้ถึง ๑๐ แบบและได้เผยแพร่สู่ญี่ปุ่นในเวลาต่อมา</span> </span>\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83330\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B01.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83354\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B02.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83355\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B03.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /><a href=\"/node/83358\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B04.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83362\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B05.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83363\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B06.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83364\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B07.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83365\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B09.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83373\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/B010.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83376\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a1.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83385\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a2.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83387\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a3.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83388\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a4.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83389\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a5.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83391\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a6.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83471\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a7.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83469\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a8.jpg\" border=\"0\" /></a>  <a href=\"/node/83472\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a9.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/83473\"><img height=\"50\" width=\"170\" src=\"/files/u31501/a10.jpg\" border=\"0\" /></a> <br />\n<a href=\"/node/81975\"><img height=\"52\" width=\"55\" src=\"/files/u31501/aaaaaaaaa.jpg\" align=\"right\" /></a>\n</p>\n<p></p></span>\n</div>\n', created = 1716249527, expire = 1716335927, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c0bb0c83ffc5d9015da591b4d04306ee' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตัวอักษรและตัวพิมพ์

ตัวอักษรและตัวพิมพ์

 
..................    เรื่องราว เกี่ยวกับรูปแบบของ Font ในลักษณะต่างๆ การออกแบบและการใช้ตัวพิมพ์เพื่อที่เกี่ยวข้องกับ
หัวเรื่อง(Head)  หัวข้อ(Title)  เนื้อความ(Body)  ประโยคสำคัญ(Quato) อักษรเริ่มต้น(Drop Cap

ตัวอักษรเพื่อการพิมพ์


ตัวอักษรเป็น สัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่ใช้ในการสื่อสารจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งหรือกลุ่ม หนึ่ง โดยแสดงถึงเหตุผล อารมณ์ ความต้องการและ
ความรู้สึกนึกคิด ภาษาอักษรสามารถเก็บความรู้ต่างๆไว้ได้เป็ฯระยะเวลานาน และสามารถถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นหลังให้มีโอกาสได้เรียนรู้ต่อไป

ตัวอักษร (Letter ) หมายถึงพยัญชนะ ข้อความ และตัวเลขด้วย

ไท โปกราฟีค (Typography ) หมายถึงตัวพิมพ์ การทำตัวพิมพ์ ศิลปะการพิมพ์
การพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ การจัดตัวเรียง และผลงานการพิมพ์อันเนื่องมาจากตัวพิมพ์
ตัวอักษร เป็นพยัญชนะ ตัวหนังสือ ตัวเลข ที่มาเรียงเป็นข้อความ เป็นส่วนหนึ่งของงานพิมพ์ซึ่งมีความสำคัยิ่ง
เพราะช่วยให้เกิดการสื่อสารตามจุดประสงค์ของสิ่งพิมพ์นั้น ในการพิมพ์ระยะแรกๆ (ประมาณกลางศตวรรษที่ ๕ )
ยังไม่มีการพิมพ์ตัวอักษร ส่วนมากเป็นการพิมพ์ในลักษณะการประทับตราและพิมพ์เป็นภาพ
ต่อมามีความจำเป็นในการที่จะต้องบันทึกเรื่องราวบันทึกหลักฐานต่างๆไว้ หรือแจ้งข่าวให้คนส่วนใหญ่รับยรู้
จึงเกิดการพิมพ์เป็นตัวอักษรขึ้น และมีการพัฒนาต่อเนื่องกันมา โดยเริ่มตั้งแต่การเขียน การออกแบบตัวอักษร (Lettering )
จนในปัจจุบันเรามีตัวอักษรที่สร้างขึ้นเป็นแบบมาตรฐาน เรียกว่าตัวเรียงซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือตัวเรียงแบบร้อน
เกิดจากการหล่อด้วยโลหะเช่นตะกั่ว ทองแดง ฯลฯ และตัวเรียงแบบเย็น เกิดจากการสร้างตัวอักษรโดยใช้ระบบการอัดภาพบนแผ่นกระดาษ
ตัวเรียงแบบเย็นนี้ จะต้องนำไปผ่านกระบวนการอื่นอีขั้นหนึ่งก่อนจึงจะเป็นแม่พิมพ์ได้ (ถ่ายฟิล์ม อัดเพลท)
เพื่อให้นักศึกษารู้จักความเป็นมาของตัวเรียง จึงขอกล่าวโดยสรุปดังต่อไปนี้


ใน ปี ค.ศ.๘๖๘ วางเซียะ ได้พิมพ์หนังสือชื่อวัชรสูตร จากแม่พิมพ์ไม้โดยมีทั้งภาพและตัวอักษรภาษาจีน ใน
ขณะนั้นใช้วิธีการแกะไม้เป็นแม่พิมพ์ พิมพ์ที่ละหน้าซึ่งต้องใช้เวลานาน แตมีความประณีต สวยงาม และดูมีคุณค่า


ค.ศ. ๑๐๔๑ ไป เช็ง (ชาวจีน) ได้ทดลองประดิษฐ์ตัวพิมพ์เป็นตัวๆขึ้นเป็นครั้งแรกโดยใช้ดินเหนียวตากแดดและ
เผาไฟเรียกว่าตัวเรียง ( ) แต่ไม่ได้รับความนิยมเพราะแตกหักง่ายและมีข้อจำกัดทางภาษาคือ
ภาษาจีนมีลักษณะเป็นคำๆ ต้องนำมาเรียงต่อกันจึงจะเป็นประโยคซึ่งต้องใช้คำมาก
ต่างกับภาษาไทย ภาษาอังกฤษ มีพยัญชนะ สระ เพียงไม่กี่ตัวก็นำมาผสมเป็นคำ เป็ฯประโยคได้

ปีค.ศ. ๑๒๔๑ ช่าง ชาวเกาหลีสามารถหล่อตัวเรียงขึ้นใช้ในการพิมพ์ได้ โดยการหล่อด้วยโลหะ
ทั้งนี้เพราะได้รับการสนับสนุนจากกษัตริย์ไทจง ( ) จนสามารถหล่อได้ถึง ๑๐ แบบและได้เผยแพร่สู่ญี่ปุ่นในเวลาต่อมา

 

   

   

   

   

   

   

 

สร้างโดย: 
นางสาวเกวลิน ทวีสุข,นางสาวชนัญญา ศรีสุริยพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 388 คน กำลังออนไลน์