user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ศิลปะ และวรรณคดีของอารยธรรมอียิปต์', 'node/19389', '', '52.14.143.137', 0, '329745018a55dd7f8b2fcfe88a2dfe80', 167, 1716187963) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.

ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

 

เว็บเกี่ยวกัีบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 

รูปภาพของ pncmanassawee

ใบงานที่5 มนัสวี 4/1

1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็น
คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทำงานได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง
แต่จะมีราคาแพงที่สุด รวมทั้งต้องอยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ
และปราศจากฝุ่นละออง
2. เมนเฟรม (Mainframe) เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป เครื่องเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานที่มีการรับและแสดงผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ
1.1 Host processor เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณ
1.2 Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้
1.3 Bank-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) มินิ
คอมพิวเตอร์ ได้รับความนิยม จากบริษัทหรือองค์กรที่มีขนาดกลาง
เพราะมีราคาถูกกว่าเมนเฟรมเครื่องมินิคอมพิวเตอร์จะทำงานได้ช้ากว่าการควบ
คุมผู้ใช้งานต่าง ๆ
4. เวิร์คสเตชัน (Workstation) ถูกออก
แบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่มีความสามารถในการคำนวนด้านวิศวกรรม
สถาปัตยกรรม หรืองานอื่นๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟฟิกต่าง ๆ
5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยม ความนิยมในปัจจุบันจะมี 2 ชนิดคือ Apple Macintosh และ IBM PC
6. คอมพิวเตอร์เครือข่าย (Network computers) เป็น
คอมพิวเตอร์แบบใหม่ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากไมโครคอมพิวเตอร์
โดยได้รับอิทธิพลมาจากแนวคอมพิวเตอร์อินเตอร์เนต
คอมพิวเตอร์เครือข่ายหรือที่นิยม
7. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embeddded computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกฝังไปในอุปกรณ์ ทำให้มองไม่เห็นรูปลักษณ์ภายนอกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ นิยมใช้ในการทำงานเฉพาะด้านโดยควบคุมการทำงาน


ที่มา: http://school.obec.go.th/bandai/caicom/html/prapatcom.htm     
          

รูปภาพของ pncmanassawee

ใบงานที่4 มนัสวี 4/1

1. CD  จุข้อมูลได้  700 เมกะไบต์
2. DVD  จุข้อมูลได้ 4.7
กิกะไบต์  

3. Bluetooth คลื่นวิทยุระยะสั้น จะทำงานในช่วงความถี่ ISM
band ภายในระยะทาง 5 -10 เมตร
4. Lan  ย่อมาจาก Local Aria Network ซึ่งแปลได้ว่า
ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
5. HUb(ฮับ) หรือบางทีก็เรียกว่า
"รีพีตเตอร์ (
Repeater)" คือ
อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกลุ่มของคอมพิวเตอร์ 
มีหน้าที่รับส่งเฟรมข้อมูลทุกเฟรมที่ได้รับจากพอร์ตใดพอร์ตหนึ่งไปยังทุก
ๆ พอร์ตที่เหลือ

ที่มา
http://cpe.kmutt.ac.th  http://www.yupparaj.ac.th  http://www.com5dow.com

รูปภาพของ pncmanassawee

 

ใบงานที่ 3 มนัสวี 4/1

1. คอมพิวเตอร์ คือ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล
แผงแป้นอักขระ (
keyboard)  หรือที่รู้จักกันว่า แป้นพิมพ์ เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับแป้นพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด
เมาส์
(mouse) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่สำคัญรองจากแผงแป้นอักขระ (keyboard) ลักษณะการทำงานจะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่ากำลัง
แทร็กบอล
(trackball) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่มีลักษณะคล้ายเมาส์ แต่มีลูกกลิ้งกลมมาวางอยู่ด้านบน
ก้านควบคุม
(joystick)  เป็นอุปกรณ์การทำงานลักษณะเดียวกับเมาส์ มีลักษณะเป็นกล่อง
เครื่องกราดตรวจ
(scanner)  เป็นอุปกรณ์ต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์ ที่มีหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงภาพต้นฉบับ รูปถ่าย ตัวอักษรบนหน้ากระดาษ ภาพวาด ให้เป็นข้อมูล
3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์"
.หน่วยควบคุม  ทำหน้าที่ควบคุมลำดับการทำงานของหน่วยประมวลผลกลาง และควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
.น่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณงานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร และงานด้านตรรกศาสตร์ข้อมูล
4. หน่วยส่งออก คือ
คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล
จอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์แบบชั่วคราวแสดงผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว ทำหน้าที่แสดงอักษร ข้อความ และภาพกราฟิก

เครื่องพิมพ์ (printer)  เป็น
อุปกรณ์ส่งออกที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการนำผลลัพธ์
ที่ได้จาก การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปของตัวอักษร
ข้อความหรือรูปภาพลงกระดาษ

อุปกรณ์เสียง (Audio Output) เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่ประกอบขึ้นจาก ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)
5. หน่วยความจำหลัก คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่จะให้ซีพียูเรียกไปใช้งานได้
1. แรม (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลทั่วไป หน่วยความจำประเภทนี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจร
2. รอม (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจำอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิงตำแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึงโดยสุ่ม
6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
-DRAM หรือ (Dynamic RAM) เป็นหน่วยความจำที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัดประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัว
-SRAM หรือ (Static RAM) จะทำงานแตกต่างจาก Dynamic RAM และจัดว่าเป็ฯอุปกรณ์ดิจิตอล ที่มีการจัดเรียงอึปรณ์ภายในเป็นลักษณะเดียวกบโครงสร้างของโปรเซสเซอร์ ใน SRAM ค่าไบนารี่ “0” หรือ“1”
ที่มา
:
http://www.vcharkarn.com/varticle/32742/3
7. หน่วยความจำแคช คือ ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก
ที่มา :
http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0 %B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%8A/
8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
ที่มา
:   
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta _v/computer/sec04p01.html
9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
ที่มา
: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%8C%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%8C

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ที่มา
:  http://www.sglcomp.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=376106

รูปภาพของ pncmanassawee

ใบงานที่2  มนัสวี 4/1

1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้
โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล
การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์
http://www.thaigoodview.com/node/100081?page=2%2C2


2.ซอฟต์แวร์ (อังกฤษ: software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง [1]
หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟ‌ท์แวร์
เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
ซอฟต์แวร์นั้นนอกจากจะสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว
ยังสามารถใช้งานบนเครื่องใช้ หรืออุปกรณ์อื่น เช่น โทรศัพท์มือถือ
หรือหุ่นยนต์ในโรงงาน หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ คำว่า "ซอฟต์แวร์"
ใช้ครั้งแรกโดย จอห์น ดับเบิลยู. เทอร์กีย์ (John W. Turkey) ในปี พ.ศ.
2500 (ค.ศ. 1957) โดยแนวคิดของซอฟต์แวร์ปรากฏครั้งแรกในเรียงความของแอลัน
ทัวริง บิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์
กล่าวกันว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชิ้นแรกของโลกเขียนโดยเอดา ไบรอน
เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับเครื่องวิเคราะห์ (analytical engine) ของชาร์ลส
แบบเบจ ประเภทของซอฟต์แวร์
หน้าจอของโปรแกรมประยุกต์ เว็บเบราว์เซอร์ไฟร์ฟอกซ์
การแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็นหลายแบบ เช่น
1. การแบ่งเชิงเทคนิค อาจแบ่งซอฟต์แวร์เป็น 3 ประเภทหลักคือ
o ซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure software)
ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้
โดยรวมถึงระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์ และระบบหลักของคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ
o โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)
ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไปเช่น โปรแกรมสำนักงาน
ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมีจียูไอ
o โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities)
ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ
หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่องมือต่าง ๆ ประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์
อินเตอร์พรีเตอร์ ดีบักเกอร์
2. การแบ่งตามรูปแบบการส่งมอบ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ
o ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Package software) ซอฟต์แวร์ที่มีการขาย ให้เช่า หรือให้บริการ โดยคิดค่าบริการเป็น transaction หรือ license
o ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเงินเดือน (Outsources software development)
เป็นการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานเฉพาะกับงานประเภทต่าง ๆ
เฉพาะกิจกรรมไป
ส่วนใหญ่ลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์นี้จะเป็นของผู้ที่ว่าจ้างให้พัฒนาขึ้น
3. การแบ่งตามประเภทของการนำไปใช้งานหลัก แบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคือ
o ซอฟต์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการทั่วไป (Enterprise software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับการทำงานเพื่อแก้ปัญหา/จัดการทรัพยากรของ
บุคคล/องค์กร เช่น ซอฟต์แวร์บัญชี ซอฟต์แวร์จัดทำเอกสาร เป็นต้น
o ซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์พกพาขนาดเล็ก (Mobile applications software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานผ่านระบบปฏิบัติการพิเศษบนอุปกรณ์ขนาดเล็ก เช่น
โทรศัพท์มือถือ PDA โดยสามารถแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ (1)
ซอฟต์แวร์เพื่อสนับสนุนธุรกรรมทางธุรกิจ (Business applications) เช่น
Mobile banking, Mobile payment, GPS on Mobile, Mobile applications for
business process management และ(2)
ซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้องกับนันทนาการและบันเทิง (Entertainment
applications) ซึ่งรวมเกมบนโทรศัพท์เคลื่อนที่
o ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว (Embedded System Software)
เป็นซอฟต์แวร์ซึ่งฝังอยู่ไว้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
เพื่อใช้สำหรับควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้นๆ เช่น ระบบ GPRS
ระบบทำความเย็นอัจริยะ ระบบตรวจสอบย้อนกลับ เป็นต้น

3.บุคลากรหมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์
ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน
สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
และวิธีการใช้งานโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ
เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์
(Peopleware) ทั้งสิ้น
http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm


4. SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป
แต่การนำ spss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก
ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื็นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS มานำเสนอ
http://student.nu.ac.th/piya_tada/index.html


5.แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ [1]
(อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange)
เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน
และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65
(เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่
เป็นต้นhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8
%81%E0%B8%B5
6.เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1]
(อังกฤษ: EBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)
เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM
ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่
โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBM OS-390
สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์ legacy
application และฐานข้อมูล ในไฟล์เอบซีดิก
ตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง 8 บิต (8
ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8)
ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษ
แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII)
มากกว่าhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8
%8B%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81
7. รหัสยูนิโค้ด (Unicode)
เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ
รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น
คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร
เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ
เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font)
ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น
เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว
หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256
รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ
จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว
ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย
http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

8.อุปกรณ์ส่งออก

พจนานุกรม ศัพท์คอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ส่งออก
output device
อุปกรณ์แสดงผล
ความหมาย
หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ
หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ
เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device
เปรียบเทียบ

http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%...
9.เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง
ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง)
บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด,
ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
ถ้าแปลงค่าเลขฐานสิบ มาเป็นเลขฐานสอง จะได้ดังนี้
• 1 = 1
• 2 = 10
• 3 = 11
• 4 = 100
• 5 = 101
• 6 = 110
• 7 = 111
• 8 = 1000
• 9 = 1001
• 10 = 1010
ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์
โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า)
มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต
หรือมากกว่านั้น ซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัล
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%...


1
10.ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
ซึ่งสามารถเปรียบเทียบค่าเลขฐานได้ตามตาราง
เลขฐานสิบ เลขฐานสอง เลขฐานแปด
0 000 0
1 001 1
2 010 2
3 011 3
4 100 4
5 101 5
6 110 6
7 111 7

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number...

11.เลขฐานสิบหก (hexadecimal) หมายถึงระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว
(ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษรณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C
D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว

0hex = 0dec = 0oct 0 0 0 0
1hex = 1dec = 1oct 0 0 0 1
2hex = 2dec = 2oct 0 0 1 0
3hex = 3dec = 3oct 0 0 1 1

4hex = 4dec = 4oct 0 1 0 0
5hex = 5dec = 5oct 0 1 0 1
6hex = 6dec = 6oct 0 1 1 0
7hex = 7dec = 7oct 0 1 1 1

8hex = 8dec = 10oct 1 0 0 0
9hex = 9dec = 11oct 1 0 0 1
Ahex = 10dec = 12oct 1 0 1 0
Bhex = 11dec = 13oct 1 0 1 1

Chex = 12dec = 14oct 1 1 0 0
Dhex = 13dec = 15oct 1 1 0 1
Ehex = 14dec = 16oct 1 1 1 0
Fhex = 15dec = 17oct 1 1 1 1


ฐานสิบ ฐานสอง ฐานสิบหก
30 11110 1E
การแสดงฐานตัวเลขต่างๆในตารางสุดท้ายนี้ จำนวน 30
คือจำนวนตัวเลขของเลขฐานสิบ (decimal)จะสามารถแปลงค่าเท่ากับจำนวน 11110
ของเลขฐานสอง (binary) หรือเท่ากับจำนวน 36 ของเลขฐานแปด (octal)
หรือเท่ากับจำนวน 1E ของเลขฐานสิบหก (hexadecimal)
สามารถยกตัวอย่างเพิ่มเติม คือจะเห็นว่า จำนวน 31 ของเลขฐานสิบ
(decimal)จะสามารถแปลงค่าเท่ากับจำนวน 11111 ของเลขฐานสอง (binary)
หรือเท่ากับจำนวน 37 ของเลขฐานแปด (octal) หรือเท่ากับจำนวน 1F
ของเลขฐานสิบหก (hexadecimal)ซึ่งสามารถแสดงได้ตามลำดับดังนี้
31 11111 37 1F
ระบบเลขฐานสิบหก (hexadecimal)นี้จะเป็นที่นิยมใช้ในการเข้ารหัส
(encode)คำสั่งควบคุมเครื่อง (control code ) ที่อยู่ในระบบเลขฐานสอง (
binary ) ที่มีจำนวนคำสั่งยาวมากๆ ยกตัวอย่างได้เช่นตามคำอธิบายข้างต้น ถ้า
11111 เป็นคำสั่งควบคุมเครื่องในรูปเลขฐานสอง(binary)คือ 11111
ผู้ควบคุมเครื่องอาจจะเข้ารหัส (
encode)คำสั่งควบคุมเครื่องไว้ในรหัสบาร์โค้ด(barcode)ในรูป 1F
ถ้าใช้รหัสเลขฐานสิบหก
(hexadecimal)ซึ่งบาร์โค้ด(barcode)นั้นเวลาพิมพ์ที่จะใช้ให้เครื่องอ่านคำ
สั่งควบคุมเครื่อง จะใช้ความยาวของบาร์โค้ด(barcode) 2 ตัว
เช่นการใช้ระบบเลขฐานสิบหก (hexadecimal)นี้ในการเข้ารหัส
(encode)คำสั่งควบคุมเครื่อง (control code
)สำหรับเครื่องจักรอัตโนมัติความเร็วสูง ( high speed Finishing system)
เป็นต้น
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%...

รูปภาพของ pncmanassawee

ใบงานที่ 1 มนัสวี 4/1

 1.ระบบสารสนเทศ
หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ
หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี
สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง
  2.ข้อมูล หมายถึง ข่าว
สาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล
สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่มีอยู่ในรูปของตัวเลข ภาษา ภาพสัญลักษณ์ต่างๆ
ที่มีความหมายเฉพาะตัว  ให้ความหมายของ ข้อมูล(
Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือ การคำนวณ3.สารสนเทค  เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้า
ไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย
ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค
ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร
4.เทคโนโลยี  มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึง การนำความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มา
เป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้
นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น

5.เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล 
การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

 ต่อ ใบงานที่ 2 ค่ะ

6. รหัสเอบซีดิก คือ เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM
ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ
IBM OS-390
 

7.รหัสยูนิโค้ด  คือ ใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร

8. อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ
หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล

ที่มา : http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/
 

9.ระบบเลขฐานสอง คือ ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง)
บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด
, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา

10. ระบบเลขฐานแปด คือ ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว
 

11.ระบบเลขฐานสิบหก คือ ระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9)

โดยปกติจะใช้สัญลักษรณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว

น.ส รสสุคนธ์ วังแก.....  

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมากในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น การควบคุมสาขาของบริษัททั่วโลก หรือใช้สำหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมากและต้องการความเร็วสูง เช่น การวิจัยทางด้านนิวเคลียร์ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยบรรยากาศของโลก การวิจัยทางด้านอวกาศ เป็นต้น 
 

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
หมายถึง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามาตั้งแต่เริ่มแรก
เหตุที่เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครื่องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก
    เมนเฟรมเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงมาก
มักอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักขององค์การ และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี
บริษัทผู้ผลิตเมนเฟรมได้พัฒนาขีดความสามารถของเครื่องให้สูงขึ้น
ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจำนวนมาก เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม อย่างไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ก็ยากที่จะจำแนกจากกันให้เห็นชัด
ปัจจุบันเมนเฟรมได้รับความนิยมน้อยลง ทั้งนี้เพราะคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพและความสามารถดีขึ้น ราคาถูกลง ขณะเดียวกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็ดีขึ้นจนทำให้การใช้งานบนเครือข่ายกระทำได้เหมือนการใช้งานบนเมนเฟรม  

 3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม
คือทำงานได้ช้ากว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามจุดเด่นสำคัญ
ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้
บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้
มีใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง

4. ไมโครคอมพิวเตอร์
หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก
บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล หรือเรียกว่า พีซี (
Personal
Computer : PC) สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง (terminal) ซึ่งอาจจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและ
แสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์ โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นในเครือข่าย

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึง
 (desktop computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กถูกออกแบบมาให้ตั้งบนโต๊ะ มีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็น ซีพียู จอภาพและแผงแป้งอักขระ
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก
หมายถึง
 (notebook computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและความหนามากกว่าแล็ปท็อป น้ำหนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบหลายสี โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือน

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง  ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูลเฉพาะบางอย่างที่สามารถพกพาติดตัวไปมาได้สะดวก

น.ส รสสุคนธ์ วังแก

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

 ใบงานที่ 4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้ 700 MB

2.ดีวีดี จุข้อมูลได้ 4.4-17 จิกะไบต์
ดีวีดีแบ่งออกเป็น 5 ชนิดคือ
1.
singleside single layer ความจุ 4.7 GB นิยมเรียก DVD 5
2.
singleside dual layer ความจุ 8.4 GB นิยมเรียก DVD 9
3.
dualside singlelayer ความจุ 9.4 GB นิยมเรียก DVD 10
4.
dualside single+dual layer ความจุ 13.1 GB นิยมเรียก DVD 14
5.
dualside duallayer ความจุ 16.8 GB นิยมเรียก DVD 18

3.คลื่นบลูทูธ
เป็นคลื่นวิทยุ

4.Lan  คือ
ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึง กันทั้งหมดโดยอาศัยสื่อกลาง
มีการแบ่งแยกเครือข่ายออกเป็น 2 รูปแบบการเชื่อมโยงคือ
การเชื่อมโยงภายในพื้นที่ระยะใกล้หรือ แลน (
LAN) และการเชื่อมโยงระยะไกลหรือแวน
(
WAN) โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบแลน

5.ฮับ (Hub) คือ

 ทำหน้าที่จ่ายข้อมูล หรือเชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์

น.ส รสสุคนธ์ วังแก 

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

ใบงานที่ 3

1. คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย

2. หน่วยรับเข้า คือ หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภทเช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ 

 3.ตัวประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู
เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป
เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์" ซึ่งจะทำการประมวลผลข้อมูลจากหน่วยความจำแล้วส่งผลไปยังหน่วยส่งออกต่อไป
หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ
-หน่วยควบคุม
-หน่วยคำนวณและตรรกะ

4.หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผลโดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัส ต่างๆ เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้ อุปกรณ์ต่างๆ

5.หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูลและชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วยความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำหน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลางนำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว

6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ หรือแรม
เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น
 

7.หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล
หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน
CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

8.หน่วยความจำสำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับหน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ไม่สูญหาย

9.ฮาร์ดดิสก์  คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด
เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ
ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู
ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ

น.ส รสสุคนธ์ วังแก   ^^ ค่ะ

รูปภาพของ pncjutarat

ใบงานที่  3   


1. คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์

ทีมา : http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm


2. หน่วยรับเข้า คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก และใช้ในการประมวลผล

ทีมา : http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm


3. หน่วยประมวลผลกลาง คือหรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ 

 ทีมา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm


4. หน่วยส่งออก คือ ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ 

 ทีมา : http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm


5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล
แบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูล
1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)
2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)

ทีมา : http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm


6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้   นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม (Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์

ทีมา : http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard2.htm


7. หน่วยความจำแคช คือหน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน CACHE

ทีมา : http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html


8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมสามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง  ทีมา :http://www.thaigoodview.com

9. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว

 ทีมา : http://atthawat.8m.com/a2.htm


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ. เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
ทีมา : http://www.sglcomp.com

ใบงานที่ 4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้  700 เมกะไบต์

2. ดีวีดี จุข้อมูลได้   Single-Sided Single Layer (DVD-5) 
  Single-Sided Double Layer (DVD-9) 
  Double-Sided Single Layer (DVD-10) 
  Double-Sided Double Layer (DVD-18)

3คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น......ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ จะอยู่ที่ 5-10 เมตรเมตร 
4. Lan  คือ  เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ อุปกรณ์อื่นๆ จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน

http://blog.cstc.ac.th/node/74

ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก
ในด้านธุรกิจจะใช้ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเช่นเดียวกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์
แต่มักใช้กับองค์กรที่มีขนาดใหญ่มาก เช่น การควบคุมสาขาของบริษัททั่วโลก หรือใช้สำหรับงานด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความต้องการประมวลผลข้อมูลจำนวนมากและต้องการความเร็วสูง
เช่น การวิจัยทางด้านนิวเคลียร์ การพยากรณ์อากาศ การวิจัยบรรยากาศของโลก
การวิจัยทางด้านอวกาศ เป็นต้น

ที่มา : http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/index2.htm


2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์
หมายถึง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการพัฒนามาตั้งแต่เริ่มแรก
เหตุที่เรียกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์เพราะตัวเครื่องประกอบด้วยตู้ขนาดใหญ่ที่ภายในตู้มีชิ้นส่วนและอุปกรณ์ต่าง
ๆ อยู่เป็นจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอร์มีขนาดลดลงมาก

เมนเฟรมเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงมาก
มักอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักขององค์การ และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี

บริษัทผู้ผลิตเมนเฟรมได้พัฒนาขีดความสามารถของเครื่องให้สูงขึ้น
ข้อเด่นของการใช้เมนเฟรมอยู่ที่งานที่ต้องการให้มีระบบศูนย์กลาง และกระจายการใช้งานไปเป็นจำนวนมาก
เช่น ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรม อย่างไรก็ตามขนาดของเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ก็ยากที่จะจำแนกจากกันให้เห็นชัด

ปัจจุบันเมนเฟรมได้รับความนิยมน้อยลง
ทั้งนี้เพราะคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพและความสามารถดีขึ้น ราคาถูกลง ขณะเดียวกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็ดีขึ้นจนทำให้การใช้งานบนเครือข่ายกระทำได้เหมือนการใช้งานบนเมนเฟรม

 

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม
คือทำงานได้ช้ากว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามจุดเด่นสำคัญ
ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้
บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้
มีใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง

4. ไมโครคอมพิวเตอร์
หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก
บางคนเห็นว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานส่วนบุคคล
หรือเรียกว่า พีซี (
Personal
Computer : PC) สามารถใช้เป็นเครื่องต่อเชื่อมในเครือข่าย
หรือใช้เป็นเครื่องปลายทาง (
terminal) ซึ่งอาจจะทำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์รับและแสดงผลสำหรับป้อนข้อมูลและดูผลลัพธ์
โดยดำเนินการการประมวลผลบนเครื่องอื่นในเครือข่าย

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึง
 (desktop computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กถูกออกแบบมาให้ตั้งบนโต๊ะ
มีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็น ซีพียู จอภาพ
และแผงแป้งอักขระ

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก
หมายถึง
 (notebook computer) เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดและความหนามากกว่าแล็ปท็อ
น้ำหนักประมาณ
1.5-3 กิโลกรัม จอภาพแสดงผลเป็นแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว
หรือแบบหลายสี โน้ตบุ๊คที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือน

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ
หมายถึง
  ปาล์มท็อปคอมพิวเตอร์ (palmtop
computer)
 เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง
เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน
บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูลเฉพาะบางอย่างที่สามารถพกพาติดตัวไปมาได้สะดวก

ที่มา : http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm

 

 

ใบงานที่
3

 1. คอมพิวเตอร์ คือ  เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
 2525 ให้คำจำกัดความว่า
เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่ เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ
ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์

2. หน่วยรับเข้า คือ     หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง
 เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ แทร็กบอล ก้านควบคุม
เครื่องตรวจกราด จอสัมผัส  


3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน
หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์
ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง
 เช่น

1.หน่วยควบคุม (Arithmetic
and logic unit) 
ทำหน้าที่ควบคุมการทำงาน
ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจำของซีพียู ควบคุมกลไกการทำงาน
ทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณนาฬิกา เป็นตัวกำหนดจังหวะการทำงาน
 

2. หน่วยคำนวน (Control
Unit)
เป็นหน่วยที่มีหน้าที่นำเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผลทางคณิตศาสตร์
และตรรกะ เช่น
 
การบวก การลบ การเปรียบเทียบ และ การสลับตัวเลข
เป็นต้นการคำนวณทำได้เร็วตามจังหวะการควบคุม

ของหน่วยควบคุม

 


4. หน่วยส่งออก คือ  หน่วยส่งออก
(
Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล
โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วนความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัสต่างๆ
  เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้  เช่น 1. จอภาพ (monitor) มีลักษณะเป็นจอภาพเหมือนจอโทรทัศน์ทั่วไป
การส่งออกของข้อมูลจะปรากฏบนจอภาพ ซึ่งแสดงได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข
เครื่องหมายพิเศษ และยังสามารถแสดงรูปภาพได้ด้วย
 

  2.  เครื่องพิมพ์ (printer)  เครื่องพิมพ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทตามเทคโนโลยีการพิมพ์ 
เครื่องพิมพ์เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่พิมพ์ลงบนกระดาษ

  3. ลำโพง (Speaker) ลำโพงทำหน้าที่แสดงผลออกมาในรูปแบบเสียง
ซึ่งจะทำงานรวมับอุกรณ์การ์ดเสียง (
Sound Card) ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ออกมาเป็นสัญญาณเสียงแล้วส่งออกทางลำโพง
ส่วนมากใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีระบบมัลติมีเดีย

5. หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง
และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล
และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า
เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย
หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บ

ข้อมูลได้มาก
และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
 แบ่งได้  1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)
คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว หากไฟฟ้าดับ
คือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ กับวงจรหน่วยความจำ ข้อมูลที่เก็บไว้จะหายไปหมด

 

2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory) คือ
หน่วยความจำเก็บข้อมูลได้ โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร

6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรมเป็นหน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบันหน่วยความจำชนิดนี้อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ
อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป
 หรือดิสก์ ที่มีข้อจำกัดในการอ่านและเขียนข้อมูลที่ต้องทำตามลำดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อหรือมีข้อกำจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว

ข้อมูลในแรม
อาจเป็นโปรแกรมที่กำลังทำงาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล
ของโปรแกรมที่กำลังทำงานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไปทันที
เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจำชนิดนี้
จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น

มี 1. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read
Only Memory - ROM
เป็นหน่วยความจำแบบสารกึ่งตัวนำชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว
ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึก ซ้ำได้ (อย่างง่ายๆ)
เป็นความจำที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนำมาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง
หน่วยความจำประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากน่วยความจำ (
nonvolatile)

2.
หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้
 (Random Access Memory - RAM) เป็นหน่วยความจำหลัก
ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจำชนิดนี้ อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ
อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป
หรือดิสก์ ที่มีข้อจำกัดในการอ่านและเขียนข้อมูล
ที่ต้องทำตามลำดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ในสื่อ หรือมีข้อกำจัดแบบรอม
ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว

7. หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำแคชสร้างขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นหน่วยความจำที่ทำงานได้เร็วที่สุด
และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยความจำหลักโดยตรง
  ในเวลาเดียวกันก็ต้องการให้มีขนาดใหญ่ที่สุดในราคาที่ไม่แพงจนเกินไป   โดยรูปที่ 2  แสดงให้เห็นถึงความเร็วในเครื่องคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำหลักที่มีความเร็วต่ำ
(เมื่อเปรียบเทียบกับความเร็วของซีพียู)
  ที่มีปริมาณมาก  และมีหน่วยความจำแคชที่เร็วกว่าแต่มีขนาดเล็ก 

8. หน่วยความจำสำรอง คือ มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้
ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

9. ฮาร์ดดิสก์ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด (
motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) ,แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบีสายไฟร์ไวร์ของ บริษัท Apple ที่เป็นที่รู้จักน้อยกว่า
รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (
eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็น
ของตนเอง

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เมนบอร์ด
(
mainboard) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า มาเธอร์บอร์ด (Motherboard)
คือ แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลัก ๆ
ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน มีลักษณะลักษณะเป็นแผ่น
 circuit
board รูปร่างสีเหลี่ยมผืนผ้า
ซึ่งเต็มไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน
ดังนั้นเมนบอร์ดจึงเป็นเสมือนกับศูนย์กลางในการทำงานและเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น
ๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ฟล็อปปี้ดิสก์ การ์ดต่าง ๆ

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=01f5023d906bf06c

 


 

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที ( 1 Trillion calculations per second ) ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยกิกะฟลอบ (Gigaflop)ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคำนวณที่ต้องมีการคำนวณตัวเลขจำนวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ที่ต้องนำข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชึ้นบรรยากาศเพื่อดูการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ งานนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนี้มีงานอีกเป็นจำนวนมากที่ต้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ซึ่งมีความเร็วสูง เช่น งานการวิจัยนิวเคลียร์ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ ด้านการทหาร วิศวกรรมเคมีภัณฑ์ปิโตรเลียม เช่น การสร้างโมเดลที่สามารถประมวลผลด้านความซับซ้อนสูงในการจำลองการประมวลผลต่างๆ รวมทั่วใช้วิจัยพันธุกรรมในมนุษย์หรือโครงสร้างดีเอ็นเอ ซึ่งมีมากกว่า 80,000 ถึง 100,000 ยีนในร่างกายของมนุษย์ งานด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านเคมี เภสัชวิทยา และงานด้านวิศวกรรมการออกแบบ และเนื่องจากราคาของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สูงมาก จึงมักมีการใช้งานเฉพาะด้านเท่านั้น หน่วยงานที่มีกำลังความสามารถในการนำไปใช้เพื่องานวิจัย ก็คือหน่วยงานขององค์การรัฐบาล ธุรกิจที่มีขนาดใหญ่มากและมหาวิทยาลัยhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (อังกฤษ: mainframe computer) คือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น สำมะโนประชากร สถิติผู้บริโภค การบริหารทรัพยากรขององค์กรhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C 3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง  มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะน้อยกว่าเครื่องเมนเฟรม คือทำงานได้ช้ากว่า และควบคุมอุปกรณ์รอบข้างได้น้อยกว่า อย่างไรก็ตามจุดเด่นสำคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็คือ ราคาย่อมเยากว่าเมนเฟรม การใช้งานก็ไม่ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผู้ที่รู้วิธีใช้มากกว่าด้วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ง มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลายประเภท คือใช้ได้ทั้งในงานวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องที่มีใช้ตามหน่วยงานราชการระดับกรมส่วนใหญ่ มักจะเป็นเครื่องประเภทนี้ เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ที่ได้รับความนิยมใช้กันมี บริษัท Digital Equipment Corporation หรือ DEC เครื่อง Unisys ของบริษัท Unisys เครื่อง NEC ของบริษัท NEC เครื่อง Nixdorf ของบริษัท Siemens-Nixdorf  http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/nittaya_c/meaow2/page02_5.htm4.ไมโครคอมพิวเตอร์หมายถึงไมโครคอมพิวเตอร์microcomputerความหมาย
เป็นชื่อเรียกเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กซึ่งใช้ตัวประมวลแบบจุลภาคที่เรียกว่าชิป (chip) เป็นองค์ประกอบหลัก เริ่มมีการผลิตออกสู่ตลาดในราวทศวรรษ 1970 แต่ภายหลังมานิยมใช้คำพีซี (PC) ซึ่งย่อมาจากคำว่า personal computer มากกว่า (ราชบัณฑิตสถานกำหนด ให้แปลว่า "คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล" ) ในปัจจุบันกลายเป็นคำติดปากแทนคำว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ ไปเลยด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตาม คำ "พีซี" นั้น บางทีจะหมายถึงเฉพาะเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มหรือเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เพื่อแยกออกจากไมโครคอมพิวเตอร์ของบริษัทแอปเปิล ซึ่งถือว่าต่างตระกูลกัน
http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?select=1&q=%E4%C1%E2%A4%C3%A4%CD%C1%BE%D4%C7%E0%B5%CD%C3%EC 5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานบนโต๊ะ ที่ใช้ตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น และเป็นที่คาดการว่าจะถูกทดแทนโดยคอมพิวเตอร์แบบพกพา(labtop)ในอนาคตอันใกล้นี้http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง
โน๊ตบุ๊คเป็นอเมริกัน 1996 นวนิยายโรแมนติก โดยนักเขียนนวนิยายชาวอเมริกัน นิโคลัสปาร์กส์ อยู่บนพื้นฐานของเรื่องจริง [ อ้างจำเป็น ] The novel was later adapted into a popular romance film by the same name in 2004 . นวนิยายเรื่องนี้ถูกดัดแปลงมาเป็นที่เป็นที่นิยม ภาพยนตร์โรแมนติก โดยใช้ชื่อเดียวกัน ใน 2004 . However, the movie and the book have very different endings. แต่ภาพยนตร์และหนังสือที่มีปลายแตกต่างกันมาก The novel was Nicholas Sparks' first published novel, and the third written after The Passing and The Royal Murders , which were never published. นวนิยายเรื่องนี้คือนิโคลัสปาร์กส์'นวนิยายตีพิมพ์ครั้งแรกและที่สามหลังจากผ่านการเขียนและการฆาตกรรมรอยัลซึ่งไม่เคยเผยแพร่ It was written over a period of six months in 1994. มันถูกเขียนในช่วงหกเดือนในปี 1994 Literary agent Theresa Park discovered Sparks after picking the book out of her agency's slush pile . ตัวแทน Theresa วรรณกรรมพาร์คสปาร์กค้นพบหลังจากเก็บหนังสือออกจากหน่วยงานของเธอ กองโคลน . Park liked it and offered to represent him. ปาร์คชอบมันและนำเสนอให้เป็นตัวแทนของเขา In October 1995, Park secured a $1 million advance for it from Time Warner Book Group , and the novel was published in October 1996. ในเดือนตุลาคมปี 1995 สวนสาธารณะที่รักษาความปลอดภัย $ 1,000,000 ล่วงหน้าสำหรับการออกจาก กลุ่มจองเวลาวอร์เนอร์ และนวนิยายถูกตีพิมพ์ในตุลาคม 1996 It was on the New York Times best-seller list in its first week of release. The Notebook spent over a year as a hardcover best seller. [ 1 ] [ dead link ] มันเกี่ยวกับ New York Times รายการขายดีที่สุดในสัปดาห์แรกของการปล่อย. โน๊ตบุ๊คที่ใช้มากกว่าปีที่เป็น ปกแข็ง ขายดีที่สุด [1] [ ลิงค์ตาย ] The Notebook was inspired by the story of the grandparents of Sparks' wife, who had been married over sixty years when Sparks met them. โน๊ตบุ๊คได้แรงบันดาลใจจากเรื่องราวของปู่ย่าตายายของภรรยา Sparks', ผู้ที่เคยแต่งงานแล้วเกินหกสิบปีเมื่อพวกเขาได้พบกับปาร์กส์ Sparks marveled at how much the couple cared for each other, and wrote his novel as an attempt to describe such a love. [ 2 ] [ dead link ] ปาร์กส์ประหลาดใจที่เท่าใดคู่ที่ดูแลแต่ละอื่น ๆ และการเขียนนวนิยายของเขาเป็นความพยายามที่จะอธิบายเช่นความรัก [2] [ ลิงค์ตาย ] http://translate.google.co.th/translate?hl=th&langpair=en%7Cth&u=http://en.wikipedia.org/wiki/The_Notebook7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง คอมพิวเตอร์มือถือ ด้วยระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ 2.2 ควบคุมการทำงานผ่านหน้าจอสัมผัส Capacitive กว่าง 7 นิ้ว หน่วยประมวลผล 1GHz รองรับการโทรออกเสียง (Voice Call) และ วีดีโอ (Video Call) กล้องถ่ายภาพความละเอียด 3.1MP เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตผ่าน HSPA/3G/Wi-Fi รองรับการเชื่อมต่อกับ Bluetooth พลิกเอียงหน้าจอได้ทุกด้าน รับชมวีดีโอความละเอียดสูง Full HD หน่วยความจำภายใน 16GB รองรับ microSD สูงสุด 32GB ...
ที่มา :
http://www.siamphone.com/review/2010/samsung/galaxy_tab/page.htm
 

ใบงานที่ 3

1. คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทาง
ตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย

2. หน่วยรับเข้า คือ หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วย
ความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประเภท
เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์
 

3.ตัวประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู
เป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้มีการพัฒนาผลิตวงจรหน่วยประมวลผลกลางไว้ในชิป
เรียกว่า
"ไมโครโปรเซสเซอร์" ซึ่งจะทำการประมวลผลข้อมูลจากหน่วยความจำแล้วส่งผลไปยังหน่วยส่งออกต่อไป

หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกเป็น 2 หน่วย คือ
-หน่วยควบคุม
-หน่วยคำนวณและตรรกะ

4.หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ที่ได้จาการประมวลผล
โดยนำผลที่ได้ออกมาจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผูใช้ได้รับรู้โดยประสาทสัมผัส ต่างๆ
 
เช่น ตา หู หรือแม้กระทั่งการสัมผัสด้วยมือก็ได้ อุปกรณ์ต่างๆ

5.หน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง
และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล
และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย
ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ
หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง
นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว

6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ หรือแรม
เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรมและข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกหรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น
หากปิดเครื่องข้อมูลจะหายไปหมดสิ้น
เมื่อเปิดเครื่องใหม่อีกครั้งจึงจะนำข้อมูลหรือโปรแกรมมาเขียนใหม่อีกครั้ง หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานเหมือนกระดานดำ
คือสามารถลบข้อมูลที่ไม่ใช้งานแล้วออกได ้เพื่อเพิ่มพื้นที่ว่างในการเก็บข้อมูลใหม่

7.หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล
หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน

CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก
(
MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

8.หน่วยความจำสำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
 ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้
ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

9.ฮาร์ดดิสก์  คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน
มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน
การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับมาเธอร์บอร์ด

10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด
เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ
ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู
ไปจนถึงหน่วยความจำแคช หน่วยความจำหลัก ฮาร์ดดิกส์ ระบบบัส บนเมนบอร์ดประกอบด้วยชิ้นส่วนต่างๆ
มากมายแต่ส่วนสำคัญๆ

ที่มา :

http://th.wikipedia.org/wiki/

http://www.thaigoodview.com/

 

 

ใบงานที่ 4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้
700MB

2.ดีวีดี จุข้อมูลได้
ดีวีดีแบ่งออกเป็น
5 ชนิดคือ
1.singleside single layer ความจุ 4.7 GB นิยมเรียก DVD 5
2.singleside dual layer ความจุ 8.4 GB นิยมเรียก DVD 9
3.dualside singlelayer ความจุ 9.4 GB นิยมเรียก DVD 10
4.dualside single+dual layer ความจุ 13.1 GB นิยมเรียก DVD 14
5.dualside duallayer ความจุ 16.8 GB นิยมเรียก DVD 18

3.คลื่นบลูทูธ
เป็นคลื่นวิทยุ

4.Lan  คือ
ข่ายงานบริเวณเฉพาะที่
เป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึง กันทั้งหมดโดยอาศัยสื่อกลาง
มีการแบ่งแยกเครือข่ายออกเป็น
2 รูปแบบการเชื่อมโยงคือ
การเชื่อมโยงภายในพื้นที่ระยะใกล้หรือ แลน (
LAN) และการเชื่อมโยงระยะไกลหรือแวน
(WAN) โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบแลน

5.ฮับ (Hub)

 ทำหน้าที่ จ่ายข้อมุล หรือเชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์

 

  ใบงานที่ 3 1. คอมพิวเตอร์ คือ .....คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ 
ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"แหล่งที่มาhttp://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page11.htm
2. หน่วยรับเข้า คือ หน่วยรับเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลจากภายนอกหรือจากผู้ใช้เข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อรอส่งข้อมูลไปประมวลผลที่หน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์รับข้อมูลมีหลายประ
   แทร็กบอล           ก้านควบคุม             เครื่องตรวจกราด         จอสัมผัส
 แหล่งที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/napaporn_pr/com/sec02p02.html 3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ ..... เช่น ..............หน่วยประมวลผลกลาง หรือไมโครโพรเซสเซอร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่นำคำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ใน หน่วยความจำมาแปลความหมาย และกระทำตามคำสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสองแหล่งที่มา http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/cpu.htm
4. หน่วยส่งออก คือ หน่วยส่งออก ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์
    ที่นิยมทั่วไปคือ จอภาพ (monitor) และเครื่องพิมพ์ (printer) อุปกรณ์ส่งออกของคอมพิวเตอร์ ยังมีอีกมากเช่น(1) จอภาพ (monitor) (2) เครื่องพิมพ์ (printer) แหล่งที่มาhttp://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g22m2fri/output.htm
5. หน่วยความจำหลัก คือ ............. แบ่งได้
  .............

คือ หน่วยความจำที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจำ ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคำสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจำนี้จะหายไปด้วย หน่วยความจำหลักที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นำข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
         เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคำสั่ง ซีพียูจะทำหน้าที่นำคำสั่ง จากหน่วยความจำหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทำตาม เมื่อทำเสร็จก็จะนำผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ซีพียูจะกระทำตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียกการทำงานลักษณะนี้ว่า วงรอบคำสั่ง (Execution cycle)
         จากการทำงานเป็นวงรอบของซีพียูนี้เอง การอ่านเขียนข้อมูลลงในหน่วยความจำหลัก จะต้องทำได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้ทันการทำงานของซีพียู โดยปกติุุถ้าให้ซีพียูทำงานที่มีความถี่ของสัญญาณนาฬิกา 2,000 เมกะเฮิรตซ์ หน่วยความจำหลักที่ใช้ทั่วไปมักจะมีความเร็วไม่ทันช่วงติดต่ออาจมีเพียง 100 เมกะเฮิรตซ์
         หน่วยความจำหลักที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ จึงต้องกำหนดคุณลักษณะในเรื่องช่วงเวลาเข้าถึงข้อมูล (Accesss time) ค่าที่ใช้ทั่วไปอยู่ในช่วงประมาณ 60 นาโนวินาที ถึง 125 นาโนวินาที (1 นาโนวินาทีเท่ากับ 10 ยกกำลัง -9 วินาที) แต่อย่างไรก็ตาม มีการพัฒนาให้หน่วยความจำ สามารถใช้กับซีพียูที่ทำงานเร็วขนาด 33 เมกะเฮิรตซ์ โดยการสร้าง หน่วยความจำพิเศษมาึคั่นกลางไว้ ซึ่งเรียกว่า หน่วยความจำแคช (cache memory) ซึ่งเป็นหน่วยความจำที่เพิ่มเข้ามา เพื่อนำชุดคำสั่ง หรือข้อมูลจากหน่วยหลักมาเก็บไว้ก่อน เพื่อให้ซีพียูเรียกใช้ได้เร็วขึ้น

  

แบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูล
1.หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)
          คือถ้าเป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลไว้แล้ว หากไฟฟ้าดับ คือไม่มีไฟฟ้าจ่ายให้ กับวงจรหน่วยความจำ ข้อมูลที่เก็บไว้จะหายไปหมด
2. หน่วยความจำไม่ลบเลือน (nonvolatile memory)
         คือ หน่วยความจำเก็บข้อมูลได้ โดยไม่ขึ้นกับไฟฟ้าที่เลี้ยงวงจร
 

แหล่งที่มาhttp://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/storage.htm 

  • 6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม ....................  มี  ..................หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory)

นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า รอม (ROM) คือหน่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่งที่ใช้ในการเริ่มต้นการทำงานหรือชุดคำสั่งที่สำคัญ ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ โดยคำสั่งที่ใช้ในชิปชื่อ ROM BIOS (Basic Input/Output System) เนื่องจากรอมมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง นั่นคือ แม้จะปิดเครื่องแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม แต่ข้อเสียของรอมคือหน่วยความจำชนิดนี้ไม่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมชุดคำสั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งมีความเร็วในการทำงานช้ากว่าหน่วยความจำแบบแรม นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีรอมที่เป็นชิปพิเศษแบบต่าง ๆ อีก คือ PROM (Programmable Read-Only Memory) เป็นหน่วยความจำแบบรอม ที่สามารถบันทึกด้วยเครื่องบันทึกพิเศษได้หนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแก้ไขไม่ได้EPROM (Erasable PROM) เป็นหน่วยความจำรอม ที่ใช้แสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนข้อมูล สามารถนำออกจากคอมพิวเตอร์โดยใช้เครื่องมือพิเศษและบันทึกข้อมูลใหม่ได้EEPROM (Electrically Erasable PROM) จะเป็นเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดซึ่งรวมเอาข้อดีของรอมและแรมเข้าด้วยกัน เป็นชิปที่ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงและสามารถเขียน แก้ไขหรือลบข้อมูลที่เก็บไว้ได้ด้วยโปรแกรมพิเศษ โดยไม่ต้องถอดออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เปรียบเสมือนกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มีความเร็วสูง หน่วยความจำชนิดนี้มีข้อด้อย 2 ประการเมื่อเทียบกับหน่วยเก็บข้อมูลสำรอง นั่นคือราคาที่สูงและมีความจุข้อมูลต่ำกว่ามาก ทำให้การใช้งานยังจำกัดอยู่กับงานที่ต้องการความเร็วสูงและเก็บข้อมูลไม่มากนัก ตัวอย่างของหน่วยความจำเป็นแบบที่รู้จักกันดีคือ หน่วยความจำแบบ Flash ซึ่งนิยมนำมาใช้เก็บในเครื่องรุ่นใหม่ ๆhttp://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard2.htm
7. หน่วยความจำแคช คือ ............... คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน
CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว
ชนิดของ CACHE แบ่งเป็น 2 ชนิดดังนี้ Level 1 (L1 CACHE) คือ CACHE ที่สร้างลงบน chipCPU หรือเรียกอีกอย่างว่า internal CACHE มีขนาดเล็ก อย่างเช่น ขนาด 8k สำหรับ chip 486, เพนเทียมและ เพนเทียมโปรมีอยู่ 16k ส่วนเพนเทียม MMX และเพนเทียม II มี CACHE L1 ขนาด 32k -Level 2 (L2 CACHE) คือ CACHE ที่อยู่ระหว่าง CPU กับ DRAM หรือเรียกอีกอย่างว่า external CACHE แต่มีขนาด ใหญ่กว่า CACHE ชนิด L1 มาก แต่ในปัจจุบันมี CACHE L2 ของคอมพิวเตอร์บางรุ่นอยู่บน Chip CPU เช่น Chip ของ intel Pentium II เป็นต้น http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html 8. หน่วยความจำสำรอง คือ .....หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง             นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
             หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
            หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง  ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลักhttp://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html


9. ฮาร์ดดิสก์ คือ ...ฮาร์ดดิสก์คือ อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้มักจะมีขนาดใหญ่หรือมักจะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง ๆ มากมาย จนไม่สามารถที่จะใช้บนแผ่นดิสก์ต่อไปได้อีกฉะนั้นสิ่งที่จะมาเป็นตัวยืนในการเก็บข้อมูลจะเป็นสิ่งอื่นไปไม่ได้ นอกจากเจ้าฮาร์ดดิสก์นี่เอง ภายในฮาร์ดดิสก์จะประกอบไปด้วยหัวอ่าน (เขียน) จานแม่เห็ลกชนิดแข็ง และวงจรควบคุมการทำงานต่าง ๆ สำหรับควบคุมหัวอ่าน (เขียน) และจานแม่เหล็กสัมพันธ์กัน
(ข้อมูลล่าสุดขณะนี้ในต่างประเทศกำลังผลิตฮาร์ดดิสก์ประเภทที่ใช้ IC เป็นตัวเก็บข้อมูลซึ่งสามารถอ่านและเขียนข้อมูลได้ โดยไม่ต้องใช้พลังงานใด ๆ หล่อเลี้ยง และคาดว่าจะถูกนำมาใช้แทนฮาร์ดดิสก์แบบเดิมภายในอนาคตอันใกล้

http://atthawat.8m.com/a2.htmนี้)


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ .... แผงวงจรหลักคืออะไร
ถ้าถามว่าในคอมพิวเตอร์ อะไรสำคัญที่สุด คำตอบที่ออกมาเป็นเสียงเดียวกันก็คือ ซีพียู จริงมั้ยครับ รองลงมาก็คือหน่วยความจำหลัก จะมีสักกี่คนที่นึกถึงความสำคัญของเมนบอร์ดบ้าง สายใยสัมพันธ์แห่งครอบครัวที่ร้อยรัดอยู่ได้มิใช่เพราะมี "บ้าน" หรือครับ ลำพังซีพียูอย่างเดียวจะไปทำอะไรได้ แผงวงจรหลักหรือที่รู้จักกันในชื่อของเมนบอร์ด (Main Board, Mother Board) หรือบางคนอาจเรียกทับศัพท์ภาษาอังกฤษว่ามาเธอร์บอร์ดก็ตามแต่สะดวก ไม่มีข้อห้าม แต่ทั้งหมดนั้นหมายถึงอุปกรณ์ชิ้นเดียวกัน ชิ้นไหนล่ะ ก็ชิ้นที่เป็นแผงรวมวงจรอิเลคทรอนิคส์อยู่ในตัวเคสของคอมพิวเตอร์นั่นอย่างไรครับ ถ้าในเครื่องคอมพิวเตอร์มีแผงวงจรอะไรต่อมิอะไรจิปาถะ สามสี่แผง แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าแผงไหนคือ แผงวงจรหลัก คำตอบก็คือให้ดูที่แผงที่ใหญ่ที่สุดนั่นแหละครับ เพราะในคอมพิวเตอร์ แผงวงจรอื่นๆจะใหญ่กว่าแผงวงจรหลักเป็นไม่มี คราวนี้ก็ลองเปิดฝาครอบกล่องคอมพิวเตอร์ออกมาดูสิครับ มองลงไปจะมองเห็นแผงวงจรใหญ่ๆ แผงหนึ่ง วางในลักษณะติดกับพื้นเคส มีสายอะไรระโยงระยาง แล้วก็บอร์ดเล็กบอร์ดน้อยเสียบค้างไว้ นั่นแหละครับ เมนบอร์ด  http://reocities.com/ResearchTriangle/2544/board1.htm

รูปภาพของ pncketkanok

ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
หมายถึง
เครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุดโดยทั่วไปสร้างขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่องานด้านวิทยาศาสตร์ที่ต้องการการประมวลผลซับซ้อนและต้องการความเร็วสูง

http://pirun.ku.ac.th/~b4904281/page3.html

 

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee

 

3. มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบมัลติโปรแกรมมิ่งที่จัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม
ๆ กันได้

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=311abf9bc59b6728

 

4. ไมโครคอมพิวเตอร์
หมายถึง
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่นิยมใช้ทั่วไปในปัจจุบัน 
บางครั้งเรียกว่า
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (
personal coputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถ

เคลื่อนย้ายไปไหนได้โดยง่าย

http://www.nitesonline.net/it/7.htm

5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย
ๆ ในปัจจุบัน เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกที โดยปกติ เราจะถือว่า
คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว
ซึ่งก็ยังใหญ่กว่าขนาดวางตัก และขนาดโน้ตบุ๊ค

http://guru.sanook.com/search/%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B9%8A%E0%B8%B0/

 

6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ค หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
ที่พกพาได้สะดวก
 สามารถใช้พลังงานจากแบตเตอรี และจากปลั๊กไฟโดยตรงก็ได้

http://www.thainotebook.com/webboard/index.php?topic=335.0

 

7. คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล
ที่มา  
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm

รูปภาพของ pncketkanok

ใบงานที่ 4

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้ 700 เมกะไบต์

http://www.srisamut.com/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_show&Category=srisamutcom&thispage=1&No=268934

 

2. ดีวีดี จุข้อมูลได้ 4.7 กิกะไบต์

http://www.manacomputers.com/how-long-time-for-download-dvd-vcd/

 

3. คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่นวิทยุระยะสั้น
ความถี่ประมาณ
2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 5-10
เมตร
 

http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning%20Computer53/Bluetooth/File/BT_Work.html

 

4. Lan 
คือ
ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
เป็นระบบเครือข่ายเน็ตเวิร์กที่ใช้เชื่อมต่อกันในระยะไม่ไกลมากนักโดยปกติมักเชื่อมต่อกันในระยะไม่เกิน
5 กิโลเมตรคือเป็นระบบเน็ตเวิร์กที่อยู่ภายใต้อาคารเดียวกันหรือต่างอาคารในระยะใกล้ๆ 

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=277d1a90486d408b

 

5. ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ ที่เป็นตัวกลางสำหรับการเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆเข้าด้วยกัน

http://noonamart-skella.blogspot.com/2009/07/hub-switches.html 

รูปภาพของ pncwanatsavee

ใบงานที่4 

1.แผ่น CD  จุข้อมูลได้ 650-800 เมกะไบต์
ที่มา: http://faq.bu.ac.th/faq.php?num=4&f_id=4&s_id=57&q_id=129


2. ดีวีดี จุข้อมูลได้  4.7-17 กิกะไบต์
ที่มา:
http://www.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/howstuff2/Cd-rom/dvd-1.html 
3.คลื่นบลูทูธ เป็นคลื่น สัญญาณวิทยุ ความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 5-10 เมตร
ที่มา: http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning%20Computer53/Bluetooth/File/BT_Work.html
4.Lan  คือ การเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน
ที่มา: http://www.com5dow.com/basic-computer/284-LAN-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3.html
5.ฮับ (Hub) ทำหน้าที่ ทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์
ที่มา: http://game-mun.com/forum/index.php?topic=15199.0
นางสาววนัสวี กุศล ม.4/1
รูปภาพของ pncketkanok

ใบงานที่  3

1.คอมพิวเตอร์  คือ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทำงานแทนมนุษย์
ในด้านการคิดคำนวณและสามารถจำข้อมูล
ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อการเรียกใช้งานในครั้งต่อไป
http://www.jinan.co.th/computer.html

 

2.หน่วยรับเข้า เป็นอุปกรณ์ที่นำข้อมูลหรือโปรแกรมเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก
และใช้ในการ
ประมว 

http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page8.htm

 

3.หน่วยประมวลผลกลาง
หรือที่เรานิยมเรียกกันย่อ ๆ ว่า
CPU  คือ
ศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุมระบบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กัน     เช่น ควบคุมการทำงานของความจำหลัก
หน่วยรับข้อมูล หน่วยคำนวณและตรรกะ หน่วยแสดงผล และที่เก็บข้อมูลต่างๆ
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1319be51ee9dc51f

 

4.หน่วยส่งออก   คือ องค์ประกอบส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์
เราถือว่า คอมพิวเตอร์นั้นมีองค์ประกอบด้วยกัน
3 ส่วน
คือ หน่วยรับข้อมูล (
input unit) หน่วยประมวลผลกลาง (central
processing unit) และหน่วยแสดงผล (output unit) ซึ่งมีอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น จอภาพ, พล็อตเตอร์,
เครื่องพิมพ์ ฯลฯ
http://guru.sanook.com/search/

 

5.หน่วยความจำหลัก คือ  เก็บข้อมูลและซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประมวลผลของหน่วยประมวลผล

หน่วยความจำหลักที่นิยมใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
สามารถแบ่งออกได้เป็น
2 ประเภท คือ

1.หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว
(
Read
Only Memory)

2.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory)

http://www.paktho.ac.th/trirong//classroom/plan5001/page6.htm

 

6.หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้
(
Random
Access Memory)
นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า แรม
(
Ram) หมายถึงหน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์
ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้โปรเซสเซอร์ก็จะทำงานไม่ได้เลย
    มี

1.DRAM (Dynamic RAM) ป็นหน่วยความจำที่มีการใช้งานกันมากที่สุดในปัจจุบัน
จะมีวงจรคล้ายตัวเก็บประจุเพื่อจัดเก็บแต่ละบิตของข้อมูล
ทำให้ต้องมีการย้ำสัญญาณไฟฟ้าเข้าไปก่อนที่จะสูญหาย เรียกว่า
การรีเฟรช
(
Refresh) 

2.SRAM (Static RAM)เป็นหน่วยความจำที่มีความเร็วสูง
พลังงานที่
SRAM
ใช้จะน้อยมาก โดยสามารถใช้พลังงานถ่านนาฬิกาในการทำงานได้ถึงหนึ่งปี 

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard2.htm

 

7. หน่วยความจำแคช คือ
หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ
เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน
CACHE

http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html

 

8. หน่วยความจำรอง มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม
เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้
แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้
ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html

 

9.ฮาร์ดดิสก์ 
คือ
อุปกรณ์ที่จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ
ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ในขณะนี้จะประกอบไปด้วยไฟล์ต่าง
ๆ มากมาย จนไม่สามารถที่จะใช้บนแ
http://atthawat.8m.com/a2.htm

 

10.Mainboard (แผงวงจรหลัก
หรือ
เมนบอร์ด)เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู
เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการๆ ทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ
แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ซีพียู ไปจนถึงหน่วยความจำแคช
หน่วยความจำหลัก
 

http://www.bcoms.net/hardware/mainboard.asp

รูปภาพของ pncmatsee1

1.คอมพิวเตอร์ คือ .....อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สามารถรับข้อมูล
  และคำสั่ง  ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลนำข้อมูลและคำสั่งนั้น
ไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

 

  http://www.stks.or.th/web/presentation/20060824-computer_files/frame.htm


2. หน่วยรับเข้า คือ
เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทำงานของคอมพิวเตอร์ เพราะ
มีหน้าที่ในการนำข้อมูลหรือคำสั่งต่าง ๆ เข้าไปในระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์

(1)
อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อมูล

(2) อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูล 

 

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/05/__3.html


3. หน่วยประมวลผลกลาง คือ นิยมเรียกว่า ซีพียู ซึ่งย่อมาจาก Central
Processing Unit : CPU

 บางครั้งเรียกว่า โปรเซสเชอร์

(1).หน่วยคำนวณและตรรกะ 
(2). หน่วยควบคุม 

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/05/__4.html

 

 4. หน่วยส่งออก คือ หน่วยส่งออก
ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลในรูปที่มนุษย์สามารถเข้าใจ
อุปกรณ์ส่งออก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์
 

(1) จอภาพ 

(2) เครื่องพิมพ์

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/05/__10.html

5.หน่วยความจำหลัก
คือ มีหน้าที่ เก็บข้อมูลต่าง ๆ
 ตลอดจนโปรแกรมต่าง ๆ
ขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอยู่ เท่านั้น ถ้าปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ข้อมูลหรือซอฟแวร์ที่เก็บไว้ ในหน่วยความจำหลักจะหายหมด

(1)
แรม
(2) รอม

http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/05/__5.html

6. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้หรือแรม หมายถึง หน่วยความจำความเร็วสูงซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์
ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้โปรเซสเซอร์ก็จะทำงานไม่ได้เลย
เนื่องจากหน่วยความจำแรมเป็นเสมือนกระดาษทด
มี 2 ประเภท

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/sub%20hard2.htm


7. หน่วยความจำแคช คือ หน่วยความจำขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงซึ่งเก็บข้อมูล
หรือคำสั่งที่ถูกเรียกใช้หรือ เรียกใช้บ่อยๆ ข้อมูลและคำสั่งที่เก็บอยู่ใน
CACHE ซึ่งทำงานโดยใช้ SRAM (STATIC
RAM) จะถูกดึงไปใช้งานได้เร็วกว่าการดึงข้อมูลจากหน่วยความจำหลัก ( MAIN
MEMORY) ซึ่งใช้ DRAM (DYNAMIC RAM ) หลายเท่าตัว

http://pirun.ku.ac.th/~b5055141/cache.html

 

 

8. หน่วยความจำสำรอง
คือ
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ
หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ
    หน่วยความจำรอง
สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/lopburi/kanidta_v/computer/sec04p01.html


9. ฮาร์ดดิสก์ คือ
อุปกรณ์ที่ จุ หรือเก็บข้อมูลได้มากมาย และ
ทำงานได้รวดเร็วกว่าแผ่นดิสก์หลายเท่าตัว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ
 

http://atthawat.8m.com/a2.htm


10. แผงวงจรหลักหรือเมนบอร์ด คือ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญรองมาจากซีพียู
เมนบอร์ดทำหน้าที่ควบคุม ดูแลและจัดการทำงานของ อุปกรณ์ชนิดต่างๆ

http://zonehardwares.siam108site.com/mainbord.html

 

 

น.ส. มัทรี  หนูกลาง ม.4/1 เลขที่ 20 ค่ะ 

รูปภาพของ pncwannasiri




ใบงานที่ 5

1.             

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d6900ed2b4869


              2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลาย
ชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee


            3.มินิคอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องที่สามารถใช้งานพร้อม
กันได้หลายคน
จึงมีเครื่องปลายทางต่อได้
นำมาใช้สำหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่

ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


           4.มโครคอมพิวเตอร์
หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร์
ใช้งานง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้

ที่มา  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm#micro


         5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย

          ที่มา http://guru.sanook.com/search


        6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก
หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กหรือขนาดพกพา เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่างๆ
ได้สะดวก  ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี่

         ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12


        7. . คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล
ที่มา :  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


 

รูปภาพของ pncwannasiri







ใบงานที่ 4

1.
แผ่น CDจุข้อมูลได้....เมกะไบต์
:  CD แผ่นหนึ่งมีความจุในการเขียนข้อมูลจะอยู่ที่ประมาณ
700 MB

ที่มา http://www.manacomputers.com/how-long-time-for-download-dvd-vcd/

 


 

 

       2.ดีวีดี จุข้อมูลได้ ....กิกะไบต์  : ความจุของ DVD แผ่นหนึ่ง เท่ากับ 4.7 GB

ที่มา http://www.manacomputers.com/how-long-time-for-download-dvd-vcd/

 


 

 

          3.คลื่นบลูทูธ
เป็นคลื่นวิทยุความถี่ประมาณ 2.4 กิกะเฮิร์ตช์ มีระยะรับส่งประมาณ 5-10 เมตร
                     
ที่มา
http://www.pharm.chula.ac.th/webelarning/elearning%20Computer53/Bluetoot...

 


 

 

         4. Lan  คือ ระบบเครือข่ายขนาดเล็กที่ต้องประกอบด้วย Server และ Client โดยจะต้องมีคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=484daf3ea7953ca0


      5. ฮับ
(Hub) ทำหน้าที่  เชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน
การจะทำให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักกัน
หรือส่งข้อมูลถึงกันได้จะต้องผ่านอุปกรณ์ตัวนี้ 

           ที่มา http://blog.cstc.ac.th/node/74

 


 

รูปภาพของ pncwannasiri

Smile..........Wink

รูปภาพของ pncwannasiri




Money mouth....Tongue out

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

ใบงานที่ 2

1.ฮาร์ดแวร์  คือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้

ที่มา : http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page41.htm 

2. ซอฟต์แวร์  คือ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล
-ซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure
software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้
โดยรวมถึง
ระบบปฏิบัติการ ไดรเวอร์
-
โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ
-
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ
หรือโปรแกรมประยุกต์ได้

3. บุคลากร คือ บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ 

4. spss  คือ  เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป

5. รหัสแอสกี คือ  เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ
โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (
A) พิมพ์ใหญ่
ที่มา :
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA
  น.ส รสสุคนธ์ วังแก

1.ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้นที่มา: http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html 2.ซอฟต์แวร์ (อังกฤษ: software) หรือ ส่วนชุดคำสั่ง [1] หรือบางครั้งมีการสะกดว่า ซอฟท์แวร์ เป็นส่วนของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ซอฟต์แวร์1.มี3ประเภทคือซอฟต์แวร์ระบบ (System/Infrastructure software) ใช้ในการทำให้คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ทำงานกับระบบคอมพิวเตอร์ได้2.โปรแกรมประยุกต์ หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software) ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถดำเนินงานต่าง ๆ โดยทั่วไปเช่น โปรแกรมสำนักงาน ฐานข้อมูล คอมพิวเตอร์เกม เว็บเบราว์เซอร์ โดยโปรแกรมประยุกต์จะมีจียูไอ3.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Tools/Utilities) ประกอบไปด้วยเครื่องมือช่วยให้โปรแกรมเมอร์เขียนโปรแกรมอื่น ๆ หรือโปรแกรมประยุกต์ได้ เครื่องมือต่าง ๆ ประกอบไปด้วย คอมไพเลอร์ อินเตอร์พรีเตอร์ ดีบักเกอร์ที่มา:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%9F%E0%B8%95%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%8C3.บุคลากรหมายถึง  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน3.โปรแกรมเมอร์ (Programmer)คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User)คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการที่มา: http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page43.htm4.SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป
ที่มา: http://student.nu.ac.th/piya_tada/index.html
55..aรหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตารางที่มา:http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm6.รหัสเอ็บซิดิก (Extended Binary Coded Decimal Interchange Code : EBCDIC) ข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบันการกำหนดรหัสจะใช้ 8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน โดยรหัสเอ็บซิดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระดังนี้ที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm7. รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิต ที่มา: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm8.อุปกรณ์ส่งออก คือความหมายอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบที่มา:http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81/9.เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้นที่มา:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%8710.ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ที่มา: http://www.cdt.ob.tc/page14.html  11.ระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ที่มา: http://www.cdt.ob.tc/page14.html

รูปภาพของ khanittha pheingkeaw

ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
หมายถึง  เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d6900ed2b4869


              2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee


3.มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องที่สามารถใช้งานพร้อม กันได้หลายคน จึงมีเครื่องปลายทางต่อได้ นำมาใช้สำหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่

ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


4.มโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร ใช้งานง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้

ที่มา  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm#micro


                 5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกทีโดยปกติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว

ที่มา http://guru.sanook.com/search


             
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง
ๆ ได้สะดวก  ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี่

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12


 

7. . คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล
ที่มา :  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


รูปภาพของ pncploypatcha




ใบงานที่ 5

1.ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
หมายถึง  เครื่องคอมพิวเตอร์อเนกประสงค์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ทำงานด้วยความเร็วสูง จัดเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5d6900ed2b4869


              2.เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากด้วยโปรแกรมหลายชุดเพื่อให้สามารถบริการผู้ใช้หลายคนได้พร้อมกัน

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=69ada8fa4de03cee


3.มินิคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องที่สามารถใช้งานพร้อม กันได้หลายคน จึงมีเครื่องปลายทางต่อได้ นำมาใช้สำหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่

ที่มา http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


4.มโครคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางเป็นไมโครโพรเซสเซอร ใช้งานง่าย ทำงานในลักษณะส่วนบุคคลได้

ที่มา  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm#micro


                 5. คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
หมายถึง ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดพอที่จะวางอยู่บนโต๊ะทำงานได้สบาย เครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงทุกทีโดยปกติคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะนั้นมีขนาดใหญ่กว่าขนาดกระเป๋าหิ้ว

ที่มา http://guru.sanook.com/search


             
6. คอมพิวเตอร์โน้คบุ๊ก หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
หรือขนาดพกพา หรือในบางครั้งเรียกว่าขนาดสมุดโน้ต เพราะสามารถพกพาติดตัวไปที่ต่าง
ๆ ได้สะดวก  ใช้ได้ทั้งกับไฟบ้านและแบตเตอรี่

ที่มา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=4da1c18a3af5cb12


7. . คอมพิวเตอร์แบบมือถือ หมายถึง เป็นไมโครคอมพิวเตอร์สำหรับทำงานเฉพาะอย่าง เช่นเป็นพจนานุกรม เป็นสมุดจนบันทึกประจำวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บข้อมูล
ที่มา :  http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/hardware/index2.htm


 

 

รูปภาพของ pncrotsukon wangkae

 ใบงานที่ 1

1. ระบบสารสนเทศ คือ ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์  ซอฟท์แวร์  ระบบเครือข่าย  ฐานข้อมูล  ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ

2. ข้อมูล  คือ   ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น ภาพ เสียง สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง

3. สารสนเทศ คือ อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม

4. เทคโนโลยี  คือ  การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ  เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้  

น.ส รสสุคนธ์ วังแก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 264 คน กำลังออนไลน์