• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:adae0a1afd175a4a416b7239481e263f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n ประโยค 比 จะใช้ในประโยคเปรียบเทียบ<br />\nรูปแบบแระโยค比 ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คือ \n</p>\n<p>\nประธาน(คนหรือสิ่งของที่ถูกเปรียบเทียบ) + 比 + คนหรือสิ่งเปรียบเทียบ + ผลของการเปรียบเทียบ + (ข้อแตกต่างที่เห็นเป็นรูปธรรม)  เช่น<br />\n         \n</p>\n<p>\n         牛肉比猪肉便宜。<br />\n         今天比昨天冷。<br />\n         他说汉语说得比我流利。\n</p>\n<p>\n<u>คำอุทาน</u><br />\nนิยามของคำอุทาน คือ คำที่พูดออกมาเพื่อแสดงความรู้สึก หรือ ขานรับ เช่น   喂,啊,哎呀,噢\n</p>\n<p>\n<u>ลักษณะทางไวยากรณ์ของคำอุทาน<br />\n</u>1. ไม่มีความหมายที่แท้จริงเพียงแต่แสดงอารมณ์<br />\n2. มีความโดดเด่น ไร้ความสำคัญทางโครงสร้างกับส่วนประกอยอื่นๆในประโยค<br />\n3. โดยทั่วไปคำอุทานจะอยู่หน้าประโยค\n</p>\n<p>\n<u>การใช้คำอุทาน</u><br />\n1. ไม่มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของประโยค<br />\nเป็นอิสระอยู่ต่างหากนอกประโยคแสดงการขานรับ หรือ ชื่นชม เช่น 喂!你是张明吗?\n</p>\n<p>\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/41101\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/1_naa_lak.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/43955\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/kum_seam_1_2.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41102\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/2_kum_suam_krong_sang.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41103\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/3_kum_suam_aa_kan.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41104\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/4_kum_suam_aa_kan2.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41105\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/5_kum_suam_nam_seang.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41106\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/6_kum_suam_nam_seang2.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41107\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/7_kum_suam_nam_seang3.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/8_kan_chai_pe_ba.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41109\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/9_kan_chai_pe_ba2.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41110\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/10_kan_chai_pe_ba3.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41112\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/12_kum_au_tan.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41113\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/13_kum_lian_seang.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41119\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/kum_pong_jeen.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41120\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/kum_pong_jeen2.jpg\" height=\"60\" width=\"100\" /></a> \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18649/kan_3.gif\" height=\"25\" width=\"640\" />\n</p>\n<p>\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/41114\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/14_bab_fukhat_tuptuan_k_ru_rueng_ba.jpg\" height=\"110\" width=\"90\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41115\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/5_cha_leanh_bab_fukhat_tuptuan_k_ru_rueng_ba.jpg\" height=\"110\" width=\"90\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41116\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/16_bab_fukhat_tuptuan_k_ru_rueng_kum_suam.jpg\" height=\"110\" width=\"90\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41117\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/17_bab_fukhat_tuptuan_k_ru_rueng_kum_suam2.jpg\" height=\"110\" width=\"90\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/41118\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18649/nh_bab_fukhat_tuptuan_k_ru_rueng_kum_suam1_2.jpg\" height=\"110\" width=\"90\" /></a>\n</p>\n', created = 1715770626, expire = 1715857026, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:adae0a1afd175a4a416b7239481e263f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไวยากรณ์จีน11 เรื่องการใช้ประโยค比&คำอุทาน

รูปภาพของ chen gui zhu

 ประโยค 比 จะใช้ในประโยคเปรียบเทียบ
รูปแบบแระโยค比 ที่ใช้ในการเปรียบเทียบ คือ 

ประธาน(คนหรือสิ่งของที่ถูกเปรียบเทียบ) + 比 + คนหรือสิ่งเปรียบเทียบ + ผลของการเปรียบเทียบ + (ข้อแตกต่างที่เห็นเป็นรูปธรรม)  เช่น
         

         牛肉比猪肉便宜。
         今天比昨天冷。
         他说汉语说得比我流利。

คำอุทาน
นิยามของคำอุทาน คือ คำที่พูดออกมาเพื่อแสดงความรู้สึก หรือ ขานรับ เช่น   喂,啊,哎呀,噢

ลักษณะทางไวยากรณ์ของคำอุทาน
1. ไม่มีความหมายที่แท้จริงเพียงแต่แสดงอารมณ์
2. มีความโดดเด่น ไร้ความสำคัญทางโครงสร้างกับส่วนประกอยอื่นๆในประโยค
3. โดยทั่วไปคำอุทานจะอยู่หน้าประโยค

การใช้คำอุทาน
1. ไม่มีหน้าที่เป็นส่วนประกอบของประโยค
เป็นอิสระอยู่ต่างหากนอกประโยคแสดงการขานรับ หรือ ชื่นชม เช่น 喂!你是张明吗?

 

สร้างโดย: 
น.ส.กันตินันท์ เถกิงมหาโชค

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 339 คน กำลังออนไลน์