คณิตศาสตร์มหัศจรรย์(แผนจัดการเรียนรู้ที่1)
ในการศึกษาตรีโกณมิติอาศัยความรู้เรื่องของสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งจะนำมาใช้ประโยชน์ในการหาความยาวด้านทั้งสามด้านของรูปสามเหลี่ยมที่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากโดยใช้หลักการว่า “อัตราส่วนของความยามของด้านที่อยู่ตรงข้ามมุมที่เท่ากันจะเท่ากัน”
- อธิบายความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับตรีโกณมิติ
- เขียนแสดงเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมคล้ายกับตรีโกณมิติ
- มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับตรีโกณมิติและนำหลักการไปเชื่อมโยงใช้ในชีวิตประจำวันได้
- มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายโดยให้นักเรียนอธิบายสมบัติของสามเหลี่ยมคล้าย จากนั้นให้นักเรียนพิจารนารูปสองรูป ดังนี้
พิจารณารูปสามเหลี่ยมต่อไปนี้
ตรีโกณมิติมาจากภาษาอังกฤษว่า trigonometry หมายถึง “วัดรูปสามเหลี่ยม” โดยที่ “tri” หมายถึง three ซึ่งแปลว่า สาม “gon” หมายถึง “angle” ซึ่งแปลว่า มุม และ “metry” หมายถึง measure ซึ่งแปลว่า วัด
∆ ABC คล้ายกับ ∆DEFเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ∆ABC = ∆DEF
เมื่อ ∆ABC = ∆DEF จะได้