ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

 

เว็บเกี่ยวกัีบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 

รูปภาพของ pncpeerapongdeeluan




ใบงานที่  4 ส่งไม่เกินวันพุธ ที่ 6 ก.ค. 54 ทำลงในสมุด ส่งใน blog ด้วยค่ะ 
1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้700เมกะไบต์

ที่มา: www.buycoms.com/webboard/community_read.asp?cid=9955...1
2. ดีวีดี จุข้อมูลได้
50,000GB กิกะไบต์

  • ที่มา: http://www.google.co.th/search?hl=th&source=hp&biw=&bih=&q=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87DVD&btnG=%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2+Google
    3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น
    สัญญาณวิทยุความถี่สูง
    ความถี่ประมาณ 2.4
    กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ
    Class
    1 กำลังส่ง
    100 มิลลิวัตต์
    ระยะประมาณ
    100 เมตร
  • Class 2 กำลังส่ง
    2.5 มิลลิวัตต์
    ระยะประมาณ
    10 เมตร
  • Class 3 กำลังส่ง
    1 มิลลิวัตต์
    ระยะประมาณ
    1 เมตร

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B8%98
4. Lan  คือ
เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้
ๆ กัน เครือข่าย
LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร
สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น การเชื่อมโยงเครือข่าย

5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ ...
ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย
ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น
เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด
อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ
อุปกรณ์อื่นๆ จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน
One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน

ที่มา
:
  http://blog.cstc.ac.th/node/74

รูปภาพของ pncpeerapongdeeluan




ใบงานที่  3  ม. ทุกห้อง 

คำสั่ง  ส่งไม่เกินวันอาทิตย์ ที่ กรกฏาคม 2554  เวลา  18.00 น.   และให้พิมพ์ใน word 2007  ตั้งชื่อ work3.doc

1. คอมพิวเตอร์ คือ

คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์
ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
 นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก
อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้
 

ที่มา: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/menu1.htm

 

 

2.
หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผลเช่นเมาส์ (mouse) เป็นต้น

ที่มา:
http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm

3. หน่วยประมวลผลกลาง
คือ
หน่วยประมวลผลกลาง
หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์
มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำมาแปลความหมายและกระทำตาม คำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง
การทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง
ประกอบด้วยการคำนวณทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เช่น การบวก ลบ คูณ หาร
การเปรียบเทียบข้อมูลสองจำนวน การควบคุมการเคลื่อนย้ายข้อมูลในส่วนต่างๆ
ของระบบ เช่น เคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์รับข้อมูล
อุปกรณ์แสดงผลกับหน่วยความจำ
เป็นต้น    

ที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson4/chap4-14.htm
4. หน่วยส่งออก คือ
เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญและจำเป็นอย่างหนึ่ง หน่วยส่งออกที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์
เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์

http://www.pck1.go.th/krusuriya/ebook3/page/Lesson4_6.htm
5. หน่วยความจำหลัก คือ
หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง
และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง
หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล
และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า
เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย
ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน
เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก
และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง
นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว

เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง
ซีพียูจะทำหน้าที่นำคำสั่ง จากหน่วยความจำหลัก
มาแปลงความหมายแล้วกระทำตาม
เมื่อทำเสร็จก็จะนำผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก
ซีพียูจะกระทำตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ
ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า
วงรอบคำสั่ง (Execution
cycle)
จากการทำงานเป็นวงรอบของซีพียูนี้เอง การอ่านเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลัก
จะต้องทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันการทำงานของซีพียู
โดยปกติุุถ้าให้ซีพียูทำงานที่มีความถี่ของสัญญาณนาฬิกา
2,000
เมกะเฮิรตซ์ หน่วยความจำหลักที่ใช้ทั่วไปมักจะมีความเร็วไม่ทันช่วงติดต่ออาจมีเพียง
100 เมกะเฮิรตซ์
หน่วยความจำหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ จึงต้องกำหนดคุณลักษณะในเรื่องช่วงเวลาเข้าถึงข้อมูล
(
Accesss
time)
ค่าที่ใช้ทั่วไปอยู่ในช่วงประมาณ 60 นาโนวินาที ถึง 125 นาโนวินาที (1 นาโนวินาทีเท่ากับ 10 ยกกำลัง -9 วินาที) แต่อย่างไรก็ตาม
มีการพัฒนาให้หน่วยความจำ สามารถใช้กับซีพียูที่ทำงานเร็วขนาด
33 เมกะเฮิรตซ์ โดยการสร้าง
หน่วยความจำพิเศษมาึคั่นกลางไว้ ซึ่งเรียกว่า หน่วยความจำแคช
(cache memory)
ซึ่งเป็นหน่วยความจำที่เพิ่มเข้ามา
เพื่อนำชุดคำสั่ง หรือข้อมูลจากหน่วยหลักมาเก็บไว้ก่อน
เพื่อให้ซีพียูเรียกใช้ได้เร็วขึ้น แบ่งได้ 2ประเภทคือ 1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้
(
volatile memory)

          คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว หากไฟฟ้าดับ
คือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ กับวงจรหน่วยความจำ ข้อมูลที่เก็บไว้จะหายไปหมด

2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)
         คือ
หน่วยความจำเก็บข้อมูลได้ โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร

http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm

6.
หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม
หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้

หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือที่เราเรียนกว่า
แรม (
Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วย
ความจำรองมาบรรจุไว้ หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้า
เลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น หากปิดเครื่องข้อมูลจะหายไปหมดสิ้น เมื่อเปิดเครื่องใหม่อีกครั้งจึงจะนำข้อมูลหรือโปรแกรมมาเขียนใหม่อีกครั้ง
หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานเหมือนกระดานดำ คือสามารถลบข้อมูลที่ไม่ใช้งานแล้วออกได้เพื่อเพิ่มพื้นที่ว่างในการเก็บข้อมูลใหม่
ไมโครคอมพิวเตอร์
16 บิต รุ่น XT มีหน่วยความจำหลักแรมเพียง
640 KB แต่ในยุคหลังนี้ไมโครโพรเซสเซอร์มีหน่วยความจำหลักแรมได้หลายร้อยเมกะไบต์
โดยปกติขนาดของแรมจะใช้ในการกล่าวถึงขนาดความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำแรมมีขนาดแตกต่างกันออกไป
หน่วยความจำชนิดนี้ บางครั้งเรียกว่า
read write memory ซึ่งหมายความว่าสามารถทั้งอ่านและบันทึกได้
หน่วยความจำแบบแรมที่มีใช้อยู่สามารถแบ่งได้
2 ประเภท คือ
(1) ไดนามิกแรมหรือดีแรม (Dynamic RAM : DRAM) เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง
หน่วยความจำชนิดนี้เก็บข้อมูลเลขฐานสองแต่ละบิตไว้ที่ตัวเก็บประจุ ซึ่งจะมีการคายประจุทำให้ข้อมูลที่เก็บไว้หายไปได้
จึงต้องออกแบบให้มีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าหรือที่เรียกว่า
รีเฟรช (refresh) ให้ตัวเก็บประจุตลอดเวลา
เพื่อให้ข้อมูลที่เก็บภายในยังคงอยู่ตลอดการใช้งาน ซึ่งการรีเฟรชดังกล่าวมีผลให้หน่วยความจำชนิดนี้อ่านและเขียนข้อมูลได้ช้า

ในการเข้าถึงข้อมูลของไดนามิกแรมจะแบ่งเวลาในการเข้าถึงข้อมูลเป็น
2 ช่วง ได้แก่ ช่วงจัดเตรียม (setup time) คือเวลาที่ใช้ในการเตรียมพื้นที่ในแรมให้พร้อมในการรับหรือส่งข้อมูล
ภายในแรมแบ่งเป็นตารางที่สามารถระบุเป็นแถว (
row) และสดมภ์ (column)
แต่ละช่องคือพื้นที่ใช้เก็บข้อมูลแบ่งเป็นตำแหน่งที่อยู่
(address) การจะอ่านหรือเขียนข้อมูล
ซีพียูต้องส่งสัญญาณที่ระบุตำแหน่งดังกล่าวไป เพื่อเตรียมการรับหรือส่งข้อมูลของพื้นที่ที่ระบุ
สำหรับส่วนที่สองเรียกว่า ช่วงวงรอบการทำงาน (
cycle time) คือ
เวลาที่ใช้ในการอ่านหรือเขียนข้อมูลในตำแหน่งที่อยู่ที่ระบุส่งกลับมายังซีพียู การอ่านข้อมูลของดีแรมในยุคแรกๆ
อ่านข้อมูลทีละ
4 ไบต์
โดยต้องส่งสัญญาณระบุตำแหน่งที่อยู่เป็นแถวและสดมภ์ของแต่ละไบต์ไปยังแรม

http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson4/chap4-20-2.htm
7. หน่วยความจำแคช คือ
นระบบคอมพิวเตอร์จะมีอุปกรณ์บางส่วนที่ทำงานช้า
จึงการใช้วิธีนำหน่วยความจำแบบแรมมาเพิ่มความเร็วของอุปกรณ์เหล่านั้น
อันจะทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์โดยรวมเร็วขึ้นมาก เรียกหน่วยความจำส่วนนี้ว่า หน่วยความจำแคช (
cache memory) ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น
2
แบบ คือ

แคชสำหรับหน่วยความจำ (memory cache) จะเป็นการใช้หน่วยความจำแรมชนิดความเร็วสูงพิเศษมากเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ใช้บ่อย
ๆ จากหน่วยความจำแรกปกติของระบบ
เพื่อลดเวลาที่ซีพียูใช้ในการอ่านหน่วยความจำแรมของระบบ ซึ่งมีความเร็วในการทำงานช้ากว่าการทำงานของซีพียูมาก

แคชสำหรับอุปกรณ์ (device cache) เป็นการออกแบบเพื่อเพิ่มความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลในอุปกรณ์อื่น
ๆ เช่น หน่วยความจำสำรอง โดยจัดสรรแรมมาใช้เก็บข้อมูลและคำสั่งต่าง ๆ ที่ใช้บ่อย ๆ
จากอุปกรณ์ที่มีความเร็วต่ำ เช่น ฮาร์ดดิสก์ มาไว้ในแคช ทำให้จำนวนครั้งที่ต้องทำากรเรียกใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์เหล่านั้นลดลง
จึงทำงานได้รวดเร็วขึ้น นอกนี้ ในบางครั้งจะพบกัน หน่วยความจำแบบบัฟเฟอร์
(buffer memory) ซึ่งเป็นแคชสำหรับอุปกรณ์แบบง่าย
ๆ ทำหน้าที่พักข้อมูลจากอุปกรณ์ไว้ชั่วคราวเพื่อรอให้ซีพียูมาอ่านไปใช้ โดยไม่มีการใช้วิธีการที่ซับซ้อนในการเลือกว่าข้อมูลใดที่มีโอกาสสูงที่สุดซีพียูจะเรียกใช้งาน

ที่มา: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20vol4.htm

 

8.
หน่วยความจำสำรอง คือ
    หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
 ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้
ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

             นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด

หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

            หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง
ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก

                ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html


9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับ
มาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA)
, แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสาย
ยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า
รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (
eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น
ของตนเอง

ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C
10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ
าร์ดดิสก์คือ
อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้มักจะมีขนาดใหญ่หรือมักจะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง ๆ
มากมาย จนไม่สามารถที่จะใช้บนแผ่นดิสก์ต่อไปได้อีกฉะนั้นสิ่งที่จะมาเป็นตัวยืนในการเก็บข้อมูลจะเป็นสิ่งอื่นไปไม่ได้
นอกจากเจ้าฮาร์ดดิสก์นี่เอง ภายในฮาร์ดดิสก์จะประกอบไปด้วยหัวอ่าน (เขียน)
จานแม่เห็ลกชนิดแข็ง และวงจรควบคุมการทำงานต่าง ๆ สำหรับควบคุมหัวอ่าน (เขียน) และจานแม่เหล็กสัมพันธ์กัน
(ข้อมูลล่าสุดขณะนี้ในต่างประเทศกำลังผลิตฮาร์ดดิสก์ประเภทที่ใช้
IC เป็นตัวเก็บข้อมูลซึ่งสามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ โดยไม่ต้องใช้พลังงานใด
ๆ หล่อเลี้ยง และคาดว่าจะถูกนำมาใช้แทนฮาร์ดดิสก์แบบเดิมภายในอนาคตอันใกล้นี้)

 

ทีมา
:
http://atthawat.8m.com/a2.htm

 

 

 

 

 

 

รูปภาพของ pnckanwara

:)

รูปภาพของ pncnattavadee


6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม

ตอบ.หน่วยความจำในขณะเปิดเครื่องใช้งาน เปรียบเสมือน พื้นโต๊ะทำงาน ครับ ตอนเช้า คุณเข้ามาทำงาน คุณก็หยิบ งานต่างๆ มาทำบนโต๊ะเช่น อาจจะไปเอามาจากตู้เอกสาร (เปรียบเป็น ROM ) ถ้า โต๊ะ ใหญ่ ( ความจุมาก ) ก็จะทำงานได้เร็ว
1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละ คำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย ว่าคำสั่งนั้นสังให้ทำอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ


7. หน่วยความจำแคช

ตอบ. หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว ชนิดของ CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip 486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1 ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น

 


8. หน่วยความจำสำรอง

ตอบ.หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

   นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
   หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

    


9. ฮาร์ดดิสก์

ตอบ.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น ของตนเอง

 


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด

ตอบ. เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย 1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง


รูปภาพของ pncnattavadee


6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม

ตอบ.หน่วยความจำในขณะเปิดเครื่องใช้งาน เปรียบเสมือน พื้นโต๊ะทำงาน ครับ ตอนเช้า คุณเข้ามาทำงาน คุณก็หยิบ งานต่างๆ มาทำบนโต๊ะเช่น อาจจะไปเอามาจากตู้เอกสาร (เปรียบเป็น ROM ) ถ้า โต๊ะ ใหญ่ ( ความจุมาก ) ก็จะทำงานได้เร็ว
1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละ คำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย ว่าคำสั่งนั้นสังให้ทำอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ


7. หน่วยความจำแคช

ตอบ. หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว ชนิดของ CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip 486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1 ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น

 


8. หน่วยความจำสำรอง

ตอบ.หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

   นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
   หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

    


9. ฮาร์ดดิสก์

ตอบ.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น ของตนเอง

 


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด

ตอบ. เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย 1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง


รูปภาพของ pncnattavadee


6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม

ตอบ.หน่วยความจำในขณะเปิดเครื่องใช้งาน เปรียบเสมือน พื้นโต๊ะทำงาน ครับ ตอนเช้า คุณเข้ามาทำงาน คุณก็หยิบ งานต่างๆ มาทำบนโต๊ะเช่น อาจจะไปเอามาจากตู้เอกสาร (เปรียบเป็น ROM ) ถ้า โต๊ะ ใหญ่ ( ความจุมาก ) ก็จะทำงานได้เร็ว
1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนำเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะถูกนำไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคำสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทำหน้าที่ดึงคำสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละ คำสั่งเพื่อทำการแปลความหมาย ว่าคำสั่งนั้นสังให้ทำอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ ที่ต้องการทำงานดังกล่าวให้ทำงานตามคำสั่งนั้นๆ


7. หน่วยความจำแคช

ตอบ. หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว ชนิดของ CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip 486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1 ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น

 


8. หน่วยความจำสำรอง

ตอบ.หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

   นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
   หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

    


9. ฮาร์ดดิสก์

ตอบ.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น ของตนเอง

 


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด

ตอบ. เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ประกอบด้วย 1. ชุดชิพเซ็ต ชุดชิพเซ็ตเป็นเสมือนหัวใจของเมนบอร์ดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณ์ตัวนี้จะมีหน้าที่หลักเป็นเหมือนทั้ง


1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง  คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้  

4. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรืดเรียกว่า พีซี

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย ๆ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก  

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง อินเตอร์เน็ตไร้สายผ่านมือถือด้วยระบบ GPRS ถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ของการใช้งานอินเตอร์เน็ต

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้  

4. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรืดเรียกว่า พีซี

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก  

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง โปรแกรมsanook! QQ เวอชั้นสำหรับใช้กับโทรศัพมือถือ

รูปภาพของ pncnattavadee


1. คอมพิวเตอร์

ตอบ.คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล ประมวลผล สื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ได้ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติโดดเด่นในเรื่อง
ของ ความเร็ว ความเชื่อถือ ความถูกต้องแม่นยำ การเก็บข้อมูลจำนวนมาก ตลอดจนสามารถย้ายข้อมูลไปได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น
คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อสังคมของมนุษย์ แทบทุกวงการล้วนนำคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการทำงานจน
กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิต


2. หน่วยรับเข้า

ตอบ.

หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้

แผงแป้นอักขระ (keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า “แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มควบคุมเฉพาะสำหรับคอมพิวเตอร์ ลักษณะการทำงาน คือ เมื่อมีการกดปุ่มจะเป็นการส่งสัญญาณทางไฟฟ้าให้คอมพิวเตอร์ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปรสัญญาณเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ การใช้งานพิมพ์ภาษาไทย จะต้องดัดแปลงแผงแป้นอักขระ ให้สามารถใช้งานได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย กลุ่มแป้นที่ใช้พิมพ์ตัวอักษรภาษาไทย จะเป็นกลุ่มแป้นเดียวกับภาษาอังกฤษ แต่จะใช้แป้นพิเศษ แป้นหนึ่งทำหน้าที่สลับเปลี่ยน การพิมพ์ภาษาไทย


3. หน่วยประมวลผลกลาง

ตอบ.หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯโดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ
1. อ่านชุดคำสั่ง (fetch) Fetch - การอ่านชุดคำสั่งขึ้นมา 1 คำสั่งจากโปรแกรม ในรูปของระหัสเลขฐานสอง (Binary Code from on-off of BIT)
2. ตีความชุดคำสั่ง (decode) Decode - การตีความ 1 คำสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder circuit) ตามจำนวนหลัก (BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทำงานด้วข้อมูลที่ใด
3. ประมวลผลชุดคำสั่ง (execute) Execute - การทำงานตาม 1 คำสั่งนั้น คือ วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทำงาน เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้าข้อมูล ฯลฯ
4. อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ (memory) Memory - การติดต่อกับหน่วยความจำ การใช้ข้อมูที่อยู่ในหน่วยจำชั่วคราว (RAM, Register) มาใช้ในคำสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address)
5. เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ (write back) Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ โดยมีหน่วยจำ Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคำสั่งต่อไป ภายหลังมีคำสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่


4. หน่วยส่งออก

ตอบ. หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์    ที่นิยมทั่วไปคือ จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออก
ของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมาก
มีลักษณะเป็น จอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ ทั่วไปเรียกว่า ซีอาร์ที  การส่งออก ของข้อมูล    จะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถ แสดงรูปภาพได้ด้วย
 (1) จอภาพ (monitorการแสดงผล บนจอภาพ จะแสดงด้วยจุดเล็กๆ ตามแนวนอน และแนวตั้ง แต่เดิมจอภาพแสดงผลได้เพียง สีเดียว พัฒนาการ ต่อมาทำให้ การแสดงผล เป็นสีหลายสีได้ นอกจากนี้
ยังมีความละเอียด มากขึ้น เช่น จอภาพที่ใช ้กับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน แสดงผล ในภาวะกราฟิก ได้อย่างน้อย ในแนวนอน 640 จุด ในแนวตั้ง 480 จุด และแสดงสี ได้อย่างน้อย 16 สี ถึง 256 สี สำหรับการ แสดงผลเป็น ตัวอักษร ในภาวะปกติ สามารถ แสดงผลได้ 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษรขนาดของ จอภาพจ ะวัดความยาว ตามเส้นทะแยงมุม จอภาพโดยทั่วไป จะมีขนาด
14 นิ้ว หรือ17 นิ้ว การแสดงผล ของจอภาพ ควบคุมโดย แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งอยู่ภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์


5. หน่วยความจำหลัก

ตอบ.หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้
โดยตรง หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล
มีอยู่ 2 ประเภท คือ
หน่วยความจำถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถจำข้อมูลได้ตลอดเวลา
ส่วนหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำชั่วคราว (RAM : Random Access Memory)


รูปภาพของ pncnattavadee


1. คอมพิวเตอร์

ตอบ.คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล ประมวลผล สื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ได้ นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติโดดเด่นในเรื่อง
ของ ความเร็ว ความเชื่อถือ ความถูกต้องแม่นยำ การเก็บข้อมูลจำนวนมาก ตลอดจนสามารถย้ายข้อมูลไปได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้น
คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อสังคมของมนุษย์ แทบทุกวงการล้วนนำคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการทำงานจน
กล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิต


2. หน่วยรับเข้า

ตอบ.

หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้

แผงแป้นอักขระ (keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า “แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มควบคุมเฉพาะสำหรับคอมพิวเตอร์ ลักษณะการทำงาน คือ เมื่อมีการกดปุ่มจะเป็นการส่งสัญญาณทางไฟฟ้าให้คอมพิวเตอร์ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปรสัญญาณเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ การใช้งานพิมพ์ภาษาไทย จะต้องดัดแปลงแผงแป้นอักขระ ให้สามารถใช้งานได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย กลุ่มแป้นที่ใช้พิมพ์ตัวอักษรภาษาไทย จะเป็นกลุ่มแป้นเดียวกับภาษาอังกฤษ แต่จะใช้แป้นพิเศษ แป้นหนึ่งทำหน้าที่สลับเปลี่ยน การพิมพ์ภาษาไทย


3. หน่วยประมวลผลกลาง

ตอบ.หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯโดยมีกระบวนการพื้นฐานคือ
1. อ่านชุดคำสั่ง (fetch) Fetch - การอ่านชุดคำสั่งขึ้นมา 1 คำสั่งจากโปรแกรม ในรูปของระหัสเลขฐานสอง (Binary Code from on-off of BIT)
2. ตีความชุดคำสั่ง (decode) Decode - การตีความ 1 คำสั่งนั้นด้วยวงจรถอดรหัส (Decoder circuit) ตามจำนวนหลัก (BIT) ว่ารหัสนี้จะให้วงจรอื่นใดทำงานด้วข้อมูลที่ใด
3. ประมวลผลชุดคำสั่ง (execute) Execute - การทำงานตาม 1 คำสั่งนั้น คือ วงจรใดในไมโครโปรเซสเซอร์ทำงาน เช่น วงจรบวก วงจรลบ วงจรเปรียบเทียบ วงจรย้าข้อมูล ฯลฯ
4. อ่านข้อมูลจากหน่วยความจำ (memory) Memory - การติดต่อกับหน่วยความจำ การใช้ข้อมูที่อยู่ในหน่วยจำชั่วคราว (RAM, Register) มาใช้ในคำสั่งนั้นโดยอ้างที่อยู่ (Address)
5. เขียนข้อมูล/ส่งผลการประมวลกลับ (write back) Write Back - การเขียนข้อมูลกลับ โดยมีหน่วยจำ Register ช่วยเก็บที่อยู่ของคำสั่งต่อไป ภายหลังมีคำสั่งกระโดดบวกลบที่อยู่


4. หน่วยส่งออก

ตอบ. หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์    ที่นิยมทั่วไปคือ จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออก
ของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมาก
มีลักษณะเป็น จอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ ทั่วไปเรียกว่า ซีอาร์ที  การส่งออก ของข้อมูล    จะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ ทั้งตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถ แสดงรูปภาพได้ด้วย
 (1) จอภาพ (monitorการแสดงผล บนจอภาพ จะแสดงด้วยจุดเล็กๆ ตามแนวนอน และแนวตั้ง แต่เดิมจอภาพแสดงผลได้เพียง สีเดียว พัฒนาการ ต่อมาทำให้ การแสดงผล เป็นสีหลายสีได้ นอกจากนี้
ยังมีความละเอียด มากขึ้น เช่น จอภาพที่ใช ้กับคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน แสดงผล ในภาวะกราฟิก ได้อย่างน้อย ในแนวนอน 640 จุด ในแนวตั้ง 480 จุด และแสดงสี ได้อย่างน้อย 16 สี ถึง 256 สี สำหรับการ แสดงผลเป็น ตัวอักษร ในภาวะปกติ สามารถ แสดงผลได้ 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษรขนาดของ จอภาพจ ะวัดความยาว ตามเส้นทะแยงมุม จอภาพโดยทั่วไป จะมีขนาด
14 นิ้ว หรือ17 นิ้ว การแสดงผล ของจอภาพ ควบคุมโดย แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งอยู่ภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์


5. หน่วยความจำหลัก

ตอบ.หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้
โดยตรง หน่วยความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล
มีอยู่ 2 ประเภท คือ
หน่วยความจำถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำที่สามารถจำข้อมูลได้ตลอดเวลา
ส่วนหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำชั่วคราว (RAM : Random Access Memory)


1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้ 600เมกะไบต์

2. ดีวีดี จุข้อมูลได้  4.7-17gb

3. คลื่นบลูทูธ  Bluetooth เป็นเทคโนโลยีการส่งผ่านข้อมูลไร้สายแบบสองทาง (มีการส่งข้อมูลไปกลับ ของตัวรับและตัวส่งสัญญาณ)ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น โดยอุปกรณ์มีขนาดเล็ก

4. Lan  คือเป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN

5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน 

รูปภาพของ pncnattavadee


6. รัหสเอบซีเดิก

ตอบ.รหัสเอ็ซิดิก (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC) ... การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี
www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm


7. รหัสยูนิโค้ด 

ตอบ.เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm


8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device)

ตอบ.หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ

http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/


9. ระบบเลขฐานสอง

ตอบ. ระบบเลขฐานสอง (Binary) จะเป็นระบบเลขที่ง่ายกว่าเลขฐานสิบ เนื่องจากระบบเลขฐานสอง จะใช้ัอักขระแทนสองตัว ระบบเลขฐานสองนี้ใช้ในระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย เพราะว่าวงจรดิจิตอลจะมีเพียงสองสถานะ(two states)หรือระดับสัญญาณสองระดับ (two signal levels)โดยมีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันอยู่ทั้งหมด 2 ตัว คือ  0   และ  1 หรืออาจใช้คำอื่นแทน
 ถ้าจะเทียบเลขฐานสองกับเลขฐานสิบแล้ว เลขฐานสองจะมีจำนวนหลักมากกว่า เพราะว่าในแต่ละหลักจะมีเลขได้สองค่า แต่ถ้าเป็นเลขฐานสิบแต่ละหลักจะมีเลขได้เก้าค่าคือ 0 ถึง 9
          ระบบเลขฐานสิบ แต่ละหลักจะมีค่าเวจต์เป็นค่าสิบยกกำลังของหลักนั้น ระบบเลขฐานสองก็เช่นเดียวกัน จะมีฐานของเลขฐานสอง (base 2 system) การหาค่าเวจต์ในแต่ละหลักจะหาได้จากค่ายกกำลังสองของหลักนั้นๆ
http://www.star-circuit.com/article/PLC_digital.html


10. ระบบเลขฐานแปด 

ตอบ.ระบบตัวเลขฐานแปดหรือฐาน 8 เป็นระบบที่ใช้ร่วมกันกับคอมพิวเตอร์ Because of its relationship with the binary system, it is useful in programming some types of computers. เพราะความสัมพันธ์กับระบบไบนารีที่จะเป็นประโยชน์ในการเขียนโปรแกรมบางประเภทของคอมพิวเตอร์

http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth&u=http://www.tpub.com/neets/book13/53e.htm


11.ระบบเลขฐานสิบหก

ตอบ.ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal) ฐานของมันจะมีค่าเป็น 16 ซึ่งจะมีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันอยู่ทั้งหมด 16 ตัว คือ 0   1   2   3   4   5   6   7   8   9   A   B   C   D   E   F  (ตัวอักษร 6 ตัว แทน ตัวเลข 10 –15 ตามลำดับ)
           ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ตัวเลขที่ใช้ในการประมวลผลจะเป็นเลขฐานสอง แต่ถ้าตัวเลขมีค่ามากจะทำให้เลขฐานสองมีหลายหลัก จึงใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสอง แล้วจะมีการแปลงเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสองอีกทีหนึ่ง เลขฐานสิบหกนั้นจะนิยมใช้มากในคอมพิวเตอร์ ถ้าหากไบนารี่ที่ใ่ช้ในระบบคอมพิวเตอร์เป็นแบบ 8 บิต ซึ่งแทนเลขฐานสิบหกได้ตั้งเเต่ 0 ถึง 255 แต่สามารถแทนด้วยเลขฐานสิบหกเพียงสองหลักเท่านั้น ถ้าหากเรามีเลขฐานสิบ 99,999,999 ถ้าเขียนแทนด้วยเลขไบนารีจะต้องใช้หลายบิต แต่ถ้าเขียนเเทนด้วยเลขฐานสิบหกจะใช้เพียงไม่กี่หลัก
           ค่าสิบหกสามารถแทนได้ด้วยสองยกกำลังสี่ หรือ 16 = 2^4 ดังนั้นเลขฐานสิบหกจึงสามารถเขียนแทนด้วยเลขฐานสองได้สี่บิต โดยมีค่าตั้งแต่ 0000 ถึง 1111 หรือแทนด้วยอักษร 0 ถึง F ความสัมพันธ์ระหว่างเลขฐานสอง ฐานสิบ และฐานสิบหกแสดงใ้ว้ในตารางความสัมพันธ์ของเลข BIN, BCD และ HEX
           การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบหกก็สามารถทำได้โดยง่าย โดยจัดเลขฐานสองตั้งแต่บิตแรกจนถึงบิตสุืดท้ายเป็นกลุ่มๆ โดยจัดกลุ่มละ 4 บิตและแทนค่าด้วยเลขฐานสิบหกแต่ละค่าให้สอดคล้องกันตัวอย่างต่อไปนี้จะเป็นการแปลงเลขฐานสองเป็นฐานสิบหก
http://www.star-circuit.com/article/PLC_digital.html


6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มหรือหน่วยความจำชั้วคราว

7. หน่วยความจำแคช คือ  หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ

8. หน่วยความจำสำรอง คือมีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล

9. ฮาร์ดดิสก์ คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือเมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ

ต่อจากใบงานที่3

รูปภาพของ pncnattavadee

1.ฮาร์ดแวร์ 

ตอบ.ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์


2. ซอฟต์แวร์ 

ตอบ.หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้


3. บุคลากร

ตอบ.บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ


4. spss 

ตอบ.เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติค่ะ ก่อนนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป บางครั้งอาจมีการทดสอบสมมติฐาน เพื่อนำผลที่ได้มาประกอบการตัดสินใจ


5. รหัสแอสกี
ตอบ.เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง

1. คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
"

2. หน่วยรับเข้า คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล เช่น แผงแป้นอักขรเมาส์

3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำ

4. หน่วยส่งออก คือ หน่วยส่งออก (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วนความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัสต่างๆ   เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้

5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ แบ่งได้ 1. หน่วยความจำที่ซีพียูอ่านได้อย่างเดียว2. หน่วยความจำที่เขียนหรืออ่านข้อมูลได้ 3.น่วยความจำความเร็วสูง (Cache Memory)

1. คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์
"

2. หน่วยรับเข้า คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล เช่น แผงแป้นอักขรเมาส์

3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนเป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ในการทำหน้าที่ตัดสินใจหรือคำนวณ จากคำสั่งที่ได้รับมา เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำ

4. หน่วยส่งออก คือ หน่วยส่งออก (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วนความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัสต่างๆ   เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้

5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ แบ่งได้ 1. หน่วยความจำที่ซีพียูอ่านได้อย่างเดียว2. หน่วยความจำที่เขียนหรืออ่านข้อมูลได้ 3.น่วยความจำความเร็วสูง (Cache Memory)

รูปภาพของ pncnattavadee

1.ระบบสารสนเทศ

ตอบ.ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์  ซอฟท์แวร์  ระบบเครือข่าย  ฐานข้อมูล  ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ  พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา  ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด  รวบรวม จัดเก็บข้อมูล  ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน การตัดสินใจ  การวางแผน  การบริหาร การควบคุม  การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร (สุชาดา กีระนันทน์, 2541)
http://blog.eduzones.com/dena/4892


2. ข้อมูล

ตอบข้อเท็จจริงต่าง ๆ เหตุการณ์หรือสภาพการณ์ที่เราสนใจ ซึ่งอาจได้จากการนับ การจัด การตอบแบบสอบถาม จะอยู่ในรูปตัวเลข ตัวอักษร หรือ ...
www.panyathai.or.th/wiki/index.php/.


3. สารสนเทศ

ตอบ.หมายถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ  เช่น หาค่าเฉลี่ยหรือใช้เทคนิคขั้นสูง เช่น การวิจัยดำเนินงาน  เป็นต้น  เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไป ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหตือตอบ ปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ใน รูปที่มีความหมาย  สารสนเทศไม่ใช่จำกัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเท่านั้น 
    http://jantima-ssp.exteen.com/20080212/entry-7



4. เทคโนโลยี  ตอบ.การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น…
http://www.คืออะไร.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/


5. เทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอบ.ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่อการดำชีวิตเป็นอันมาก เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานการดำรงชีวิตได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยีทำให้การสร้างที่พักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิตสินค้าและให้บริการต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เทคโนโลยีทำให้ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจำนวนมากมีราคาถูกลง สินค้าได้คุณภาพ เทคโนโลยีทำให้มีการติดต่อสื่อสารกันได้สะดวก การเดินทางเชื่อมโยงถึงกันทำให้ประชากรในโลกติดต่อรับฟังข่าวสารกันได้ตลอดเวลา
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/network/it/index.html


 

6. รัหสเอบซีดิก คือ  1.  รหัสแอสกี ( ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล 

7. รหัสยูนิโค้ด  คือ  รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ

8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจาก หน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก

9. ระบบเลขฐานสอง ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ต้องได้พบเจอกับจำนวนและการคำนวณอยู่ทุกวัน หากเราสังเกตจะพบว่าจำนวนที่เราคุ้นเคยอยู่ทุกวันนั้นไม่ว่าจะเป็นการซื้อของเป็นเงิน 39,587 บาท จำนวนเงินฝากในธนาคาร 1,426,000 บาท หรือจำนวนในใบแจ้งหนี้ค่าโทรศัพท์จำนวน 2,560

10. ระบบเลขฐานแปด  ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

11.ระบบเลขฐานสิบหก เลขฐานสิบหกประกอบไปด้วยตัวเลขจำนวน 16 ตัว คือ (0,1,2,3,4,5,6,7,8,9 และตัวอักษรภาษาอังกฏษอีก 6 ตัว A,B,C,D,E,F) เป็นระบบตัวเลขที่สร้างขึ้นมาเพื่อระบบคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ

ต่อใบงานที่2

 ใบงานที่ 51.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์       เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยกิกะฟลอบ 2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม  หรือใช้สำหรับคำนวนผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เช่น สำมะโนประชากร  เป็นต้น3.มินิคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์ขนาดกลาง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้  เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่4.ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรืดเรียกว่า พีซี สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์ โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นบนเครือข่าย5.คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น และเป็นที่คาดการว่าจะถูกทดแทนโดยคอมพิวเตอร์แบบพกพาในอนาคตอันใกล้นี้6.คอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุ๊ค เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก  ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ 1.5 - 3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี7.คอมพิวเตอร์มือถือ หมายถึงขนาดของคอมพิวเตอร์มือถือ ต้องมีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา ขนาดโดยทั่วไปต้องบรรจุลงในกระเป๋าเสื้อได้สนนราคาต้องไม่สูงมากนัก เพราะคอมพิวเตอร์กลุ่มนี้เน้นการใช้งานส่วนตัวที่จำเป็น คอมพิวเตอร์มือถือในปัจจุบันยังอยู่ในยุคแรก ซึ่งกำลังจะเติบโตไปข้างหน้าอีกมาก เชื่อแน่ว่าในไม่ช้าเราจะได้เห็นขีดความสามารถของคอมพิวเตอร์มือถือเหล่านี้ไม่แตกต่างจากที่เราเห็นพีซีในปัจจุบัน   ที่มา   http://www.ku.ac.th/  th.wikipedia.org/wiki

รูปภาพของ pncpeerapan

                                                               ใบงานที่5 

1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็น คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง แต่จะมีราคาแพงที่สุด รวมทั้งต้องอยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละออง

 2. เมนเฟรม (Mainframe) เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ 1.1 Host processor เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณ 1.2 Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้ 1.3 Bank-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล

 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) มินิ คอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยม จากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง เพราะมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทำงานได้ช้ากว่าการควบ คุมผู้ใช้งานต่าง ๆ

 4. เวิร์คสเตชัน (Workstation) ถูกออก แบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคำนวนด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกต่าง ๆ

 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยม ความนิยมในปัจจุบันจะมี 2 ชนิดคือ Apple Macintosh และ IBM PC

 6. คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers) เป็น คอมพิวเตอร์แบบใหม่ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนวคอมพิวเตอร์อินเตอร์เนต คอมพิวเตอร์เครือข่ายหรือที่นิยม

 7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ ทำให้มองไม่เห็นรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยมใช้ในการทำงานเฉพาะด้านโดยควบคุมการทำงาน

นาย  พีรพันธ์  ดีล้วน  ม.4/2  เลขที่5

รูปภาพของ pncpeerapan

ใบงานที่  4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้600เมกะไบต์
2. ดีวีดี จุข้อมูลได้
  4.7-17 GB

3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่นบลูทูทช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมต่อกันได้ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 1 เมกะบิตต่อวินาที จนถึงรุ่น 1.2 เมตร
4.
Lan  คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายในพื้นที่ (Local Area Network, LAN) เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันทั้งหมดโดยอาศัยสื่อกลาง

 5. ฮับ ทำหน้าที่ จ่ายข้อมุล หรือเชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์
ที่มา :
   http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/32/hardware/htmls/index8.htmhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B8%98http://www.bcoms.net/webboard/detail.asp?id=17518

นาย พีรพันธ์  ดีล้วน ม.4/2 เลขที่5

รูปภาพของ pncpeerapan

ใบงานที่ 3

1.คอมพิวเตอร์ คือ การแสดงหาสารสนเทคเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถรับโปรแกรมและข้อมูลได้

2.หน่วยรับเข้า คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำ

3.หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน้าที่คำสั่งและข้อมูมที่เก็บไว้ในหน่วยความจำมาแปลความหมายและการกระทำตามคำสั่ง

4.หนว่ยส่งออก คือ แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทคที่ได้รับจากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจอุปกรณ์ที่ส่งออก

5.หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำหลักที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดตรง

6.หน่วยความจำหลักแบบแกไขหรือแรม คือ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มหรือหน่วยความจำชั่วคราว

7.หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดหลักที่มีความสูงซึ่งเก็บข้อมูลเป็นหน่วยที่ใช้งานได้บ่อยๆที่สุด

8.หน่วนควาใจสำรอง คือ มีหน้าที่เก็บข้อมูมหรือโปรแกรมสำรองสามารถจัดเก็บข้อมูลใช้ในภายหลัง

9.ฮาร์ดสก์ คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มากสามรถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า

10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์เป็นอุปกรณืที่สำคัญรองมาจากซีพียู

นาย พีรพันธ์  ดีล้วน ม.4/2 เลขที่5

ใบงานที่ 5
1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (
Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B% E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง คือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น สำมะโนประชากร สถิติผู้บริโภค การบริหารทรัพยากรขององค์กร
ที่มา
:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B 8%99%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง คือ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กันได้ที่มา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=311abf9bc59b6728
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง คือ คอมพิวเตอร์ที่มีไมโครโพรเซสเซอร์เป็นหน่วยประมวลผลกลาง คุณสมบัติประการหนึ่งของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้คือ จะกินพื้นที่น้อยกว่าเมื่อเทียบกับมินิคอมพิวเตอร์
ที่มา
:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B 8%84%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
5.
 คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น และเป็นที่คาดการว่าจะถูกทดแทนโดยคอมพิวเตอร์แบบพกพา(labtop)ในอนาคตอันใกล้นี้
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8% 9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง ๆ ได้สะดวก  ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรีคะ มีน้ำหนักประมาณ
1.5 - 3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี
ที่มา
:
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12
7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง
คอมพิวเตอร์ปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ โดยที่ คอมพิวเตอร์ คาดว่าจะมีการขนส่งในระหว่างการใช้งานปกติ
Mobile computing has three aspects: mobile communication, mobile hardware, and mobile software. คอมพิวเตอร์มือถือที่มีสามด้าน : การสื่อสารเคลื่อนที่, ฮาร์ดแวร์โทรศัพท์มือถือและซอฟต์แวร์มือถือ The first aspect addresses communication issues in ad-hoc and infrastructure networks as well as communication properties, protocols

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคำนวณที่ต้องมีการคำนวณตัวเลขจำนวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามาตั้งแต่เริ่มแรก เหตุที่เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครื่องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามาตั้งแต่เริ่มแรก4. ไมโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรือเรียกว่า พีซี (Personal Computer : PC)5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนำติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ มีขนาดเล็ก
 

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง โปรแกรม Sanook! QQ เวอร์ชั่นสำหรับใช้กับโทรศัพท์มือถือ เพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสาร ให้กับผู้ใช้ QQ ได้มีโอกาสติดต่อกันมากขึ้น โดยไม่ได้จำกัดอยู่แค่ที่ หน้าจอคอมพิวเตอร์เท่านั้น

 ที่มา : http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/index2.htm#main_com  http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0 http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C  http://qq.sanook.com/sms/sms_for_mobile.php นายพลอง  ศรีสำราญ  ชั้นม.4/4  เลขที่3

 

ใบงานที่  4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้600เมกะไบต์
2. ดีวีดี จุข้อมูลได้
  4.7-17 GB

3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่นบลูทูทช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถเชื่อมต่อกันได้ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 1 เมกะบิตต่อวินาที จนถึงรุ่น 1.2 เมตร
4.
Lan  คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายในพื้นที่ (Local Area Network, LAN) เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันทั้งหมดโดยอาศัยสื่อกลาง

 5. ฮับ ทำหน้าที่ จ่ายข้อมุล หรือเชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์
ที่มา :
   http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/tech04/32/hardware/htmls/index8.htmhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B8%98http://www.bcoms.net/webboard/detail.asp?id=17518

นายพลอง  ศรีสำราญ ชั้นม.4/4 เลขที่ 3

ใบงานที่  4
1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้....เมกะไบต์:จุข้อมูลได้700 เมกะไบต์
2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ .......กิกะไบต์: 8.5 กิกะไบต์
3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น......ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ ..... เมตร:เป็นคลื่นวิทยุ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 5- 10 เมตร
4. Lan  คือ :เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน 5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ :เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

 ใบงานที่ 3

1.คอมพิวเตอร์ คือ การแสดงหาสารสนเทคเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สามารถรับโปรแกรมและข้อมูลได้

2.หน่วยรับเข้า คือ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำ

3.หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน้าที่คำสั่งและข้อมูมที่เก็บไว้ในหน่วยความจำมาแปลความหมายและการกระทำตามคำสั่ง

4.หนว่ยส่งออก คือ แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทคที่ได้รับจากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจอุปกรณ์ที่ส่งออก

5.หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำหลักที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดตรง

6.หน่วยความจำหลักแบบแกไขหรือแรม คือ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มหรือหน่วยความจำชั่วคราว

7.หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดหลักที่มีความสูงซึ่งเก็บข้อมูลเป็นหน่วยที่ใช้งานได้บ่อยๆที่สุด

8.หน่วนควาใจสำรอง คือ มีหน้าที่เก็บข้อมูมหรือโปรแกรมสำรองสามารถจัดเก็บข้อมูลใช้ในภายหลัง

9.ฮาร์ดสก์ คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลได้มากสามรถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้า

10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์เป็นอุปกรณืที่สำคัญรองมาจากซีพียู

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

6. รหัสเอบซีดิก คือ ารกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี
แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน
โดยรหัสเอ็บซิดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระ

http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm
7. รหัสยูนิโค้ด  คือ รหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ
รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก
2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น
คือใช้เลขฐานสอง
16 บิตในการแทนตัวอักษร

http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ
หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด
เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู
input device เปรียบเทียบ

http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/

9. ระบบเลขฐานสอง อธิบาย  ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง
มีสัญญลักษณ์
2 ตัว คือ 0 กับ 1
ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอ

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec01p01.html

10. ระบบเลขฐานแปด  อธิบาย ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec02p01.html

11.ระบบเลขฐานสิบหก  อธิบาย มีทั้งหมด
16 ตัว คือ
0  1  2  3  4  5  6  7
8  9  A  B  C  D  E  F

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec03p01.html

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

4. spss คือ เป็นโปรแกรมที่ช่วยประมวลผลทางสถิติ

5. รหัสแอสกี คือ เป็นสัญลักษณ์ต่างๆโดยแต่ละรหัสจะแทนตัวขระหนึ่งตัว

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

3. บุคลากร คือ  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้
4 ระดับ 1. ผู้จัดการระบบ (System
Manager) 
2. นักวิเคราะห์ระบบ
(
System Analyst) 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 4. ผู้ใช้ (User)

นาย ศิริวิชญ์ หินทองหลาง ม.4/3 เลขที่ 5

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 542 คน กำลังออนไลน์