ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

 

เว็บเกี่ยวกัีบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 

รูปภาพของ pncthawisak

 ใบงานที่3

1. คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบัน แทบทุกวงการล้วนนำคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องกับการใช้งาน จนกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินชีวิตและการทำงานในชีวิตประจำวัน 

2. หน่วยรับเข้า คือ เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์  ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมูลที่จะป้อนเข้าไป เช่น   ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพิมพ์ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเครื่อง

3. หน่วยประมวลผลกลาง คือมีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เช่น cpu เป็นต้น

 4. หน่วยส่งออก คือ ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์   เช่น จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer)

 5. หน่วยความจำหลัก คือ ทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ ได้แก่

1. ชุดชิพเซ็ต 2. หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ 3. หน่วยความจำแคชระดับสอง

6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ หน่วยความจำ ที่เก็บข้อมูล สำหรับใช้งาน ทั่วไป  มี  การอ้างอิง ตำแหน่งที่อยู่ของข้อมูล เป็นต้น


7. หน่วยความจำแคช คือ การใช้วิธีนำหน่วยความจำแบบแรมมาเพิ่มความเร็วของอุปกรณ์เหล่านั้น อันจะทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์โดยรวมเร็วขึ้นมาก

8. หน่วยความจำสำรอง คือ แรม ที่เป็น หน่วยความจำหลัก ส่วนที่ใช้งาน ไม่สามารถ เก็บโปรแกรม หรือข้อมูล ไว้นาน ได้ เพราะเมื่อ ปิดเครื่อง หรือไฟฟ้าดับ ข้อมูล ที่เก็บอยู่ใน แรมจะหายไป ดังนั้น จึงต้อง มีหน่วยความจำรอง เพื่อใช้ เก็บข้อมูล ที่ต้องการใช้งานต่อ และหากต้องการ ใช้งาน เมื่อไรก็จะถ่าย จาก หน่วยความจำรอง มาไว้ ที่หน่วยความจำหลัก ที่เป็น แรมเพื่อ ให้หน่วย ประมวลผล ทำงาน หน่วยความจำรอง ที่ใช้กัน ในระบบ คอมพิวเตอร์


9. ฮาร์ดดิสก์ คือ ประกอบด้วย แผ่นบันทึก แบบแข็ง ที่เคลือบสาร แม่เหล็ก หลายแผ่น เรียงซ้อนกัน หัวอ่าน ของหน่วยขับ จะมีหลายหัว ในขณะที่ แผ่นบันทึก แต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะเคลื่อนที่ เข้าออก


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ เช่น 1. ชุดชิพเซ็ต 2.หน่วยความจำรอมไบออส และแบตเตอรรี่แบ็คอัพ 3. หน่วยความจำแคชระดับสอง

ทีมา : http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/menu1.htm  http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/second.htm

http://www.com5dow.com/basic-computer/7-Mainboard-%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html

นายทวีศักดิ์  พฤกษารา  ม.4/4 เลขที่ 8

รูปภาพของ pncthanathip

ใบงานที่ 3 
1.คอมพิวเตอร์คืออะไร

คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องมือทางอิเล็คทรอนิคส์
ที่ช่วยผ่อนแรงงานทางด้านสมอง ให้กับมนุษย์

ขนาดของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแบ่งออกเป็น 3 ขนาดคือ

Main Frame Computer (เมนเฟรมคอมพิวเตอร์) 

Mini Computer(มินิคอมพิวเตอร์)

Micro Computer (ไมโครคอมพิวเตอร์)

2.หน่วยรับเข้า คือ  เป็นอุปกรณ์รับเข้าทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่คือ เช่น แผงแป้นอักขระ (
keyboard) และเมาส์ (mouse)

3.หน่วยประมวลผลกลาง หรือที่เรานิยมเรียกกันย่อ ๆ ว่า CPU  คือ ศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุมระบบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กันคะ
เช่น  

       CPU
AMD athlon x2

4.หน่วย ส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถ
เข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์
    ที่นิยมทั่วไปคือ
จอภาพ (
monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออก

5.คือ
หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง
หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ
และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
แบ่งได้ 
1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile
memory)

 6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ หรือที่เรียกว่า
แรม
( Ram ) หมาย
ถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพราะอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลอื่น
จะมีความเร็วในการอ่านและบันทึกข้อมูลช้ามาก
ขณะที่ซีพียูทำงานจึงต้องทำงานกับหน่วยความจำแรมที่มีความเร็วสูง
ถ้าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำมากก็สามารถทำงานได้เร็วขึ้น

7.CACHE คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ
เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน
CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้
SRAM จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
ซึ่งใช้
DRAM หลายเท่าตัว

8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก
แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล
และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

9
ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำ
งาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด 
ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี

10  เมนบอร์ด เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม
ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์
ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส
บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ


thanathip virunsak ม. 4/2 เลขที่ 3 

ที่มา
www.kingsolder.com   www.thaiwbi.com   www.chakkham.ac.th http://pirun.ku.ac.th  www.thaigoodview.com 

รูปภาพของ pncmaythawee

ใบงานที่3

 1.คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"

 2. หน่วยรับเข้า คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น เมาส์ จอสัมผัส

 3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในซิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์" ซึ่งจะทำการประมวลผลข้อมูลจากหน่วยความจำแล้วส่งผลไปยังหน่วยส่งออกต่อไปเช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล

 4. หน่วยส่งออก คือ แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ ที่นิยมทั่วไปคือเครื่องพิมพ์ (Printer) อุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมาก เช่นจอภาพ (monitor)

 5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล แบ่งได้ แบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูล 1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory) คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว หากไฟฟ้าดับ คือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ กับวงจรหน่วยความจำ ข้อมูลที่เก็บไว้จะหายไปหมด 2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory) คือ หน่วยความจำเก็บข้อมูลได้ โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร

 6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรม และข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอก หรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้ หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้ มี 1. ไดนามิกแรมหรือดีแรม (Dynamic RAM: DRAM) 2. Static Random Access Memory (SRAM)

 7. หน่วยความจำแคช คือส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (Memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก

8. หน่วยความจำสำรอง คือ ส่วนความจำรอง (Secondary memory) ใช้เป็นส่วนเพิ่มความจำ ให้มีขนาดใหญ่มากขึ้น ทำงานติดต่อยู่กับส่วนความจำหลัก ส่วนความจำรองมีความจุมากและมีราคาถูก แต่เรียกหาข้อมูลได้ช้ากว่าส่วนความจำหลัก

 9.ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้มักจะมีขนาดใหญ่หรือมักจะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง ๆ มากมาย

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิสก์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ

 ที่มา : www. zonehardwares.siam108site.com/mainbord.html

รูปภาพของ pncuntika

Tongue outใบงานที่ 3

1. คอมพิวเตอร์ คือ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"

ทีมา : http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm


2. หน่วยรับเข้า คือ หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท ดังนี้ แผงแป้นอักขระ (keyboard) เมาส์ (mouse)แทร็กบอล (trackball)ก้านควบคุม (joystick) เครื่องกราดตรวจ (scanner)จอสัมผัส (touch screen)

ทีมา : http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm


 3. หน่วยประมวลผลกลาง คือหรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสองประกอบด้วยส่วนใหญ่ ๆ 2 ส่วน คือ หน่วยคำนวณ และ หน่วยควบคุม

ทีมา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm


4. หน่วยส่งออก คือ ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ ที่นิยมทั่วไปคือ จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมาก

ทีมา : http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm


 5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วยแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูล 1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory) 2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)

ทีมา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm


 6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้โปรเซสเซอร์ก็จะทำงานไม่ได้เลย DRAM (Dynamic RAM) SRAM (Static RAM)

ทีมา : http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard2.htm


7. หน่วยความจำแคช คือ CACHE คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

ทีมา : http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html


 8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

 ทีมา :http://www.thaigoodview.com


9. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้มักจะมีขนาดใหญ่หรือมักจะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง ๆ มากมาย จนไม่สามารถที่จะใช้บนแผ่นดิสก์ต่อไปได้

ทีมา : http://atthawat.8m.com/a2.htm


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ. เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมาย

 ทีมา : http://www.sglcomp.com


ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ
เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C



2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
แผงแป้นอักขระ (
keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด
เมาส์
(mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ (keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลัง
แทร็กบอล
(trackball) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายเมาส์ แต่มีลูกกลิ้งกลมมาวางอยู่ด้านบน
ก้านควบคุม
(joystick)  เป็นอุปกรณ์การทำงานลักษณะเดียวกับเมาส์ มีลักษณะเป็นกล่อง
เครื่องกราดตรวจ
(scanner)  เป็นอุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ที่มีหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด ให้เป็นข้อมูล

 



3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์"
.หน่วยควบคุม  ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
.น่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล

 



4. หน่วยส่งออก คือ
คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล
จอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์แบบชั่วคราวแสดงผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว ทำหน้าที่แสดงอักษร ข้อความ และภาพกราฟิก

เครื่องพิมพ์ (printer)  เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จาก การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของตัวอักษร ข้อความหรือรูปภาพลงกระดาษ
อุปกรณ์เสียง (Audio Output) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ประกอบขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)

 



5. หน่วยความจำหลัก คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งานได้
1. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลทั่วไป หน่วยความจำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร
2. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม

 



6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
-DRAM หรือ (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัดประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัว
-SRAM หรือ (Static RAM) จะทำงานแตกต่างจาก Dynamic RAM และจัดว่าเป็ฯอุปกรณ์ดิจิตอล ที่มีการจัดเรียงอึปรณ์ภายในเป็นลักษณะเดียวกบโครงสร้างของโปรเซสเซอร์ ใน SRAM ค่าไบนารี่ “0” หรือ“1”
ที่มา
:
http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3

 



7. หน่วยความจำแคช คือ ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก
ที่มา :
http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%8A/

 



8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
ที่มา
:   
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta _v/computer/sec04p01.html

 



9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C

 



10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ที่มา
:  http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106

 


รูปภาพของ pncJirarat

ใบงานที่ 3

ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ
เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C



2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
แผงแป้นอักขระ (
keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด
เมาส์
(mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ (keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลัง
แทร็กบอล
(trackball) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายเมาส์ แต่มีลูกกลิ้งกลมมาวางอยู่ด้านบน
ก้านควบคุม
(joystick)  เป็นอุปกรณ์การทำงานลักษณะเดียวกับเมาส์ มีลักษณะเป็นกล่อง
เครื่องกราดตรวจ
(scanner)  เป็นอุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ที่มีหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด ให้เป็นข้อมูล

3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์"
.หน่วยควบคุม  ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
.น่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล

4. หน่วยส่งออก คือ
คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล
จอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์แบบชั่วคราวแสดงผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว ทำหน้าที่แสดงอักษร ข้อความ และภาพกราฟิก

เครื่องพิมพ์ (printer)  เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จาก การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของตัวอักษร ข้อความหรือรูปภาพลงกระดาษ
อุปกรณ์เสียง (Audio Output) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ประกอบขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)

5. หน่วยความจำหลัก คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งานได้
1. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลทั่วไป หน่วยความจำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร
2. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม

6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
-DRAM หรือ (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัดประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัว
-SRAM หรือ (Static RAM) จะทำงานแตกต่างจาก Dynamic RAM และจัดว่าเป็ฯอุปกรณ์ดิจิตอล ที่มีการจัดเรียงอึปรณ์ภายในเป็นลักษณะเดียวกบโครงสร้างของโปรเซสเซอร์ ใน SRAM ค่าไบนารี่ “0” หรือ“1”
ที่มา
:
http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3

7. หน่วยความจำแคช คือ ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก
ที่มา :
http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%8A/

8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
ที่มา
:   
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta _v/computer/sec04p01.html

9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ที่มา
:  http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106
รูปภาพของ pncJirarat

ใบงานที่ 2

ใบงานที่ 2
1.ฮาร์ดแวร์
  คือ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม)
ที่มา
: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page41.htm
2. ซอฟต์แวร์
  คือ
เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
-ซอฟต์แวร์ระบบ (
System/Infrastructure software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์
-
โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (
Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไป
-
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (
Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ 
3. บุคลากร คือ
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ
 
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. ผู้ใช้ (User) 
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม
ที่มา
:  
http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm
4.
spss  คือ เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป
ที่มา
:
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33a
5. รหัสแอสกี คือ เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (
A) พิมพ์ใหญ่
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA %E0%B8%81%E0%B8%B5
6. รหัสเอบซีดิก คือ เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ
IBM OS-390
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0% B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81
7. รหัสยูนิโค้ด
  คือ
ใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร
ที่มา
: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm
8. อุุปกรณ์ส่งออก (
Output Device) คือ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด
ที่มา
: http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0% B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/
9. ระบบเลขฐานสอง คือ
ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0% B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87
10. ระบบเลขฐานแปด
 คือ
ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0% B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%94
11.ระบบเลขฐานสิบหก
 คือ
ระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษรณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0 %B8%90%E0%B8

รูปภาพของ pncparit

ใบงานที่21.ฮาร์ดแวร์  คือ อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบคอมพิวเตอร์ เช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผล, อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า หรือแสดงผลข้อมูลที่มา http://www.bcoms.net/webboard/detail.asp?id=85642. ซอฟต์แวร์  คือ      มี3ประเภท  1. ซอฟท์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาใช้งานเอง เป็นซอฟท์แวร์ที่ทางบริษัทได้จ้างโปรแกรมเมอร์หรือบริษัทเข้ามารับผิดชอบกับการเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะบริษัทเอง
          2.
ซอฟท์แวร์สำเร็จรูป (Package) ซอฟท์แวร์สำเร็จรูป เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาต่าง ๆ ของการจัดทำซอฟท์แวร์ขึ้นมาใช้งานเอง
          3.
ซอฟท์แวร์ที่เป็นกึ่งสำเร็จรูป (Package) ซอฟท์แวร์กึ่งสำเร็จรูปเป็นอีกหนึ่งทางเลือกหากผู้ประกอบการต้องการใช้งานซอฟท์แวร์ที่สามารถปรับเปลี่ยนรายละเอียดให้เข้ากับงานได้ โดยส่วนใหญ่ซอฟท์แวร์ประเภทนี้จะสร้างงานที่เป็นพื้นฐานมาให้แล้วผู้ประกอบการสามารถที่จะนำมาปรับเปลี่ยนในรายละเอียด หรือข้อมูลให้เข้ากับกิจการหรือการทำงานแต่ละส่วนได้ ปัจจุบันซอฟท์แวร์ส่วนใหญ่จะสร้างออกมาในรูปแบบนี้และหากมีบริการที่ดีก็จะมีทีมงานเข้ามาช่วยเหลือ ในด้านการให้คำแนะนำหากเกิดปัญหาในการใช้งาน ซึ่งไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่สูงมากที่มา http://guru.sanook.com/answer/question/%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C_%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97/3. บุคลากร คือ    1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=735f5fb95c3f9ee94. spss  คือ  เป็นโปรแกรมที่เขียน
ขึ้นมา ตั้งแต่สมัยคอมพิวเตอร์ส่วนบุคลยังไม่มี ดังนั้นลักษณะการทำงานในรุ่นแรกๆ
จะยืนอยู่บนรากฐานของการทำงานแบบดั้งเดิม กล่าวคือ ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งลงใน
บัตรเจาะรูแล้วส่งให้ผู้คุมเครื่องเป็นคนจัดการทำงานต่อ แต่เมื่อมีกาพัํฒนาเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ขึ้น SPSS ก็ได้พัฒนาโปรแกรมสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์โดยออก
SPSS รุ่น pc ที่เรียกว่า SPSS/PC+ และเนื่องจากไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นแรกๆ นิยม
ใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS ซึ่งยังมีลักษณะการทำงานคล้ายกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ (Mainframe) เพียงแต่ในส่วนคำสั่ง spss ที่เขียนเสร็จแทนที่จะใช้บัตร
เจาะรูแล้วส่งให้ผู้คุมเครื่องเป็นคนสั่งงานต่อ ผู้ใช้จำเป็นจะต้องพิมพ์ข้อมูลลงในแผ่น
ข้อมูลแทนการใช้บัตรเจาะรูและแทนที่จะส่งให้ผู้คุมเครื่องเป็นคนช่วยทำต่อ ผู้ใช้จะต้อง
ทำเองทั้งหมด
ที่มา http://student.nu.ac.th/piya_tada/index.html5. รหัสแอสกี คือ  หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่

ที่มา http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B9%81%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B5/

รูปภาพของ pncparit

-

รูปภาพของ pncnitida

SmileSmileSmileใบงานที่ SmileSmileSmile

1.คอมพิวเตอร์คือ:
คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศเป็น
 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูลประมวลผลสื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้      

  2.หน่วยรับเข้าคือ:หน่วยรับเข้าหรือInputทำหน้าที่รับโปรแกรมข้อมูลหรือคำสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้วส่งไปที่หน่วยความจำเพื่อ
เตรียมประมวลผลหน่วยรับเข้าแบ่งเป็นประเภทย่อยๆได้เช่น

 1.อุปกรณ์รับเข้าแบบกดยกตัวอย่างเช่นแผงแป้นอักขระนิยมเรียกว่าคีย์บอร์ดใช้พิมพ์คำสั่งข้อมูลเข้าไปเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ต้องมี

 2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่งที่เราคุ้นเคยกันก็คือเม้าส์  

 3.หน่วยประมวลผลกลางคือ:หน่วยประมวลผลกลางCPUคือศูนย์กลางกลางประมวล ผลและควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ให้ทุก หน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กันเช่น ควบคุมการทำงานของความจำหลักรับข้อหน่วยคำนวณและตรรกะหน่วยแสดงผล และเก็บข้อมูลต่างๆ

 4.หน่วยส่งออกคือ:หน่วยที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจอุปกรณ์ส่ง ออกที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์เช่นที่เรานิยมทั่วไปคือจอ(monitor)และเครื่องพิมพ์ (printer)

5.หน่วยความจำหลัก:หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลางและหน่วย ประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรงหน่วย ความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลและชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผลแบ่งได้

  1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile
memory)คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้วหากไฟฟ้าดับคือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ วงจรหน่วยความจำข้อมูลที่เก็บไวจะหายไปหมด

     2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)คือหน่วยความจำเก็บข้อมูลได้โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร 

6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม:คุณลักษณะที่สำคัญของRAM มีอยู2 ประการคือประการแรกสามารถอ่านหรือบันทึก             ข้อมูลได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้าประการที่สอง ข้อมูลที่เก็บอยู่นั้นเป็นการเก็บไว้ชั่วคราวหน่วยความจำ          RAM จะต้องได้รับพลังงานไฟฟ้ามาป้อนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งเราสามารถแบ่งออกเป็น2ประเภทใหญ่คือ DRAM  และ SRAM

7.หน่วยความจำแคชคือ:หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือเรียกใช้บ่อยๆข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ในcache

8.หน่วยความจำสำรอง:อุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ
หน่วยความจำหลักแต่ต่างจากหน่วยความจำหลักหน่วยความจำรอง
 สามารถจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

9.ฮาร์ดดิสก์คือ:อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงานการติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ดที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนานแบบอนุกรมและแบบเล็ก

10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ดคือ:เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียูเมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุมดูแลและจัดการๆทำงานของอุปกรณ์ชนิดต่างๆแทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ซีพียูไปจนถึงหน่วยความจำแคชหน่วยความจำหลักฮาร์ดดิกส์ระบบบัสบนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆมากมาย   

ที่มา : http://www.school.net.th/library/snet1/index.html

รูปภาพของ pncnitida

 SmileSmileSmileใบงาน ที่2 SmileSmileSmile

 

1.ฮาร์ดแวร์   
หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้

 2.ซอฟแวร์ หมาย
ถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม)
เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำ
งาน
ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง
คอมพิวเตอร์มี 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System
Software) คือ
ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง
และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล

 3.บุคลากร
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้
4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ
ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ
ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) คือ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
และวิธีการใช้งานโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
 

 

4.SPSS คือ เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย
ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี

มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป


แต่การนำ

spss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก
ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้

SPSS มานำเสนอ

 

5.แอสกี หรือ
รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ [1] (อังกฤษ:
ASCII: American Standard Code for Information Interchange)
เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน
และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65
(เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (
A) พิมพ์ใหญ่

 6.เอบซีดิก หรือ
รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษ:
EBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)
เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท
IBM
ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่

 7.ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode)
คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความตัวอักษร
ที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน

 8.อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทำ
หน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล
โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก
อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่ คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์

 

9เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมาย


ถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง)
บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด
, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา
เป็นต้น

 

10.ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด
มีตัวเลขอยู่
8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7


11.ระบบเลขฐาน 16  มีตัวเลขอยู่ 16
ตัว  คือ
0  1  2  3  4  5  6  7  8  9
A  B  C  D  E  F

 

ที่ มา : http://www.school.net.th/library/snet1/index.html

( แก้ไขค่ะอันเก่าผิด )
InnocentYellTongue out

รูปภาพของ pncArtitaya

ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ
เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
แผงแป้นอักขระ (
keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด
เมาส์
(mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ (keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลัง
แทร็กบอล
(trackball) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายเมาส์ แต่มีลูกกลิ้งกลมมาวางอยู่ด้านบน
ก้านควบคุม
(joystick)  เป็นอุปกรณ์การทำงานลักษณะเดียวกับเมาส์ มีลักษณะเป็นกล่อง
เครื่องกราดตรวจ
(scanner)  เป็นอุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ที่มีหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด ให้เป็นข้อมูล
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์"
.หน่วยควบคุม  ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
.น่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล
4. หน่วยส่งออก คือ
คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล
จอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์แบบชั่วคราวแสดงผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว ทำหน้าที่แสดงอักษร ข้อความ และภาพกราฟิก

เครื่องพิมพ์ (printer)  เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์ที่ได้จาก การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของตัวอักษร ข้อความหรือรูปภาพลงกระดาษ
อุปกรณ์เสียง (Audio Output) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ประกอบขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)
5. หน่วยความจำหลัก คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งานได้
1. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลทั่วไป หน่วยความจำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร
2. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม
6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
-DRAM หรือ (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัดประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัว
-SRAM หรือ (Static RAM) จะทำงานแตกต่างจาก Dynamic RAM และจัดว่าเป็ฯอุปกรณ์ดิจิตอล ที่มีการจัดเรียงอึปรณ์ภายในเป็นลักษณะเดียวกบโครงสร้างของโปรเซสเซอร์ ใน SRAM ค่าไบนารี่ “0” หรือ“1”
ที่มา
:
http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3
7. หน่วยความจำแคช คือ ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก
ที่มา :
http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%8A/
8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
ที่มา
:   
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta _v/computer/sec04p01.html
9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C
10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ที่มา
:  http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106

 

รูปภาพของ pncArtitaya

ใบงานที่ 2
1.ฮาร์ดแวร์
  คือ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม)
ที่มา
: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page41.htm
2. ซอฟต์แวร์
  คือ
เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
-ซอฟต์แวร์ระบบ (
System/Infrastructure software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์
-
โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (
Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไป
-
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (
Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ 
3. บุคลากร คือ
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ
 
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. ผู้ใช้ (User) 
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม
ที่มา
:  
http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm
4.
spss  คือ เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป
ที่มา
:
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33a
5. รหัสแอสกี คือ เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (
A) พิมพ์ใหญ่
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA %E0%B8%81%E0%B8%B5
6. รหัสเอบซีดิก คือ เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ
IBM OS-390
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0% B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81
7. รหัสยูนิโค้ด
  คือ
ใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร
ที่มา
: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm
8. อุุปกรณ์ส่งออก (
Output Device) คือ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด
ที่มา
: http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0% B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/
9. ระบบเลขฐานสอง คือ
ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา
ที่มา
:
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0% B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87
10. ระบบเลขฐานแปด
 คือ
ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0% B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%94
11.ระบบเลขฐานสิบหก
 คือ
ระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษรณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0 %B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%81
  

รูปภาพของ pncArtitaya

ใบงานที่ 1
1.ระบบสารสนเทศ  คือ ชุดขององค์ประกอบที่ทำหน้าที่รวบรวม  ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร
ที่มา : http://blog.eduzones.com/dena/4892
2. ข้อมูล  คือ  ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งที่ต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมที่นักคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นเพื่อผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา
ที่มา
: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page44.htm
3. สารสนเทศ คือ เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0% B8%AA%E0%B8%99% E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8
4. เทคโนโลยี  คือ  การนำความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9 %82%E0%B8%99% E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5
5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9% 82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8  

รูปภาพของ pncwannasiri
  
             


                                                                                                        ใบงานที่3

         1.คอมพิวเตอร์คือ:คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่การแสวงหาสารสนเทศเป็น                   อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูลประมวลผลสื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้                                                                                                                                                                                                                                                                                                  ที่มา:http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/201/computer/meaning.html

         2.หน่วยรับเข้าคือ:หน่วยรับเข้าหรือInputทำหน้าที่รับโปรแกรมข้อมูลหรือคำสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้วส่งไปที่หน่วยความจำเพื่อ                เตรียมประมวลผลหน่วยรับเข้าแบ่งเป็นประเภทย่อยๆได้เช่น

        1.อุปกรณ์รับเข้าแบบกดยกตัวอย่างเช่นแผงแป้นอักขระนิยมเรียกว่าคีย์บอร์ดใช้พิมพ์คำสั่งข้อมูลเข้าไปเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ต้องมี

        2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่งที่เราคุ้นเคยกันก็คือเม้าส์  

         ที่มา: http://srayaisom.dyndns.org/hardware/input.ht

        3.หน่วยประมวลผลกลางคือ:หน่วยประมวลผลกลางCPUคือศูนย์กลางกลางประมวล ผลและควบคุมระบบของคอมพิวเตอร์ให้ทุก           หน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กันเช่น

        ควบคุมการทำงานของความจำหลักรับข้อหน่วยคำนวณและตรรกะหน่วยแสดงผล และเก็บข้อมูลต่างๆ

        ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1319be51ee9dc51f

        4.หน่วยส่งออกคือ:หน่วยที่ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจอุปกรณ์ส่ง              ออกที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์เช่นที่เรานิยมทั่วไปคือจอ(monitor)และเครื่องพิมพ์ (printer)

         ที่มา: http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm

         5.หน่วยความจำหลัก:หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลางและหน่วย ประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรงหน่วย              ความจำชนิดนี้จะเก็บข้อมูลและชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผลแบ่งได้

     1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้วหากไฟฟ้าดับคือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้              วงจรหน่วยความจำข้อมูลที่เก็บไวจะหายไปหมด

     2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)คือหน่วยความจำเก็บข้อมูลได้โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร                                                                                                                                                                                                                                                                ที่มาhttp://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm

     6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม:คุณลักษณะที่สำคัญของRAM มีอยู2 ประการคือประการแรกสามารถอ่านหรือบันทึก             ข้อมูลได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้าประการที่สอง ข้อมูลที่เก็บอยู่นั้นเป็นการเก็บไว้ชั่วคราวหน่วยความจำ          RAM จะต้องได้รับพลังงานไฟฟ้ามาป้อนอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ซึ่งเราสามารถแบ่งออกเป็น2ประเภทใหญ่คือ DRAM                             และ SRAM

      ที่มา: http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3

 

7.หน่วยความจำแคชคือ:หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือเรียกใช้บ่อยๆข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ในcache

ที่มา: http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html

8.หน่วยความจำสำรอง:อุปกรณ์ที่มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลักแต่ต่างจากหน่วยความจำหลักหน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=132e3d58af77c4ee

9.ฮาร์ดดิสก์คือ:อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงานการติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ดที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนานแบบอนุกรมและแบบเล็ก

ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=089a7c769e7b64ef

10.แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ดคือ:เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียูเมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุมดูแลและจัดการๆทำงานของอุปกรณ์ชนิดต่างๆแทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ซีพียูไปจนถึงหน่วยความจำแคชหน่วยความจำหลักฮาร์ดดิกส์ระบบบัสบนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆมากมาย   

ที่มา: http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp

 

       

 

 

ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. หน่วยรับเข้า คือ
รับโปรแกรม ข้อมูลหรือคำสั่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์แล้วส่งไปที่หน่วยความจำเพื่อเตรียมประมวลผล
1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด ยกตัวอย่างเช่น แผงแป้นอักขระ นิยมเรียกว่า คีย์บอร์ด ใช้พิมพ์คำสั่ง ข้อมูลเข้าไป เป็นอุปกรณ์พื้นฐาน
2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่ง ที่เราคุ้นเคยกันก็คือ เมาส์
3 อุปกรณ์รับเข้าแบบปากกา อุปกรณ์เหล่านี้จะมีรูปร่างเหมือนปากกา แต่มีแสงที่ปลาย
4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส
หรือเรียกว่า ทัชสกรีน เป็นจอพิเศษ เป็นจอพิเศษ
5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกราดตรวจ
ที่มา : http://srayaisom.dyndns.org/hardware/input.htm
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ
เป็นวงจรอิเลคทรอนิกส์ที่ทำงาน หรือประมวลผลตามชุดของคำสั่งเครื่องจากซอฟต์แวร์คำนี้เริ่มใช้ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ต้นศตวรรษ 1960s
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0% B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%87
4. หน่วยส่งออก คือ
ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วยความจำหลัก
1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป
2.  เครื่องพิมพ์ (printer)  เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยีการพิมพ์
3. ลำโพง (Speaker) ลำโพงทำหน้าที่แสดงผลออกมาในรูปแบบเสียง ซึ่งจะทำงานรวมับอุกรณ์การ์ดเสียง (Sound Card)
ที่มา
: http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/32/p3-4.html
5. หน่วยความจำหลัก คือ
หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว
1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว หากไฟฟ้าดับ
2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน
คือ หน่วยความจำเก็บข้อมูลได้ โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร
ที่มา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm
6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ สามารถอ่านหรือบันทึกข้อมูลได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้า
-DRAM หรือ (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัดประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัว capacitor เป็นระยะอยู่เสมอ
-SRAM หรือ (Static RAM) จะทำงานแตกต่างจาก Dynamic RAM และจัดว่าเป็ฯอุปกรณ์ดิจิตอล ที่มีการจัดเรียงอึปรณ์ภายในเป็นลักษณะเดียวกบโครงสร้างของโปรเซสเซอร์ ใน SRAM ค่าไบนารี่ “0” หรือ“1”
ที่มา
: http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3
7. หน่วยความจำแคช คือ
หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ
ที่มา
: http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html
8. หน่วยความจำสำรอง คือ
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูล แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
ที่มา
: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/ sec04p01.html
9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9 %8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C
10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ
แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลัก ๆ ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน
ที่มา
:  http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=01f5023d906bf06c   

ใบงานที่ 2
1.ฮาร์ดแวร์  คือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์
ที่มา : http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html
2. ซอฟต์แวร์
  คือ
หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์ จึงหมายถึงลำดับขั้นตอน การทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง
ที่มา : http://www.samunpri.com/computer/?p=8
3. บุคลากร คือ  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
ที่มา
: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm
4.
spss  คือ เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป
ที่มา :
 http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33a
5. รหัสแอสกี คือ
 
เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัวที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0% B8%81%E0%B8%B56. รหัสเอบซีดิก คือ เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9A% E0%B8%8B% E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%817. รหัสยูนิโค้ด  คือ ใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศ
ที่มา
: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm
8. อุุปกรณ์ส่งออก (
Output Device) คือ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิดที่มา : http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0% B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/9. ระบบเลขฐานสอง คือ เพื่อช่วยในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยระบบเลขฐานสองเป็นระบบตัวเลขที่ประกอบด้วยตัวเลขเพียง2 ตัว คือ 0 และ 1 เท่านั้น ตัวอย่างเลขฐานสอง เช่น 1102 , 101102

ที่มา : http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_11.htm10. ระบบเลขฐานแปด คือ ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/ sec02p01.html
11.ระบบเลขฐานสิบหก
 คือ
ระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัวที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0% B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%81
 
รูปภาพของ pncsupawanee

ใบงานที่3

คอมพิวเตอร์ คือ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมายที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C 


หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล เช่น เมาส์ (Mouse)แผงแป้นอักขระ (keyboard)ที่มา http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm
  หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เช่น CPU ที่มาhttp://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm
 หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์   เช่น จอภาพ (monitor) เครื่องพิมพ์ (printer)ที่มาhttp://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm
 

หน่วยความจำหลัก มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งานได้ แบ่งได้ 1. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลทั่วไป  

2. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม ที่มาhttp://school.obec.go.th/uts_s/webpages/computer/p_memo.htm


 แรม (RAM: Random Access Memory หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม หรือหน่วยความจำชั่วคราว)มี     1.SDRAM 2.DDR – RAM   
  แคชสำหรับหน่วยความจำ (memory cache) จะเป็นการใช้หน่วยความจำแรมชนิดความเร็วสูงพิเศษมากเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ใช้บ่อย ๆ จากหน่วยความจำแรกปกติของระบบ เพื่อลดเวลาที่ซีพียูใช้ในการอ่านหน่วยความจำแรมของระบบ ซึ่งมีความเร็วในการทำงานช้ากว่าการทำงานของซีพียูมาก

ที่มาhttp://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20vol4.htm


 หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  
ที่มา
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html

 

ฮาร์ดดิสก์ คือหน่วยความจำรองที่มีขนาดความจุมากที่สุด ไม่สะดวกพกพา
ที่มาhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p02.html


Mainboard (แผงวงจรหลัก) เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ

ที่มาhttp://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106


 

รูปภาพของ pncketkanok

             ใบงานที่   2

ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัส เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น  http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html 

ซอฟต์แวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์แบ่งแยกซอฟต์แวร์ได้เป็นสองประเภท คือ

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (system software)คือซอฟต์แวร์สร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ การทำงานของซอฟต์แวร์คือดำเนินงาน ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software)เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลายhttp://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/index.html 

บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

 

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการhttp://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm

Spss  คือเป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ก่อนนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33aa

 รหัสแอสกี  (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm       

 

ใบงานที่ 1

1.ระบบสารสนเทศ คือ ระบบสารสนเทศ ( InformationSystem หรือ IS) คืองานประยุกต์คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ทำหน้าที่รับข้อมูล (input)แล้วนำมาประมวลผล (process) ให้เป็นสารสนเทศ (information)ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การใช้งาน

2. ข้อมูล  คือ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือข้อมูลดิบที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งานข้อมูลอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว

3. สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือจัดระบบแล้วเพื่อให้มีความหมายและคุณค่าสำหรับผู้ใช้

4. เทคโนโลยี คือ วิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะ ในการนำเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรม

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ  เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)มาจากการผสมคำระหว่างสารสนเทศ (Information)กับคำว่าเทคโนโลยี(Technology) เทคโนโลยีหมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจนผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้านสิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น สารสนเทศหมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่าสารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณวิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เทคโนโลยีสารสนเทศจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นข้อความ ตัวเลข เสียง ภาพโดยผ่านสื่อต่างๆรวมทั้งการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศจึง หมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ คือเทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ โดยใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องในการจัดหา วิเคราะห์ประมวล จัดการและจัดเก็บ การพิมพ์ การสร้างรายงาน การเรียกใช้หรือแลกเปลี่ยนและเผยแพร่สื่อสารข้อมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของรูป เสียงตัวอักษร หรือภาพเคลื่อนไหว รวมไปถึงการนำสารสนเทศและข้อมูลไปปฏิบัติตามเนื้อหาของสารสนเทศนั้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของผู้ใช้

http://siriwadee.blogspot.com/2008/05/blog-post_27.html 

รูปภาพของ pncphongthep

ใบงานที่สอง

1.ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพคีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (InputUnit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (SecondaryStorage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน 

2. ซอฟต์แวร์  คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกันซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้

การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมายเพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อนบริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋ว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่างๆ มากมาย คอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญมาก และเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ

มีกี่ประเภท Softwareประยุกต์ (ApplicationSoftware)
คือ Softwareหรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น 

Software ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ

Software สำหรับงานเฉพาะด้าน 
คือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’sProgram เช่นโปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลังเป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Softwareประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา

Software สำหรับงานทั่วไป 
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลงหรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงานและค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรมดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง 

3. บุคลากร คือบุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้   

มีกี่ประเภท 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) 

คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 

คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 

คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) 

คือผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

4. spss  คือ SPSS เป็นโปรแกรมสำหรับการจัดการการประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล งานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ซึ่งผู้ใช้จะต้องเข้าใจ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3 ด้าน คือ สถิติ การวิจัย และโปรแกรม SPSS 

5. รหัสแอสกี คือ 
รหัสแอสกี
aaaaaรหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก AmericanStandard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัวเมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ตามตาราง

http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm

รูปภาพของ pncphongthep

ใบงานที่ 1 

 

1.ระบบสารสนเทศ คือ ระบบสารสนเทศ ( InformationSystem หรือIS) คือ งานประยุกต์คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ทำหน้าที่รับข้อมูล (input) แล้วนำมาประมวลผล (process)ให้เป็นสารสนเทศ (information)ในรูปแบบต่าง ๆที่เป็นประโยชน์แก่การใช้งาน 

2. ข้อมูล  คือ ซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในการทำงาน

3. สารสนเทศ คือ กระบวนการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งทำให้เป็นสารสนเทศการจัดเก็บและการนำเสนอสารสนเทศให้เป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์

4. เทคโนโลยี  คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธีกระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล 
การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนาและการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

รูปภาพของ pncJirarat

ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน


ซอฟต์แวร์ (software)หมายถึง หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้Software มี 2 ประเภท ดังนี้

1. Software ระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน

Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น

นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

2. Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น


บุคลากร

หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) 

คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) 

คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) 

คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User) 

คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น


spss คือ

เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติค่ะ ก่อนนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป บางครั้งอาจมีการทดสอบสมมติฐาน เพื่อนำผลที่ได้มาประกอบการตัดสินใจ
รหัสแอสกี
aaaaaรหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง

 

ใบงานที่2(1-5) 

1.ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)  หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน 

ที่มา: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/menu4.htm2.ซอฟต์แวร์ หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน  สามารถแบ่งออกได้เป็น2.1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูปเพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 

2.2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ

2.2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ที่มา: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/menu4.htm 

3.บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

3.1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย3.2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน 3.3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้3.4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรมที่มา: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/menu4.htm 

4. SPSS คือโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ ทั่วไป ในปัจจุบันระบบปฏิบัติการมีแนวโน้มที่เปลี่ยนไปจาก MS-DOS เป็น WINDOWSด้วยเหตุผลที่ได้กล่าวมาแล้ว ดังนั้น spss จึงได้พัฒนาโปรแกรม SPSS ภายใต้WINDOWS ที่เรียกว่า SPSS FOR WINDOWS ขึ้น

ที่มา: http://student.nu.ac.th/piya_tada/index.html 

5.รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง

ที่มา: http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm

ใบงานที่2(6-11) 

6.รหัสเอ็บซิดิก (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC)พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน    การกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน โดยรหัสเอ็บซิดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/vocab6.htm#v57.รหัสยูนิโค้ด (Unicode)เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษรเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วยที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/vocab6.htm#v58.อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device)หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบที่มา: /%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/9.ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์ ) เปิด และ ปิดที่มา: http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87/10.ระบบเลขฐานสิบเป็นระบบเลขพื้นฐานที่เราใช้สื่อความหมายมาโดยตลอด ซึ่งจะประกอบด้วยสัญลักษณ์ที่เป็นเลขโดด (Digit) จำนวน 10 ตัว คือ 0 ถึง 9สามารถเขียนค่าต่าง ๆ เรียงตามลำดับของมัน เช่น 0, 1, 2,…, 9 ซึ่งจะเห็นว่าถ้านำเลขโดดเพียง 1 ตัวมาใช้ในการเขียนเพื่อสื่อความหมายนั้น เลข 9 จะเป็นค่าสูงสุดแล้ว ในความเป็นจริงเราจำเป็นต้องใช้มากกว่านั้น นั่นหมายความว่าในการเขียนเลขโดยใช้เลขโดดเพียงตัวเดียวคงไม่เพียงพอ เราจำเป็นต้องนำเลขโดดหลาย ๆ ตัวมาเขียนประกอบกันเป็นค่าตัวเลขที่เราต้องการที่มา: http://kampol.htc.ac.th/web1/subject/digital_tech/sheet/digit1.htm11.ระบบเลขฐานสิบหกมีลักษณะคล้ายเลขฐานแปด โดยค่าต่ำสุดของเลขฐานสิบหก คือ 0 จะมีค่าเท่ากับค่าต่ำสุดของเลขฐานสอง 4 บิต คือ 0000 และโดยค่าสูงสุดของเลขฐานสิบหก คือ F จะมีค่าเท่ากับค่าสูงสุดขอเลขฐานสอง 4 บิต คือ 1111 ทำให้ระบบเลขฐานสิบหกจึงเป็นอีกระบบหนึ่งที่นิยมใช้แทนการกล่าวถึงเลขฐานสอง และปัจจุบันจะเป็นที่นิยมใช้เลขฐานสิบหกมากกว่าเลขฐานแปดที่มา: http://kampol.htc.ac.th/web1/subject/digital_tech/sheet/digit1.htm       

รูปภาพของ pncjenjira

                                    ใบงานที่3
1. คอมพิวเตอร์ คือ   
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ที่มา http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm
2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท เช่น เมาส์ (mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ โดยจะมีลูกศรปรากฏอยู่บนจอภาพ เรียกว่า ตัวชี้ตำแหน่ง ที่มา   http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ
 หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เช่น ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำของซีพียู
ที่มา
 http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm 4. หน่วยส่งออก คือ ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ ระบบคอมพิวเตอร์    เช่น ที่นิยมทั่วไปคือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ (printer)5. หน่วยความจำหลัก คือหน่วยความจำหลัก เป็นอุปกรณ์ ที่ทำมาจาก ไอซี เช่นเดียวกัน วงจร หน่วยความจำ เก็บข้อมูล ในรูปตัวเลข ฐานสอง ซึ่งก็ คือสัญญาณ ทางไฟฟ้า การเก็บข้อมูล แบ่งได้ 2ประเภท  1.  แรม (Random Access Memory : RAM)  2.รอม (Read Only Memory : ROM)6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรมเป็น หน่วยความจำ ที่เก็บข้อมูล สำหรับใช้งาน ทั่วไป การอ้างอิง ตำแหน่ง ที่อยู่ของ ข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียน และการอ่าน จะกระทำ แบบการ เข้าถึง โดยสุ่ม คือเรียกไป ที่ตำแหน่งที่อยู่ ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจำนี้ เรียกว่า แรม  มี  2 เทคโนโลยี คือหน่วยความจำแบบ DDR หรือ Double Data Rate (DDR-SDRAM, DDR-SGRAM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องมาจากเทคโนโลยีของหน่วยความจำแบบ SDRAM และ SGRAM และอีกหนึ่งคือหน่วยความจำแบบ Rambusที่มา http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm7. หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว8. หน่วยความจำสำรอง คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง9. ฮาร์ดดิสก์ คือ เป็นหน่วยความจำรองที่มีขนาดความจุมากที่สุด ไม่สะดวกพกพาที่มา  http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p02.html 10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ มากมายแต่ส่วนสำคัญๆทีมา : http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106 

  น.ส.เจนจิรา  ลาวัดพรหม  ม.4/1  ค่ะ

รูปภาพของ pncjenjira
  • Embarassed                        
รูปภาพของ pncjenjira

ครูคะ  บ้านหนูไม่มี 2007ค่ะ  บ้านหนูมีแต่2010ค่ะ  ได้ไหมคะ

รูปภาพของ pncboonyisa

ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย
ที่มา
:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8% 9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
แผง แป้นอักขระ (
keyboard)  มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด
เมาส์
(mouse) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ
แทร็กบอล
(trackball) คล้ายเมาส์มีลูกกลิ้งกลมมาวางด้านบน การเลื่อนตำแหน่งกลิ้งลูกกลิ้งกลม
ก้านควบคุม
(joystick)โดยก้านควบคุมนี้ สามารถเคลื่อนที่ได้เหมือนคันโยกใช้โยกขึ้นลง
เครื่องกราดตรวจ
(scanner)มีหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด ให้เป็นข้อมูล
ที่มา
: http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย เช่น
1.หน่วยควบคุม (Arithmetic and logic unit) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำของซีพียูควบคุมกลไกการทำงาน ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา

2. หน่วยคำนวน (Control Unit)เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นำเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ
ที่มา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm

4. หน่วยส่งออก คือ คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล คือ จอภาพ (monitor) ลำโพง (speaker) และเครื่องพิมพ์ (printer) เช่น
2.6.1 หน่วยส่งออกชั่วคราว
(1) จอภาพ คืออุปกรณ์ที่แสดงผลให้ผู้ใช้เห็นในเวลาที่ทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
-จอภาพแบบซีอาร์ที (CRT : Cathode Ray Tube ) จอภาพแบบนี้ตะใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป
 
-จอภาพแบบแอลซีดี (Liquid Crystal Display : LCD) เป็นเทคโนโลยีที่เริ่มการพัฒนามาใช้กับนาฬิกาและเครื่องคิดเลข
2.6.2 หน่วยส่งออกถาวร คือ หน่วยส่งออกถาวรที่เรารู้จักกันดีและนิยมใช้กันทั่วไป คือเครื่องพิมพ์ (printer) ซึ่งสามารถแสดงผลในรูปของงานพิมพ์บนกระดาษที่สามารถจับต้องและพกพาได้  ที่มา : http://www.tamkungna.ob.tc/page17.htm
5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล
ที่มา
: http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm
6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้ หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่
ที่มา : http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson4/chap4-20.htm
7. หน่วยความจำแคช คือ อันจะทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์โดยรวมเร็วขึ้นมาก  
ที่มา
: http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20vol4.htm8. หน่วยความจำสำรอง คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่มา
:   http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html9. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8% 94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ดเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่อง
ที่มา
: http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106

รูปภาพของ pncpimpa

ใบงานที่ 3
1. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล ประมวลผล สื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ได้ ความถูกต้องแม่นยำ การเก็บข้อมูลจำนวนมาก ตลอดจนสามารถย้ายข้อมูลไปได้อย่างรวดเร็ว
ทีมา :http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/201/computer/meaning.html
2. หน่วยรับเข้า คือเป็นอุปกรณ์ ที่นำข้อมูล หรือโปรแกรม เข้าไปเก็บไว้ใน หน่วยความจำ และใช้ในการประมวลผล อุปกรณ์รับข้อมูล มีหลายประเภท เช่น keyboard เมาส์ แทร็กบอล ฯลฯ
ทีมา :http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/input.htm
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เช่น การเปรียบเทียบ การกระทำการทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ
ทีมา :http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm
4. หน่วยส่งออก คือ ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer)
ทีมา :http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/output.htm
5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล แบ่งได้ 1.หน่วยความจำแบบลบเลือน
ได้ (volatile memory) 2.หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)
ทีมา :http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm
6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม คือ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม หรือหน่วยความจำชั่วคราว)
เป็นหน่วยความจำหลัก ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน
มี เทคโนโลยี 2แบบ 1.SDRAM 2.DDR – RAM
ทีมา :http://www.allaboutnotebook.com/2010/what-is-ram/
7. หน่วยความจำแคช คือหน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
ทีมา :http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html
8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างกัน คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
ทีมา :http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html
9. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล ได้มาก สามารถเก็บได้อย่างถาวรโดยไม่จำเป็นต้องมีไฟฟ้ามาหล่อเลี้ยงตลอดเวลา เมื่อปิดเครื่องข้อมูลก็จะไม่สูญหาย
ทีมา :http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/harddisk.html
10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลัก ๆ ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันดังนั้นจึงเป็นเสมือนกับศูนย์กลางในการทำงานเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ
ทีมา : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=01f5023d906bf06c

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 446 คน กำลังออนไลน์