ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

 

เว็บเกี่ยวกัีบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 

รูปภาพของ pncSurasilp

 ใบงานที่4

1.แผ่น CD จุข้อมูลได้700เมกะไบต์

2.ดีวีดี จุข้อมูลได้8.5กิกะไบต์

3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น สัญณาญ
ความถี่ประมาณ 
2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 100
เมตร

4. Lan คือ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน
เครือข่าย 
LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน
ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น

5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่
เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล
ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย
ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด
อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ
เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ อุปกรณ์อื่นๆ
จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน 
One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน

ที่มา:: http://blog.cstc.ac.th/node/74

 

 

รูปภาพของ pncSurasilp

1.คอมพิวเตอร์ คือ

คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์
ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล
ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป  นอกจากนี้
ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น
การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้
 

 

2.  หน่วยรับเข้า คือ

หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ ที่นำข้อมูล หรือโปรแกรม
เข้าไปเก็บไว้ใน หน่วยความจำ
 และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูล มีหลายประเภท เช่นกล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล (Digital
Video) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล
และส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์

 

3.หน่วยประมวลผลกลาง คือ

 การทำงานของคอมพิวเตอร์
ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปล
ความหมาย และกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง หน้าที่หลักของซีพียู
คือควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ตลอดจนทำการประมวลผล
 
            กลไกการทำงานของซีพียู มีความสลับซับซ้อน
ผู้พัฒนาซีพียูได้สร้างกลไกให้ทำงานได้ดีขึ้น โดยแบ่งการทำงาน เป็นส่วน ๆ
มีการทำงานแบบขนาน และทำงานเหลื่อมกันเพื่อให้ทำงานได้เร็วขึ้น
 
เช่น หน่วยความจำหลัก
คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้เมื่อมีข้อมูล
และชุดคำสั่งที่ใช้ในการประมวลผลอยู่ในหน่วยความ จำหลักเรียบร้อยแล้วเท่านั้น
และหลักจากทำการประมวลผลข้อมูลตามชุดคำสั่งเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้
จะถูกนำไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำหลัก และก่อนจะถูกนำออกไปแสดงที่อุปกรณ์แสดงผล

 

4.หน่วยส่งออก คือ

 หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ
อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์
    ที่นิยมทั่วไปคือจอภาพ(monitor)
 และเครื่องพิมพ์
(
printer) อุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์
ยังมีอีกมาก
 เช่นจอภาพ   มีลักษณะเป็น จอภาพเหมือนจอโทรทัศน์
ทั่วไปเรียกว่า ซีอาร์ที
  การส่งออก ของข้อมูล    จะปรากฏบนจอภาพ
ซึ่งแสดงได้
 ทั้งตัวอักษร ตัวเลข
เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถ แสดงรูปภาพได้ด้วย

 

5.  หน่วยความจำหลัก คือ

หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง
และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล
และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า
เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย
หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก
และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
 แบ่งได้ ประเภท

 

6.  หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ

นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์
ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้โปรเซสเซอร์ก็จะทำงานไม่ได้เลย
เนื่องจากหน่วยความจำแรมเป็นเสมือนกระดาษทด
ที่เก็บข้อมูลทุกอย่างที่โปรเซสเซอร์ใช้ในขณะกำลังทำงานอยู่
เพราะอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลอื่น เช่น ดิสก์ไดรฟ์
จะมีความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลช้ามาก
ขณะที่ซีพียูทำงานจึงต้องทำงานกับหน่วยความจำแรมที่มีความเร็วสูงเสมอ

มีDRAM (Dynamic RAM)เป็นหน่วยความจำที่มีการใช้งานกันมากที่สุดในปัจจุบัน
จะมีวงจรคล้ายตัวเก็บประจุเพื่อจัดเก็บแต่ละบิตของข้อมูล
ทำให้ต้องมีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปก่อนที่จะสูญหาย เรียกว่า
 การรีเฟรช
(
Refresh) หน่วยความจำจะมีข้อดีที่ราคาต่ำ
ข้อเสียคือมีความเร็วไม่สูงนักเนื่องจากต้องมีการรีเฟรชข้อมูลอยู่ตลอดเวลา
ซึ่งได้มีการนำเทคนิคต่าง ๆ มาลดเวลาในการเข้าถึงข้อมูล ทำให้เกิด 
DRAM ชนิดย่อย ๆ เช่น FPM (Fast Page Mode) RAM,EDO (Extended Data
Output) RAM,SDRAM (Synchronous DRAM) เป็นต้น หน่วยความจำ DRAM
จะมีความเร็วอยู่ระหว่าง

 SRAM (Static RAM)เป็นหน่วยความจำที่มีความเร็วสูง
พลังงานที่ 
SRAM
ใช้จะน้อยมาก โดยสามารถใช้พลังงานถ่านนาฬิกาในการทำงานได้ถึงหนึ่งปี
ข้อเสียคือราคาสูง นิยมใช้ 
SRAM เป็นหน่วยความจำแคช เพื่อเสริมความเร็วให้กับหน่วยความจำ DRAM ในระบบคอมพิวเตอร์ความเร็วสูงเนื่องจากหน่วยความจำจะมีความเร็วต่ำกว่า
10 nanosesond

 7.หน่วยความจำแคช คือ

หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล
หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน 
CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM
(STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

 8.หน่วยความจำสำรอง คือ

มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง
สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้
ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

 9.ฮาร์ดดิสก์ คือ

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (
motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) ,
แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบีสายไฟร์ไวร์ของบริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า
รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (
eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง

 10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ

เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู
เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช
หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ
มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ

ที่มาhttp://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp

รูปภาพของ pncSurasilp

ใบงานที่2

1. ฮาร์ดแวร์ คือตอบ. อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

2. ซอฟต์แวร์  คือ

 aตอบ.การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้นการดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งของซอฟต์แวร์มี2ประเภท คือ1.ซอฟต์แวร์ระบบซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการทางด้านอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ การแสดงผลบนจอภาพ การนำข้อมูลออกไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ การดูแล การจัดเก็บข้อมูลเป็นแฟ้ม การเรียกค้นข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบจึงหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ดูแลจัดการอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบ ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือ ระบบปฏิบัติการ (operating system) เช่น เอ็มเอสดอส ยูนิกซ์ โอเอสทู วินโดวส์ เป็นต้น                  2.  ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จำเป็นต้องทำงานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น  

 

 3. บุคลากร คือ มีกี่ประเภท 

 

ตอบ.บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4ประเภท ดังนี้1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

4. spss  

คือ ตอบ. เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา ตั้งแต่สมัยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคลยังไม่มี ดังนั้นลักษณะการทำงานในรุ่นแรกๆจะยืนอยู่บนรากฐานของการทำงานแบบดั้งเดิม กล่าวคือ ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งลงในบัตรเจาะรูแล้วส่งให้ผู้คุมเครื่องเป็นคนจัดการทำงานต่อ แต่เมื่อมีกาพัํฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ขึ้น SPSS ก็ได้พัฒนาโปรแกรมสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โดยออก
SPSS รุ่น pc ที่เรียกว่า SPSS/PC+ และเนื่องจากไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ นิยมใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS ซึ่งยังมีลักษณะการทำงานคล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe) เพียงแต่ในส่วนคำสั่ง spss ที่เขียนเสร็จแทนที่จะใช้บัตร
เจาะรูแล้วส่งให้ผู้คุมเครื่องเป็นคนสั่งงานต่อ ผู้ใช้จำเป็นจะต้องพิมพ์ข้อมูลลงในแผ่น

5.รหัสแอสกี

คือ 
ตอบ.รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง

 

 

6. รหัสเอ็บซีดิ

คือ
ตอบ.รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) เป็นคำย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal Interchange Code พัฒนาและใช้งานโดยบริษัทไอบีเอ็ม เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็มยังคงใช้รหัสนี้

 7. รหัสยูนิโค้ด 

 คือ
 ตอบ.เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย  8.อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือตอบ.อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ

 9. ระบบเลขฐานสอง

คือ  ตอบ.ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสองหลัก ( และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่ระบบไฟฟ้ามีเพียง สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆมีเพียงสถานะเดียวเท่านั้น แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT)  

 

10.ระบบเลขฐานแปด คือตอบ.เลขฐานแปด มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน หลัก แทนด้วยเลข
ฐานแปด หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง บิท แทนด้วยเลขฐานแปด บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง 

 

11.ระบบเลขฐานสิบหก

คือตอบ.  

เลขฐานสิบหก มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน หลัก แทนด้วย
เลขฐานสิบหก หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง
    

ที่มา; http://www.dovepvc.moe.go.th/e_book/maths/page02.html

รูปภาพของ pncSurasilp

ใบงานที่1

 

1.ระบบสารสนเทศ คือ ตอบ.กระบวนการรวบรวม บันทึกประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุมการทางาน และช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ

 

2.ข้อมูล คือ ตอบ.ข้อเท็จจริงที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีทั้งที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ และเสียงสารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล เพื่อนาไปใช้ในการตัดสินใจ เช่น เกรดเฉลี่ยของนักเรียน ยอดขายประจาเดือน และสถิติการขาดงาน 

 

3.สารสนเทศ คือ ตอบ.คุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยำหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน

 

4.เทคโนโลยี คือ ตอบ. การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

 

5.เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ตอบ.เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยน และเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียง ตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้ที่มา

:http://siriwadee.blogspot.com/2008/05/blog-post_27.html

ยวด

รูปภาพของ pnckotchaya

ใบงานที่ 5
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง
จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก
ในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น การควบคุมสาขาของบริษัททั่วโลก
หรือใช้สำหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมากและต้องการความเร็วสูง
เช่น การวิจัยทางด้านนิวเคลียร์ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยบรรยากาศของโลก
การวิจัยทางด้านอวกาศ เป็นต้น

2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน
เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม
หรือใช้สำหรับคำนวนผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เช่น สำมะโนประชากร เป็นต้นคะ
ตัวเครื่องจะมีลักษณะค่อนข้างใหญ่ มีราคาสูง
และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี

3.มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง
มินิคอมพิวเตอร์ (
minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม
ๆ กันได้ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (
mainframe) แต่มีราคาย่อมเยากว่าคะ
มินิคอมพิวเตอร์มีระดับความสามารถอยู่ระหว่างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และคอมพิวเตอร์ขนาดส่วนบุคคล
(
micro computer) โดยสามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทำงานที่แตกต่างกัน
สามารถใช้งานในลักษณะผู้ใช้คนเดียวได้โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับระบบใด ๆ ทำให้เกิดความยืดหยุ่นต่อการใช้งานบางอย่าง
และไม่ต้องใช้บุคลากรมากนัก แต่ว่ามินิคอมพิวเตอร์
จะมีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม
ทำงานได้ช้ากว่าและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า

4.ไมโครคอมพิวเตอร์
หมายถึงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล
หรืดเรียกว่า พีซี (
Personal computer: PC) สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย
หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง (
terminal) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นบนเครือข่าย

5.คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึงการนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม
ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์
อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
(
desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ"
อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ
PageMaker
และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้
จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน

6.คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก
หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา
หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ
1.5 - 3 กิโลกรัม
จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี
โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือนกับแล็ปท็อปนะคะ
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กกำลังได้รับความนิยมมาก
เนื่องจากราคาที่ถูกลงกว่าในอดีต

7.คอมพิวเตอร์แบบมือถือ
หมายถึงพัฒนาการคอมพิวเตอร์ทำให้ขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์สูงขึ้น
ขณะเดียวกันก็มีขนาดเล็กลง จากคอมพิวเตอร์ที่เคยมีขนาดเท่าโต๊ะ
ก็สามารถตั้งอยู่บนโต๊ะ จนสามารถวางบนตัก และเล็กลงอีกเหลือขนาดเท่าโน้ตบุค
ลดขนากจากโน้ตบุคมาเป็นสับโน้ตบุค (ครึ่งหนึ่งของกระดาษ
A4) และในที่สุดก็อยู่ในอุ้งมือ (palm top)
คอมพิวเตอร์มือถือมีมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยที่บริษัท
แอบเปิ้ลคอมพิวเตอร์ เสนอคอมพิวเตอร์มือถือชื่อ นิวตัน
เมื่อประมาณเจ็ดแปดปีที่แล้ว คอมพิวเตอร์นิวตันไม่ประสบความสำเร็จในการขาย
แต่ก็จุดประกายให้เห็นว่า
แนวโน้มคอมพิวเตอร์จะมีขนาดเล็กลงเหลือเพียงอยู่ในอุ้งมือได้

ที่มา:: http://www.ku.ac.th/magazine_online/plam.htm

รูปภาพของ pnckotchaya

 ใบงานที่4

1.แผ่น CD จุข้อมูลได้700เมกะไบต์

2.ดีวีดี จุข้อมูลได้8.5กิกะไบต์

3.คลื่นบลูทูธ
เป็นคลื่น สัญณาญ
ความถี่ประมาณ
 2.4 กิกะเฮิร์ตช์
มีระยะรับส่งประมาณ
 100
เมตร

4. Lan คือ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน
เครือข่าย
 LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน
ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น

5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่
เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล
ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย
ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด
อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ
เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ อุปกรณ์อื่นๆ
จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน
 One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน

รูปภาพของ pncsiriwan

ใบงานที่ 5
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก



2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน



3.มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่

4.ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรืดเรียกว่า พีซี

5.คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึงการนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ

6.คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก


7.คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึงพัฒนาการคอมพิวเตอร์ทำให้ขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็มีขนาดเล็กลง จากคอมพิวเตอร์ที่เคยมีขนาดเท่าโต๊ะ ก็สามารถตั้งอยู่บนโต๊ะ จนสามารถวางบนตัก และเล็กลงอีกเหลือขนาดเท่าโน้ตบุค


ที่มา:: http://www.ku.ac.th/magazine_online/plam.htm


รูปภาพของ pncsiriwan

 ใบงานที่ 4

1.แผ่น CD จุข้อมูลได้700เมกะไบต์


2.ดีวีดี จุข้อมูลได้8.5กิกะไบต์
3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น สัญณาญ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 100 เมตร
4. Lan คือ เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก
5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้ว
 ที่มา:: http://blog.cstc.ac.th/node/74

 

รูปภาพของ pncsiriwan

ใบงานที่3

  1.คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป   


2.  หน่วยรับเข้า คือ หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ ที่นำข้อมูล หรือโปรแกรม เข้าไปเก็บไว้ใน หน่วยความจำ และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูล มีหลายประเภท 
3.หน่วยประมวลผลกลาง คือ  การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปล ความหมาย และกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง

4.หน่วยส่งออก คือ  หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์    ที่นิยมทั่วไปคือจอภาพ(monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมาก
5.  หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย  แบ่งได้ 2 ประเภท  
6.  หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์
7.หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE 
8.หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
9.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด
10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ    
ที่มา; http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp
รูปภาพของ pncnamtip

1.ฮาร์ดแวร์  คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์2. ซอฟต์แวร์  คือ  .หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึง ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ ซอฟต์แวร์นั้น นอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ หุ่นยนต์ในโรงงาน หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ3. บุคลากร คือ ทรัพยากรบุคคล คือ สิ่งที่สำคัญที่สุดขององค์กร ผู้จัดการฝ่ายบุคคล ซึ่งอยู่ในฐานะของผู้บริหารงานด้านทรัพยากรบุคคลต้องเป็นผู้ให้คำปรึกษาทั้ง ด้านหน้าที่การงาน และด้านธุรกิจกับพนักงานในองค์กร ชักจูง
ใจให้พนักงานร่วมเป็นหุ้นส่วน และร่วมมือกับองค์กรในการดำเนินงานให้บรรลุนโยบาย และเป้าหมายขององค์กรห้ความรู้แก่พนักงานเกี่ยวกับงานขององค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงาน รวมทั้ง ค่าตอบแทนการทำานและผลประโยชน์อื่นๆ ที่จะได้รับพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน โดยใช้กระบวนการบริหารงานบุคคลซึ่งมีหน้าที่หลักดังต่อไปนี้4. spss  คือ SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป แต่การนำ spss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก
ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื็นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS มานำเสนอ
ในปัจจุบันมีผู้ใช้โปรแกรม MicroSoft WINDOWS เพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกันโปรแกรม
ที่เคยพัฒนาบนระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ ก็หันมาผลิต ซอฟต์แวร์ของตนให้ใช้กับ WINDOWS ได้
บริษัท SPSS Inc. ก็เป็นอีกบริษัทหนึ่งที่ผลิต SPSS FOR WINDOWS ที่สามารถนำเอาจุดเด่นของ
WINDOWS
มาใช้ร่วมกับ SPSS ได้อย่างมีประสิทธิภาพนขณะที่ยังสามารถรักษาแนวทางการใช้ spss ตามรูปแบบเดิมได้อีกด้วย 5.รหัสแอสกี คือ รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง6. รัหสเอบซีดิก คือ เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว
UniCode จะเป็นระบบรหัสที่เป็น 16 บิต จึงแทนตัวอักษรได้มากถึง 65,536 ตัว ซึ่ง
เพียงพอสำหรับตัวอักษรและสัญลักษณ์กราฟฟิกโดยทั่วไป รวมทั้งสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบ UniCode มีใช้ในระบบปฏิบัติการ Window NT ระบบปฏิบัติการ UNIX
บางรุ่น รวมทั้งมีการสนับสนุนชนิดข้อมูลแบบ UniCode ในภาษา JAVA ด้วย
7. รหัสยูนิโค้ด  คือ

เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย  
   

8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย

เลขฐาน หมายถึงกลุ่มข้อมูลที่มีจำนวนหลัก (Digit) ตามชื่อของฐาน
นั้นๆเช่น เลขฐานสอง ฐานแปด และฐานสิบ ประกอบด้วยข้อมูลตัวเลขจำนวนสองหลัก (0-1) แปดหลัก (0-7) และสิบหลัก (0-9) ตามลำดับ ดังรูปในตารางที่ 1
ในระบบคอมพิวเตอร์มีการใช้ระบบเลขฐาน 4 แบบ ประกอบด้วย
     1).เลขฐานสอง (Binary Number)
     2).เลขฐานแปด (Octal Number)
     3).เลขฐานสิบ (Decimal Number)
     4).เลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number)
 
10. ระบบเลขฐานแปด  อธิบาย ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
 11.ระบบเลขฐานสิบหก  อธิบาย เลขฐานสิบหกประกอบไปด้วยตัวเลขจำนวน 16 ตัว คือ (0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 และตัวอักษรภาษาอังกฏษอีก 6 ตัว A,B,C,D,E,F) เป็นระบบตัวเลขที่สร้างขึ้นมาเพื่อระบบคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ

  

รูปภาพของ pncsiriwan

 ใบงานที่2

1. ฮาร์ดแวร์ คือตอบ. อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล  หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง  โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน


2. ซอฟต์แวร์  คือ
 
aตอบ.การใช้งานระบบสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงาน เช่น การซื้อของโดยใช้บัตรเครดิต ผู้ขายจะตรวจสอบบัตรเครดิตโดยใช้เครื่องอ่านบัตร แล้วส่งข้อมูลของบัตรเครดิตไปยังศูนย์ข้อมูลของบริษัทผู้ออกบัตร การตรวจสอบจะกระทำกับฐานข้อมูลกลาง โดยมีกลไกหรือเงื่อนไขของการตรวจสอบ จากนั้นจึงให้คำตอบว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธบัตรเครดิตใบนั้นการดำเนินการเหล่านี้เป็นไปโดยอัตโนมัติตามคำสั่งของซอฟต์แวร์มี2ประเภท คือ

1.ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการจัดการระบบคอมพิวเตอร์ จัดการทางด้านอุปกรณ์รับเข้าและส่งออก การรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้นเพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใด ๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์จำเป็นต้องทำงานภายใต้สิ่งแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย 


3. บุคลากร คือ มีกี่ประเภท 
ตอบ.บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ประเภท ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ


4. spss  คือ ตอบ. เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา ตั้งแต่สมัยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคลยังไม่มี ดังนั้นลักษณะการทำงานในรุ่นแรกๆจะยืนอยู่บนรากฐานของการทำงานแบบดั้งเดิม

5.รหัสแอสกี คือ 
ตอบ.รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง


6. รหัสเอ็บซีดิก คือ
ตอบ.รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) เป็นคำย่อมาจาก Extended Binary Coded Decimal Interchange Code พัฒนาและใช้งานโดยบริษัทไอบีเอ็ม เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมของไอบีเอ็มยังคงใช้รหัสนี้


7. รหัสยูนิโค้ด  คือ
 ตอบ.เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษา


8.อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือตอบ.อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ
9. ระบบเลขฐานสอง คือ  ตอบ.ตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก
10. ระบบเลขฐานแปด คือตอบ.เลขฐานแปด มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน 3 หลัก แทนด้วยเลข
ฐานแปด 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง 

11.ระบบเลขฐานสิบหก คือตอบ.  เลขฐานสิบหก มีความสัมพันธ์กับเลขฐานสอง คือ เลขฐานสองจำนวน 4 หลัก แทนด้วย
เลขฐานสิบหก 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง
    
ที่มา; http://www.dovepvc.moe.go.th/e_book/maths/page02.html

 
รูปภาพของ pncsiriwan

 ใบงานที่1

1.ระบบสารสนเทศ คือ ตอบ.กระบวนการรวบรวม บันทึกประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุมการทางาน และช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ


2.ข้อมูล คือ ตอบ.ข้อเท็จจริงที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีทั้งที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ และเสียงสารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล เพื่อนาไปใช้ในการตัดสินใจ เช่น เกรดเฉลี่ยของนักเรียน ยอดขายประจาเดือน และสถิติการขาดงาน 
3.สารสนเทศ คือ ตอบ.คุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น
4.เทคโนโลยี คือ ตอบ. การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ 
5.เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ ตอบ.เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน
ที่มา : http://siriwadee.blogspot.com/2008/05/blog-post_27.html
รูปภาพของ pncnattavadee

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง

ตอบ.เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง


2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง

ตอบ.เป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไปมีน่าที่ควบคุมติดต่อระหว่างน่าจอของผู้ใช้


3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง

ตอบ.มินิคอมจะทำงานได้ช้ากว่าการควบคุมผ้ใช้งานต่างๆ


4. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง

ตอบ.เป็นคอมขนาดเล็กหรือเรียกว่าพีฃี5


5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง

ตอบ.เป็นคอมที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ


6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง

ตอบ.เป็นคอมที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ถูกออกแบบเพื่อให้นำไปติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ


7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง

ตอบ.เป็นโปแกรมsanookQQเวอร์ชันสำหรับใช้กับดทรสับมือถือเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสาร


รูปภาพของ pnckruuciap

good

รูปภาพของ pncnattavadee


1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้....เมกะไบต์

ตอบ.จุข้อมูลได้ 700 เมกะไบต์



2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ .......กิกะไบต์

ตอบ.8.5 กิกะไบต์


3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น......ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ ..... เมตร

ตอบ.2.4 กิกะเฮิร์ด มีระยะส่งประมาณ5-10 เมตร


4. Lan  คือ

ตอบ.เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ไกล้ๆกัน


5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ ...

ตอบทำหน้าที่เมื่อใดที่มีคอมภายในเครือข่ายต้องการส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆภายในเครือข่าย


รูปภาพของ pnckanwara

ใบงานที่ 5
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น การควบคุมสาขาของบริษัททั่วโลก หรือใช้สำหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมากและต้องการความเร็วสูง เช่น การวิจัยทางด้านนิวเคลียร์ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยบรรยากาศของโลก การวิจัยทางด้านอวกาศ เป็นต้น
2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม หรือใช้สำหรับคำนวนผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เช่น สำมะโนประชากร เป็นต้นคะ ตัวเครื่องจะมีลักษณะค่อนข้างใหญ่ มีราคาสูง และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี
3.มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้ เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) แต่มีราคาย่อมเยากว่าคะ มินิคอมพิวเตอร์มีระดับความสามารถอยู่ระหว่างคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่และคอมพิวเตอร์ขนาดส่วนบุคคล (micro computer) โดยสามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้ได้หลายคนในการทำงานที่แตกต่างกัน สามารถใช้งานในลักษณะผู้ใช้คนเดียวได้โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับระบบใด ๆ ทำให้เกิดความยืดหยุ่นต่อการใช้งานบางอย่าง และไม่ต้องใช้บุคลากรมากนัก แต่ว่ามินิคอมพิวเตอร์ จะมีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม ทำงานได้ช้ากว่าและควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า
4.ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึงเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรืดเรียกว่า พีซี (Personal computer: PC) สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์ โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นบนเครือข่าย
5.คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึงการนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
6.คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ 1.5 - 3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือนกับแล็ปท็อปนะคะ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กกำลังได้รับความนิยมมาก เนื่องจากราคาที่ถูกลงกว่าในอดีต
7.คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึงพัฒนาการคอมพิวเตอร์ทำให้ขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็มีขนาดเล็กลง จากคอมพิวเตอร์ที่เคยมีขนาดเท่าโต๊ะ ก็สามารถตั้งอยู่บนโต๊ะ จนสามารถวางบนตัก และเล็กลงอีกเหลือขนาดเท่าโน้ตบุค ลดขนากจากโน้ตบุคมาเป็นสับโน้ตบุค (ครึ่งหนึ่งของกระดาษ A4) และในที่สุดก็อยู่ในอุ้งมือ (palm top)
คอมพิวเตอร์มือถือมีมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยที่บริษัท แอบเปิ้ลคอมพิวเตอร์ เสนอคอมพิวเตอร์มือถือชื่อ นิวตัน เมื่อประมาณเจ็ดแปดปีที่แล้ว คอมพิวเตอร์นิวตันไม่ประสบความสำเร็จในการขาย แต่ก็จุดประกายให้เห็นว่า แนวโน้มคอมพิวเตอร์จะมีขนาดเล็กลงเหลือเพียงอยู่ในอุ้งมือได้

อ้างอิง :: http://www.ku.ac.th/magazine_online/plam.htm

รูปภาพของ pnckruuciap

good


ใบงานที่  5
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่ มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน
มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที ( 1 Trillion
calculations per second ) ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100
ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยกิกะฟลอบ
ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%...
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลาย
ชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม  หรือใช้สำหรับคำนวนผลข้อมูลจำนวนมาก
ๆ เช่น สำมะโนประชากร  เป็นต้นคะ  ตัวเครื่องจะมีลักษณะค่อนข้างใหญ่
มีราคาสูง และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี
ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee 3.
มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง  เป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้พร้อม ๆ กันหลายคน จึงมีเครื่องปลายทางที่เชื่อมต่อกัน  มินิคอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่า Workstation นำมาใช้สำหรับประมวลผลใน งานสารสนเทศขององค์กรขนาดกลางจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือ
ข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันเช่นงานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม  ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ในกลุ่มนี้เปลี่ยน รูปแบบเป็นสถานีบริการบนเครือข่ายในรูปแบบเซิร์ฟเวอร์
(Server)
ที่มา: http://www.lms.moe.go.th/thailocaladmin/elearning/com04/com04001/HTML/co... 4.
ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล
หรืดเรียกว่า พีซี (Personal computer: PC)
สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง
(terminal) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นบนเครือข่าย
จะกล่าวได้ว่าไมโคร คอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์ใช้งาน
ง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้
ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=312e9382dc061583 5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย ๆ
ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว
(portable) ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก
(laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook)
ที่มา: http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8...
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง ป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต
เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ 1.5 - 3 กิโลกรัม
จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือนกับแล็ปท็อปนะคะ
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กกำลังได้รับความนิยมมาก เนื่องจากราคาที่ถูกลงกว่าในอดีต
ที่มา
: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12
7.
คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คขนาดพอดีมือ
ที่มีฟังชั่นพิเศษ ยัดซิมการ์ดเข้าไปในเครื่องได้
ทำให้มันเป็นคอมที่โทรศัพท์ได้
ที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0f94a58ffb3e8811&hl=th&table=%2...

ใบงานที่  4
1.แผ่น
CD  จุข้อมูลได้....เมกะไบต์ 700 MB
2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ .......กิกะไบต์  50
,000GB กิกะไบต์
3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น......ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ ..... เมตร  
·         คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่นสัญญาณวิทยุความถี่สูง
ความถี่ประมาณ 2.4
กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ
Class
1 กำลังส่ง
100 มิลลิวัตต์
ระยะประมาณ 100 เมตร
·         Class 2 กำลังส่ง
2.5 มิลลิวัตต์
ระยะประมาณ 10 เมตร
·         Class 3 กำลังส่ง
1 มิลลิวัตต์
ระยะประมาณ 1 เมตร

Lan  คือ เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้
ๆ กัน เครือข่าย
LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร
สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น การเชื่อมโยงเครือข่าย
5. ฮับ (
Hub) ทำหน้าที่ ...ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย
ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด
อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ
อุปกรณ์อื่นๆ จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน
One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน
http://www.google.co.th/search?hl=th&source=hp&biw=&bih=&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87DVD&btnG=%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2+Google

รูปภาพของ pnckruuciap

good

รูปภาพของ pnckanwara

ใบงานที่ 4
1.แผ่น CD จุข้อมูลได้700เมกะไบต์
2.ดีวีดี จุข้อมูลได้8.5กิกะไบต์
3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น สัญณาญ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 100 เมตร
4. Lan คือ เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ อุปกรณ์อื่นๆ จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน
อ้างอิง :: http://blog.cstc.ac.th/node/74

ใบงานที่ 31. คอมพิวเตอร์ คือ .....   คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"

2. หน่วยรับเข้า คือ ....  เช่น   หน่วยรับเข้า
    หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น แป้นพิมพ์ , เมาส์ ,แทร็กบอล , ก้านควบคุม เครื่องตรวจกราด , จอสัมผัส     
 3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ ..... เช่น  หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง
4.หน่วยส่งออก คือหมายถึง องค์ประกอบส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ เราถือว่า คอมพิวเตอร์นั้นมีองค์ประกอบด้วยกัน 3 ส่วน คือ หน่วยรับข้อมูล (input unit) หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) และหน่วยแสดงผล (output unit) ซึ่งมีอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น จอภาพ, พล็อตเตอร์, เครื่องพิมพ์ ฯลฯ ดู input unit เปรียบเทียบ5.หน่วยความจำหลัก คือหน่วยความจำหลัก มีหน้าที่สำหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลของหน่วยประมวลผล    หน่วยความจำหลักที่นิยมใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งอออกได้เป็น 2 ประเภทแรม (Random Access Memory : RAM) หน่วยความจำแบบนี้จะเก็บข้อมูล เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงในวงจรถ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าข้อมูลจะหายไป ถ้าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำมากจะสามารถทำงานได้เร็วขึ้น เพราะมีเนื้อที่สำหรับเก็บคำสั่งของโปรแกรมต่าง ๆ  ไม่ต้องเรียกคำสั่งที่ใช้มาจากหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ซึ่งจะทำให้การทำงานช้าลงอย่างมาก หน่วยความจำ RAM ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ  DRAM ( Dynamic RAM)  เป็นหน่วยความจำที่มีการใช้งานกันมากที่สุด หน่วยความจำ DRAM จะมีข้อดีที่ราคาต่ำ แต่ข้อเสียคือมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลไม่สูง แต่ก็มีการพัฒนาเทคนิคในการเข้าถึงข้อมูลทำให้มีการเรียกชื่อต่างๆกัน เช่น FPM (Fast Page Mode) RAM, EDO (Extended Data Output) RAM, SDRAM (Synchronous DRAM), DDR (Double Data Rate) SDRAM และ RDRAM (Rambus DRAM) เป็นต้น6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า รอม (ROM) คือหน่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่งที่ใช้ในการเริ่มต้นการทำงานหรือชุดคำสั่งที่สำคัญ ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยคำสั่งที่ใช้ในชิปชื่อ ROM BIOS (Basic Input/Output System) เนื่องจากรอมมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง นั่นคือ แม้จะปิดเครื่องแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม แต่ข้อเสียของรอมคือหน่วยความจำชนิดนี้ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมชุดคำสั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งมีความเร็วในการทำงานช้ากว่าหน่วยความจำแบบแรม  นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีรอมที่เป็นชิปพิเศษแบบต่าง ๆ อีก คือ PROM (Programmable Read-Only Memory) เป็นหน่วยความจำแบบรอม ที่สามารถบันทึกด้วยเครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไขไม่ได้EPROM (Erasable PROM) เป็นหน่วยความจำรอม ที่ใช้แสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนข้อมูล สามารถนำออกจากคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้EEPROM (Electrically Erasable PROM) จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดซึ่งรวมเอาข้อดีของรอมและแรมเข้าด้วยกัน เป็นชิปที่ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงและสามารถเขียน แก้ไขหรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ได้ด้วยโปรแกรมพิเศษ โดยไม่ต้องถอดออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เปรียบเสมือนกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มีความเร็วสูง หน่วยความจำชนิดนี้มีข้อด้อย 2 ประการเมื่อเทียบกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง นั่นคือราคาที่สูงและมีความจุข้อมูลต่ำกว่ามาก ทำให้การใช้งานยังจำกัดอยู่กับงานที่ต้องการความเร็วสูงและเก็บข้อมูลไม่มากนัก ตัวอย่างของหน่วยความจำเป็นแบบที่รู้จักกันดีคือ หน่วยความจำแบบ Flash ซึ่งนิยมนำมาใช้เก็บในเครื่องรุ่นใหม่ ๆ7.หน่วยความจำแคช คือ CACHE คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว 8.หน่วยความจำสำรอง คือ  หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง9.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น ของตนเอง10.แผงวงจรหลักหรือที่รู้จักกันในชื่อของเมนบอร์ด (Main Board, Mother Board) หรือบางคนอาจเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่ามาเธอร์บอร์ดก็ตามแต่สะดวก ไม่มีข้อห้าม แต่ทั้งหมดนั้นหมายถึงอุปกรณ์ชิ้นเดียวกัน ชิ้นไหนล่ะ ก็ชิ้นที่เป็นแผงรวมวงจรอิเลคทรอนิคส์อยู่ในตัวเคสของคอมพิวเตอร์นั่นอย่างไรครับ ถ้าในเครื่องคอมพิวเตอร์มีแผงวงจรอะไรต่อมิอะไรจิปาถะ สามสี่แผง แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าแผงไหนคือ แผงวงจรหลัก คำตอบก็คือให้ดูที่แผงที่ใหญ่ที่สุดนั่นแหละ เพราะในคอมพิวเตอร์ แผงวงจรอื่นๆจะใหญ่กว่าแผงวงจรหลักเป็นไม่มี คราวนี้ก็ลองเปิดฝาครอบกล่องคอมพิวเตอร์ออกมาดูสิครับ มองลงไปจะมองเห็นแผงวงจรใหญ่ๆ แผงหนึ่ง วางในลักษณะติดกับพื้นเคส มีสายอะไรระโยงระยาง แล้วก็บอร์ดเล็กบอร์ดน้อยเสียบค้างไว้ นั่นแหละครับ เมนบอร์ดอ้างอิง :: http://reocities.com/ResearchTriangle/2544/board1.htmhttp://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm

รูปภาพของ pnckanwara

ใบงานที่ 3
1คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ
2.หน่วยรับเข้า คือเป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้ เช่น เมาส์ แผงแป้นอักขระ ก้านควบคุม เครื่องกราดตรวจ
3.หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน่วยประมวลผลกลาง หรือที่เรานิยมเรียกกันย่อ ๆ ว่า CPU คือ ศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุมระบบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กันคะ เช่น ควบคุมการทำงานของความจำหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยแสดงผล และที่เก็บข้อมูลต่างๆ เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ
4.หน่วยส่งออก คือหมายถึง องค์ประกอบส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ เราถือว่า คอมพิวเตอร์นั้นมีองค์ประกอบด้วยกัน 3 ส่วน คือ หน่วยรับข้อมูล (input unit) หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) และหน่วยแสดงผล (output unit) ซึ่งมีอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น จอภาพ, พล็อตเตอร์, เครื่องพิมพ์ ฯลฯ ดู input unit เปรียบเทียบ
5.หน่วยความจำหลัก คือหน่วยความจำหลัก มีหน้าที่สำหรับเก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลของหน่วยประมวลผล

หน่วยความจำหลักที่นิยมใช้งานอยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งอออกได้เป็น 2 ประเภท
แรม (Random Access Memory : RAM) หน่วยความจำแบบนี้จะเก็บข้อมูล เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงในวงจรถ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าข้อมูลจะหายไป ถ้าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำมากจะสามารถทำงานได้เร็วขึ้น เพราะมีเนื้อที่สำหรับเก็บคำสั่งของโปรแกรมต่าง ๆ ไม่ต้องเรียกคำสั่งที่ใช้มาจากหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง ซึ่งจะทำให้การทำงานช้าลงอย่างมาก
หน่วยความจำ RAM ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ
DRAM ( Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่มีการใช้งานกันมากที่สุด หน่วยความจำ DRAM จะมีข้อดีที่ราคาต่ำ แต่ข้อเสียคือมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลไม่สูง แต่ก็มีการพัฒนาเทคนิคในการเข้าถึงข้อมูลทำให้มีการเรียกชื่อต่างๆกัน เช่น FPM (Fast Page Mode) RAM, EDO (Extended Data Output) RAM, SDRAM (Synchronous DRAM), DDR (Double Data Rate) SDRAM และ RDRAM (Rambus DRAM) เป็นต้น
6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า รอม (ROM) คือหน่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่งที่ใช้ในการเริ่มต้นการทำงานหรือชุดคำสั่งที่สำคัญ ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยคำสั่งที่ใช้ในชิปชื่อ ROM BIOS (Basic Input/Output System) เนื่องจากรอมมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง นั่นคือ แม้จะปิดเครื่องแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม แต่ข้อเสียของรอมคือหน่วยความจำชนิดนี้ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมชุดคำสั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งมีความเร็วในการทำงานช้ากว่าหน่วยความจำแบบแรม
นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีรอมที่เป็นชิปพิเศษแบบต่าง ๆ อีก คือ
PROM (Programmable Read-Only Memory)
เป็นหน่วยความจำแบบรอม ที่สามารถบันทึกด้วยเครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไขไม่ได้
EPROM (Erasable PROM)
เป็นหน่วยความจำรอม ที่ใช้แสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนข้อมูล สามารถนำออกจากคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้
EEPROM (Electrically Erasable PROM)
จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดซึ่งรวมเอาข้อดีของรอมและแรมเข้าด้วยกัน เป็นชิปที่ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงและสามารถเขียน แก้ไขหรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ได้ด้วยโปรแกรมพิเศษ โดยไม่ต้องถอดออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เปรียบเสมือนกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มีความเร็วสูง หน่วยความจำชนิดนี้มีข้อด้อย 2 ประการเมื่อเทียบกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง นั่นคือราคาที่สูงและมีความจุข้อมูลต่ำกว่ามาก ทำให้การใช้งานยังจำกัดอยู่กับงานที่ต้องการความเร็วสูงและเก็บข้อมูลไม่มากนัก ตัวอย่างของหน่วยความจำเป็นแบบที่รู้จักกันดีคือ หน่วยความจำแบบ Flash ซึ่งนิยมนำมาใช้เก็บในเครื่องรุ่นใหม่ ๆ
7.หน่วยความจำแคช คือ CACHE คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว
8.หน่วยความจำสำรอง คือ หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
9.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น ของตนเอง
10.แผงวงจรหลักหรือที่รู้จักกันในชื่อของเมนบอร์ด (Main Board, Mother Board) หรือบางคนอาจเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่ามาเธอร์บอร์ดก็ตามแต่สะดวก ไม่มีข้อห้าม แต่ทั้งหมดนั้นหมายถึงอุปกรณ์ชิ้นเดียวกัน ชิ้นไหนล่ะ ก็ชิ้นที่เป็นแผงรวมวงจรอิเลคทรอนิคส์อยู่ในตัวเคสของคอมพิวเตอร์นั่นอย่างไรครับ ถ้าในเครื่องคอมพิวเตอร์มีแผงวงจรอะไรต่อมิอะไรจิปาถะ สามสี่แผง แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าแผงไหนคือ แผงวงจรหลัก คำตอบก็คือให้ดูที่แผงที่ใหญ่ที่สุดนั่นแหละ เพราะในคอมพิวเตอร์ แผงวงจรอื่นๆจะใหญ่กว่าแผงวงจรหลักเป็นไม่มี คราวนี้ก็ลองเปิดฝาครอบกล่องคอมพิวเตอร์ออกมาดูสิครับ มองลงไปจะมองเห็นแผงวงจรใหญ่ๆ แผงหนึ่ง วางในลักษณะติดกับพื้นเคส มีสายอะไรระโยงระยาง แล้วก็บอร์ดเล็กบอร์ดน้อยเสียบค้างไว้ นั่นแหละครับ เมนบอร์ด
อ้างอิง :: http://reocities.com/ResearchTriangle/2544/board1.htm

รูปภาพของ pnckanwara

ใบงานที่ 2
1.ฮาร์ดแวร์  คือหมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน
2.ซอฟต์แวร์ คือ(software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกัน ซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. Software ระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน2. Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
3.บุคลากร คือ ในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1 ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4 ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
4.spss  คือ  เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ก่อนนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป บางครั้งอาจมีการทดสอบสมมติฐาน เพื่อนำผลที่ได้มาประกอบการตัดสินใจ
5.รหัสแอสกี คือ แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ  ชื่อเต็มคือ American Standard Code for Information Interchange ความสำคัญคือเป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่
6. รัหสเอบซีดิก คือพัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม  รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน   การกำหนดรหัส
     จะใช้  8  บิต  ต่อหนึ่งอักขระ  เหมือนกับรหัสแอสกี  แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน 
     โดยรหัสเอบซีดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระ
7.  รหัสยูนิโค้ด  คือ เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256
     รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด โดยเฉพาะภาษาที่เป็นภาษาภาพ
     เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญี่ปุ่นเพียงภาษาเดียวก็มีจำนวนรูปแบบเกินกว่า 256 ตัวแล้ว
8. อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ
9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย  ระบบเลขฐานสอง  คือ  ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1  ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอง
10. ระบบเลขฐานแปด  อธิบาย   ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
11. ระบบเลขฐานสิบหก  อธิบาย ระบบเลขฐาน 16  มีตัวเลขอยู่ 16  ตัว  คือ0  1  2  3  4  5  6  7  8  9  A  B  C  D  E  F
อ้างอิง :: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7020cd62ae70c86b

ใบงานที่2 1.     ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น 2.    ซอฟต์แวร์  คือ      มีกี่ประเภท............อธิบาย  . Software ระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน2. Software ประยุกต์ (Application Software)คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น Software ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ2.1 Software สำหรับงานเฉพาะด้าน คือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Software ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา2.2 Software สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง 3.  บุคลากร คือ    มีกี่ประเภท  ......อธิบาย  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื4.     โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ 4.     Spss คือ  SPSS เป็นโปรแกรมหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันเป็นส่วนใหญ่ เนื่องมาจากใช้งานได้ง่าย และสามารถหามาใช้ได้ง่าย นอกจากนี้โปรแกรมยังมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา อันจะเห็นได้จาก รุ่นของโปรแกรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จนปัจจุบัน SPSS for Windows พัฒนามาถึงรุ่นที่ 13 แล้ว จำเป็นอย่างยิ่งที่คู่มือการใช้โปรแกรมจะต้องมีการพัฒนาตามให้ทัน เพื่อเสนอคุณสมบัติต่าง ๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมและคุณสมบัติใหม่ที่ปรากฏในโปรแกรมรุ่นใหม่ ให้ผู้ใช้ได้นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องกับลักษณะงานวิจัยของตน 5.    รหัสแอสกี คือ aรหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้

6.  รหัสเอบซีดิก คือ  รหัสเอ็บซิดิก (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC) พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน  การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน
7. รหัสยูนิโค้ด
  คือ

รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัวหากใช้รหัสที่เป็เลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบจึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

8. อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย ระบบเลขฐานสอง  คือ  ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1  ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอง10. ระบบเลขฐานแปด  อธิบาย ระบบเลขฐานแปด  อธิบาย   ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 711.ระบบเลขฐานสิบหก  อธิบาย ระบบเลขฐานสิบหก  อธิบาย ระบบเลขฐาน 16  มีตัวเลขอยู่ 16  ตัว  คือ0  1  2  3  4  5  6  7  8  9  A  B  C  D  E  F อ้างอิง  http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7020cd62ae70c86bhttp://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htmhttp://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htmhttp://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/ http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.htmlhttp://th.answers.yahoo.com/question/index?qid=20071128214401AAz2wRihttp://www.watpon.com/spss/http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm

รูปภาพของ pnckanwara

ใบงานที่1
1ระบบสารสนเทศ คือ หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็น
สารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว
และถูกต้อง
2ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และต้องถูกต้องแม่นยำ ครบถ้วน ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งของที่เราสนใจ
ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เราสนใจศึกษา
3สารสนเทศ คือ คุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยำหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน
4เทคโนโลยี คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น
5ทคโนโลยีสารสนเทศ คือ อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน

อ้างอิง :: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=3038186b229ad337

รูปภาพของ pncpeerapongdeeluan




ใบงานที่
5
ส่งไม่เกินวันพุธ ที่ 13 ก.ค. 54 ทำในสมุดและส่งใน blog ด้วยค่ะ
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง
เป็นคอมพิวเตอร์ที่ มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (
Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน
มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที (
1 Trillion
calculations per second ) ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100
ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยกิกะฟลอบ

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง
คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลาย
ชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม
 หรือใช้สำหรับคำนวนผลข้อมูลจำนวนมาก
ๆ เช่น สำมะโนประชากร  เป็นต้นคะ
 ตัวเครื่องจะมีลักษณะค่อนข้างใหญ่
มีราคาสูง และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee

3.
มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง
 เป็นคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานได้พร้อม ๆ กันหลายคน จึงมีเครื่องปลายทางที่เชื่อมต่อกัน  มินิคอมพิวเตอร์เป็น
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่า Workstation นำมาใช้สำหรับประมวลผลใน งานสารสนเทศขององค์กรขนาดกลางจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือ
ข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันเช่นงานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
  ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ในกลุ่มนี้เปลี่ยน รูปแบบเป็นสถานีบริการบนเครือข่ายในรูปแบบเซิร์ฟเวอร์
(
Server)

ที่มา: http://www.lms.moe.go.th/thailocaladmin/elearning/com04/com04001/HTML/com-7.html

4.
ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล
หรืดเรียกว่า พีซี
(Personal computer: PC)
สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง
(
terminal) ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นบนเครือข่าย

จะกล่าวได้ว่าไมโคร คอมพิวเตอร์ คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์ใช้งาน
ง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้

ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=312e9382dc061583

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย ๆ
ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว
(
portable) ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก
(
laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook)

ที่มา: http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0/


6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง
ป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต
เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ
1.5 - 3 กิโลกรัม
จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือนกับแล็ปท็อปนะคะ
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กกำลังได้รับความนิยมมาก เนื่องจากราคาที่ถูกลงกว่าในอดีต

ที่มา
:
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12

7.
คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คขนาดพอดีมือ
ที่มีฟังชั่นพิเศษ ยัดซิมการ์ดเข้าไปในเครื่องได้
ทำให้มันเป็นคอมที่โทรศัพท์ได้

ที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0f94a58ffb3e8811&hl=th&table=%2Fguru%2Fsearch%3Fq%3D%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%25A7%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2596%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%2B%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD%26sa%3DN%26ie%3DUTF-8%26tab%3Dw2%26gs_sm%3De%26um%3D1%26biw%3D1296%26bih%3D611%26hl%3Dth%26gs_upl%3D3676l9334l0l11005l5l5l0l3l3l0l396l616l2-1.1l2

 

 

 

 

 

รูปภาพของ pnckruuciap

ไป gopy แต่ใดมา ท่าน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 423 คน กำลังออนไลน์