ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ คุณครูเดือนฉาย หนูแสนดี ง31101 วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม. 4 ภาคเรียนที่ 1/2554

รูปภาพของ pnckruuciap

 

เว็บเกี่ยวกัีบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 

รูปภาพของ pncboonyisa

ใบงานที่ 2 (ช่วงหลัง 6-11)
6. รหัสเอบซีดิก คือ การกำหนดรหัสจะใช้
8 บิต ต่อหนึ่งอักขระ เหมือนกับรหัสแอสกี แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน โดยรหัสเอ็บซิดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระดังนี้
ที่มา
: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_25.htm
7. รหัสยูนิโค้ด
 คือ ใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก
ที่มา
: http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm
8. อุปกรณ์ส่งออก (
Output Device) คือ
หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด
9. ระบบเลขฐานสอง คือ ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1  ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอง
10. ระบบเลขฐานแปด คือ เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
11.ระบบเลขฐานสิบหก คือ  หมายถึงระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว
 ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%81  

รูปภาพของ pncboonyisa

ใบงานที่  2 (ช่วงแรก ข้อ1-5)
1.ฮาร์ดแวร์
  คือ
อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้
ที่มา
: http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html
2. ซอฟต์แวร์  คือ ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
 
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
2.3
ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
3. บุคลากร คือ
บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
4. ผู้ใช้ (User) 
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
 4.
spss คือ เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติค่ะ ก่อนนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป
ที่มา :
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33a
5. รหัสแอสกี คือ เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ เป็นคำย่อมาจาก American Standard Code Information Interchange เป็นรหัส 8 บิต
ที่มา :  
http://a.1asphost.com/chalin623/drinking48/information2/techno2_4.htm

ใบงานที่ 1

1.ระบบสารสนเทศ 
คือ
ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่
ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์
  ซอฟท์แวร์  ระบบเครือข่าย  ฐานข้อมูล  ผู้พัฒนาระบบ
ผู้ใช้ระบบ
  พนักงานที่เกี่ยวข้อง
และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา
  

ที่มา http://blog.eduzones.com/dena/4892

2. ข้อมูล  คือ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น  บุคคล   สิ่งของ  สถานที่  ฯลฯ    ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  ข้อมูลต้องถูกต้องแม่นยำ  ครบถ้วนขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความ

สำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล

ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/generality/10000-5437.html

3. สารสนเทศ
คือ
ข้อมูลที่มีการปรับเปลี่ยน ด้วยการจัดรูปแบบ การกลั่นกรอง และการสรุป
ให้เป็นผลลัพธ์ที่มี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือวีดิทัศน์)
และเนื้อหาที่ตรงกับ ความต้องการ และเหมาะสมต่อการนำไปใช้

ที่มา http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

4. เทคโนโลยี 
คือ 
การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
มาใช้ให้เกิดประโยชน์
 
และเป็นหัวใจของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์

ที่มา http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-1.htm

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีในการนำ คอมพิวเตอร์มาใช้งานจัดการกับข้อมูล ข่าวสาร หรือที่เรียก ว่าสารสนเทศ

ที่มา : http://www.technicphotharam.com/IT/main/link1.htm

 

รูปภาพของ pncchonthichar

        

 ใบงานที่ 2

             1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware)  คือ ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูลการรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์

               2.ซอฟต์แวร์ (software)  คือ ลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์         มี2ประเภทดั้งนี้

      1. Softwareระบบ (System Software) คือชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
      2.
Software ประยุกต์( Application Software )      คือ โปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆตามที่

ผู้ใช้ต้องการ  

                 3.บุคลากร (People ware)    คือหมายถึงบุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (SystemManager) คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (SystemAnalyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่ทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์

4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป

          4. SPSSย่อมาจาก Statistical Package for SocialScience เป็นโปรแกรมสำหรับการจัดการ การประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล   งานวิจัย    โดยเฉพาะงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ซึ่งผู้ใช้จะต้องเข้าใจ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3 ด้าน คือสถิติ การวิจัย และโปรแกรม SPSS

         5.รหัสแอสกี คือ  (อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัวเช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น

           6.เอบซีดิก คือโดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้ ตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง8 บิต (8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8)ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษ แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII) มากกว่า


         7. รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ  จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง  65,536 ตัวซึ่งมากพอ

และสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

        8.อุปกรณ์ส่งออก (outputdevice)หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล

9.ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1ซึ่งเป็นเลขฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย

10.ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0,1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจำในการเก็บให้มากขึ้นการเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน 8 จะทำให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้น

11.ระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal NumberSystem) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0,1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐาน 2 ฐาน 8

ที่มา :    1. http://th.wikipedia.org/wiki/

            2. http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page41.htm

            3..http://bala.yru.ac.th/~404709030/work.htm
     

 

 

 

 

 

รูปภาพของ pncboonyisa

ใบงานที่ 1 

1.ระบบสารสนเทศ  คือ ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมูลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี
ที่มา :
 http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/itsystem.htm2. ข้อมูล  คือ ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่มีอยู่ในรูปของตัวเลข ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่มีความหมายเฉพาะตัว
ที่มา :
 http://www.คืออะไร.com/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/3. สารสนเทศ คือ คุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น
ที่มา
: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=3038186b229ad3374. เทคโนโลยี  คือ  การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง
ที่มา
: http://www.คืออะไร.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ  ถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
ที่มา
: http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm  

1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์2.ซอฟต์แวร์ (software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ 1. Software ระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C
เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น
Norton’s Utilities
ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
2.
Software ประยุกต์ (Application Software)
คือ Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
Software
ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1
Software สำหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Software ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2
Software สำหรับงานทั่วไป

เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง

โปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

ในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมี Software ทั้ง 2 ประเภทเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย Software ระบบทำหน้าที่ควบคุมส่วนของ Hardware ให้ทำงานอย่างอัตโนมัติ ส่วนของ Software ประยุกต์นั้นจะทำหน้าที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ 3.บุคลากร (People ware) คือหมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการเนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น4. SPSS ย่อมาจาก Statistical Package for Social Science เป็นโปรแกรมสำหรับการจัดการ การประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล งานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ ซึ่งผู้ใช้จะต้องเข้าใจ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3 ด้าน คือ สถิติ การวิจัย และโปรแกรม SPSS  5.รหัสแอสกี คือ แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ  เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น 6.เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBM OS-390 สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์ legacy application และฐานข้อมูล ในไฟล์เอบซีดิก ตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง 8 บิต (8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8) ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษ แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII) มากกว่า
7. รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย8.อุปกรณ์ส่งออก (output device)
หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ9.ระบบเลขฐานสอง เลขฐานสอง หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้นถ้าแปลงค่าเลขฐานสิบ มาเป็นเลขฐานสอง จะได้ดังนี้

  • 1 = 1
  • 2 = 10
  • 3 = 11
  • 4 = 100
  • 5 = 101
  • 6 = 110
  • 7 = 111
  • 8 = 1000
  • 9 = 1001
  • 10 = 1010

ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า) มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือมากกว่านั้น ซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัล9.ระบบเลขฐาน 2 (Binary Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1 ซึ่งเป็นเลขฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย เพราะว่าอุปกรณ์ทางไฟฟ้าก็มีสถานะเพียง 2 สถานะ คือ เปิด กับ ปิด ซึ่งก็เทียบได้กับ 0 กับ 1 แต่ถ้าใช้เลขฐาน 10 ในคอมพิวเตอร์อาจจะเกิดปัญหาอย่างอื่นตามมา หรือแม้แต่อุปกรณ์ทางไฟฟ้า ก็ต้องแบ่งสถานะออกเป็น 10 สถานะ ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก การเก็บข้อมูลในระบบของคอมพิวเตอร์ก็จะจัดเก็บเป็นกลุ่มตัวเลขฐานสองหลายบิต ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งที่ต้องการเก็บ และหน่วยความจำที่ใช้10.ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจำในการเก็บให้มากขึ้น การเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน 8 จะทำให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้น11.ระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐาน 2 ฐาน 8 ที่มา :     http://bala.yru.ac.th/~404709030/work.htm

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/index.htmlwww.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_11.htm     

รูปภาพของ pncploypatcha

1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์2.ซอฟต์แวร์ (software) คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ 1. Software ระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของ Hardware ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C
เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น
Norton’s Utilities
ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
2.
Software ประยุกต์ (Application Software)

คือ
Software หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น
Software
ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1
Software
สำหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่าง บางที่เรียกว่า
User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไขหรือแบบฟอร์ม แตกต่างกันออกไปตามความต้องการหรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และ Software
ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัวพัฒนา
2.2
Software
สำหรับงานทั่วไป
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานที่ขาดบุคลากร ที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้นการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวก และเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง

โปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

ในการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมี Software ทั้ง 2 ประเภทเพื่อควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย Software ระบบทำหน้าที่ควบคุมส่วนของ Hardware ให้ทำงานอย่างอัตโนมัติ ส่วนของ Software ประยุกต์นั้นจะทำหน้าที่ควบคุมให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ 3.บุคลากร (People ware) คือหมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการเนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น4. SPSS ย่อมาจาก Statistical Package for Social Science เป็นโปรแกรมสำหรับการจัดการ การประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล งานวิจัย โดยเฉพาะงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ ซึ่งผู้ใช้จะต้องเข้าใจ ศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 3 ด้าน คือ สถิติ การวิจัย และโปรแกรม SPSS  5.รหัสแอสกี คือ แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ [1] (อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น6.เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษ: EBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่ โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBM OS-390 สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์ legacy application และฐานข้อมูล ในไฟล์เอบซีดิก ตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง 8 บิต (8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8) ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลข และเครื่องหมายพิเศษ แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII) มากกว่า
7. รหัสยูนิโค้ด เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย
8.อุปกรณ์ส่งออก (output device)
หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำ หรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิด เป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู input device เปรียบเทียบ
9.ระบบเลขฐานสอง เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้นถ้าแปลงค่าเลขฐานสิบ มาเป็นเลขฐานสอง จะได้ดังนี้

  • 1 = 1
  • 2 = 10
  • 3 = 11
  • 4 = 100
  • 5 = 101
  • 6 = 110
  • 7 = 111
  • 8 = 1000
  • 9 = 1001
  • 10 = 1010

ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า) มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือมากกว่านั้น ซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัลระบบเลขฐาน 2 (Binary Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 2 ตัว ได้แก่เลข 0 กับ เลข 1 ซึ่งเป็นเลขฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ง่าย เพราะว่าอุปกรณ์ทางไฟฟ้าก็มีสถานะเพียง 2 สถานะ คือ เปิด กับ ปิด ซึ่งก็เทียบได้กับ 0 กับ 1 แต่ถ้าใช้เลขฐาน 10 ในคอมพิวเตอร์อาจจะเกิดปัญหาอย่างอื่นตามมา หรือแม้แต่อุปกรณ์ทางไฟฟ้า ก็ต้องแบ่งสถานะออกเป็น 10 สถานะ ซึ่งไม่เป็นที่นิยมนัก การเก็บข้อมูลในระบบของคอมพิวเตอร์ก็จะจัดเก็บเป็นกลุ่มตัวเลขฐานสองหลายบิต ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งที่ต้องการเก็บ และหน่วยความจำที่ใช้ระบบเลขฐาน 8 (Octal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 8 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจำในการเก็บให้มากขึ้น การเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน 8 จะทำให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้นระบบเลขฐาน 16 (Hexadecimal Number System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข 10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีก 6 ตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E, F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐาน 2 ฐาน 8 ที่มา :     1. วิกิพีเดีย            2. sanook.com            3. thaiwbi.com4.http://bala.yru.ac.th/~404709030/work.htm

5.http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/software/index.html 

รูปภาพของ pncthawisak

ใบงานที่2 

1.ฮาร์ดแวร์  คือ ตัวเครื่อนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้างที่สามารถสัมผัสได้ที่สามารถสัมผัสได้ โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูล การรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์

2. ซอฟต์แวร์  คือ ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์     มี 2 ประเภท มีดังนี้ 1.ซอฟต์แวร์ระบบ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์

3. บุคลากร คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์    มี 3 ประเภท ได้แก่ 1.บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านฮาร์ดแวร์ ได้แก่ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ช่างซ่อมคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบ
2.บุคลากรคอมพิวเตอร์ทางด้านซอฟต์แวร์ ได้แก่ โปรแกรมเมอร์ (Programmers) ทำหน้าที่สร้างและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ทำงานตามข้อกำหนด นักวิเคราะห์ระบบ (Systems Analyst) ทำหน้าที่ศึกษาความต้องการของผู้ใช้ แล้วเสนอแนะวิธีการทำงานใหม่เป็นระบบงานคอมพิวเตอร์
3. กลุ่มผู้ใช้งานทั่วไป

4. spss  คือ  เป็นโปรแกรมช่วยประมวลผลทางสถิติ ก่อนที่จะนำมาประมวลผลใน SPSS จะมีการลง code ก่อน ซึ่งแต่ละตัวจะนำมาคำนวณหาตัวเลขทางสถิติโดยใช้สูตรแตกต่างกันไป บางครั้งอาจมีการทดสอบสมมติฐาน เพื่อนำผลที่ได้มาประกอบการตัดสินใจ

5. รหัสแอสกี คือ  ป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล  รหัสแทนข้อมูล
     ชนิดนี้ใช้เลขฐานสองจำนวน 8  บิต  หรือเท่ากับ  1  ไบต์แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว 
     ซึ่งหมายความว่าการแทนอักขระแต่ละตัวจะประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง  8  บิตเรียงกัน 

6. รัหสเอบซีดิก คือ พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม  รหัสแทนข้อมูลนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้แล้วในปัจจุบัน   การกำหนดรหัส
     จะใช้  8  บิต  ต่อหนึ่งอักขระ  เหมือนกับรหัสแอสกี  แต่แบบของรหัสที่กำหนดจะแตกต่างกัน  
     โดยรหัสเอบซีดิกจะเรียงลำดับแต่ละบิตที่ใช้แทนอักขระ


7. รหัสยูนิโค้ด  คือ    เป็นรหัสแบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างขึ้นมาเนื่องจากรหัสขนาด 8 บิตซึ่งมีรูปแบบเพียง 256 
     รูปแบบ ไม่สามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกได้ครบหมด

8. อุุปกรณ์ส่งออก (Output Device) คือ หน่วยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่ยวแสดงผล

9. ระบบเลขฐานสอง  คือตัวเลขที่มีค่าไม่ซ้ำกันสองหลัก ( 0 และ 1) เป็นเลขฐานเดียวที่เข้ากันได้กับ Hardware ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง เพราะการใช้เลขฐานอื่น จะสร้างความยุ่งยากให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมาก เช่น เลขฐานสิบมีตัวเลขที่เป็นสถานะที่ต่างกันถึง 10 ตัว ในขณะที่ระบบไฟฟ้ามีเพียง 2 สถานะ ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆมีเพียงสถานะเดียวเท่านั้น แต่ละหลักของเลขฐานสอง เรียกว่า Binary Digit (BIT)

10. ระบบเลขฐานแปด คือ  เลขฐานสองจำนวน 3 หลัก แทนด้วยเลขฐานแปด 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 6 บิท แทนด้วยเลขฐานแปด 2 บิท การใช้เลขฐานแปดแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง

11.ระบบเลขฐานสิบหก  คือ เลขฐานสองจำนวน 4 หลัก แทนด้วยเลขฐานสิบหก 1 หลัก ดังนั้นเราจึงสามารถเขียนเลขฐานสอง 8 บิทแทนด้วยเลขฐานสิบหก 2 บิท การใช้เลขฐานสิบหกแทนเลขฐานสองทำให้จำนวนบิทสั้นลง

ที่มา :   http://www.navy34.com/index.p/com-software/206-what-hardware-navy34 และhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=74dc29ba5576a33a และhttp://jantima-ssp.exteen.com/20080212/entry-7และhttp://www.dovepvc.moe.go.th/e_book/maths/page02.html และหนังสือเทคโนโลยีสารสนเทศ

นายทวศักดิ์  พฤกษารา ม.4/4 เลขที่8

1.ระบบสารสนเทศ (Information System หรือ IS) เป็นระบบพื้นฐานของการทำงานต่างๆ ในรูปแบบของการเก็บ (input) การจัดการ (processing) เผยแพร่ (output) และมีส่วนเก็บข้อมูล (storage)ที่มา:            http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8 2.ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่าง ๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกมาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจำเป็น ต้องเป็นข้อมูลที่ดีมี ความถูกต้องแม่นยำ
ที่มา: http://www.chakkham.ac.th/technology/techno2/page1.html
3.สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมี การประมวลหรือวิเคราะห์ผลสรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ใน.0รูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน มีความหมาย มีคุณค่าเพิ่มขึ้นและมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่มา: http://www.navy34.com/board342550/index.php?topic=2036.04.เทคโนโลยี คือ การนำความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B55.เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information technology หรือ IT) หมายถึงเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยีที่มา:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

รูปภาพของ pncpimpitcha

ใบงานที่ 2

1.ฮาร์ดแวร์    หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ
ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้


2.ซอฟแวร์ หมาย ถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม)
เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำ งาน
ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง
คอมพิวเตอร์มี 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ
(
System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป
ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง
และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล


3.บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์
ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ
แบ่งออกได้
4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ
ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) คือ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
 


4.SPSS คือ เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย
ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี

มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป

แต่การนำ spss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก

ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS
มานำเสนอ


5.แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ
[1] (อังกฤษ:
ASCII: American
Standard Code for Information Interchange
)
เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน
และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65
(เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (
A) พิมพ์ใหญ่


 6.เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1]
(อังกฤษ:
EBCDIC:
Extended Binary Coded Decimal Interchange Code
) เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่


7.ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode)
คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความตัวอักษร
ที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน


8.อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทำ
หน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล
โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก
อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่ คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์


9เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral
system) หมาย ถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์)
กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น
ปิดกับเปิด
, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง,
ซ้ายกับขวา เป็นต้น


10.ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7


11.ระบบเลขฐาน 16  มีตัวเลขอยู่
16  ตัว  คือ
0  1  2  3  4  5  6  7  8  9
A  B  C  D  E  F

ที่มา: www.thaigoodview.com

 

รูปภาพของ pncpimpitcha

ใบงานที่ 1

                ระบบสารสนเทศ (Information
system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่
ระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ 
ซอฟท์แวร์  ระบบเครือข่าย  ฐานข้อมูล 
ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ 
พนักงานที่เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา  ทุกองค์ประกอบนี้ทำงานร่วมกันเพื่อกำหนด  รวบรวม จัดเก็บข้อมูล  ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ
และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุนการทำงาน
การตัดสินใจ  การวางแผน  การบริหาร การควบคุม  การวิเคราะห์และติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร
(สุชาดา กีระนันทน์, 2541)

                ข้อมูล (data) หรือ ข้อมูลดิบ หมายถึง
ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ก็ได้.
ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องแม่นยำ และเป็นปัจจุบัน เช่น ปริมาณ ระยะทาง ชื่อ
ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คะแนนของนักเรียน รายงาน บันทึก ฯลฯ

                สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย
ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มี
ความถูกต้องและความแม่นยำหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือ เป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละ
หนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ
ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้นภายใน
การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ
ในขณะเดียวกันการบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน

                เทคโนโลยี  เมื่อกล่าวถึงผู้คนส่วนใหญ่อาจนึกถึงเครื่องมือเครื่องจักรเชิงกลหรืออิเล็กทรอนิกส์ที่
ทันสมัย แต่ความเป็นจริงคือ เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับการดำรงชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลานานตั้งแต่ยุค
ประวัติศาสตร์ เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มนุษย์นำความรู้จากธรรมชาติวิทยามาคิดค้นและดัดแปลง
ธรรมชาติเพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิต ในระยะแรกเทคโนโลยีที่นำมาใช้เป็นระดับพื้นฐานอาทิ
การเพาะปลูก การชลประทาน การก่อสร้าง การทำเครื่องมือเครื่องใช้
การทำ
เครื่องปั้นดินเผา การทอผ้า เป็นต้น
ปัจจัยการเพิ่มจำนวนของประชากร ข้อจำกัดด้านทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการพัฒนาความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
เป็นปัจจัยสำคัญในการนำและการพัฒนาเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น

                เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที (อังกฤษ: Information
technology
หรือ IT) หมายถึงเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์
การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็น
3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร
และข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซึ่งในแต่ละกลุ่มนี้ยังแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย
องค์ประกอบทั้ง
3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทำงานร่วมกัน
ยกตัวอย่างเช่น
เครื่องเซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์)
เป็นองค์ประกอบสำคัญของ
ระบบเครือข่าย (การสื่อสาร) โดยมีการส่งข้อมูลต่างๆ ไปยังเครื่องลูก (ข้อมูลแบบมัลติมีเดีย)

ที่มา : www.wikipedia.org

รูปภาพของ pnckruuciap

ครูต้องการใจความสำคัญ แค่  ไม่เกิน  2  บรรทัด ค่ะ ไม่ใชยาวเป็น  5  หน้าแบบนี้  ไปก๊อปปี้ที่ไหนมาค่ะ 

รูปภาพของ pncjutarat

1.ฮาร์ดแวร์    หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้


2.ซอฟแวร์ หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์มี 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล
3.บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ 
4.SPSS คือ เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัย ที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภท ดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป
แต่การนำ spss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก
ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS มานำเสนอ

5.แอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ [1] (อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่


 6.เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษ: EBCDIC: Extended Binary Coded Decimal Interchange Code) เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่


7.ยูนิโคด (อังกฤษ: Unicode) คือมาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความตัวอักษรที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน


8.อุปกรณ์ส่งออก (Output Device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่ คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์


9เลขฐานสอง (อังกฤษ: binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
10.ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
11.ระบบเลขฐาน 16  มีตัวเลขอยู่ 16  ตัว  คือ
0  1  2  3  4  5  6  7  8  9  A  B  C  D  E  F

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sukanda_p/number/sec03p01.html

รูปภาพของ pnckruuciap

ครูต้องการใจความสำคัญ แค่  ไม่เกิน  2  บรรทัด ค่ะ ไม่ใชยาวเป็น  5  หน้าแบบนี้  ไปก๊อปปี้ที่ไหนมาค่ะ 

รูปภาพของ pncthawisak

ใบงานที่1 

1.ระบบสารสนเทศ  คือ ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลหรือวิเคราะห์ผลสรุปด้วยวิธีการต่างๆ ให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์กัน มีความหมาย มีคุณค่าเพิ่มขึ้นและมีวัตถุประสงค์ในการใช้งาน

2. ข้อมูล  คือ  ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อยู่ในรูปของตัวเลขหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ยังไม่ผ่านการประมวลข้อมูล

3. สารสนเทศ คือ ความรู้หรือข้อมูลและข้อเท็จจริงต่างๆ ที่ได้รับการประมวลแล้วและสามารถนำไปใช้ประโยชน์

4. เทคโนโลยี  คือ  การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ  เทคโนโลยีในการประมวลผลสารสนเทศ

                                                                         

นายทวีศักดิ์  พฤกษารา  ชั้นม.4/4  เลขที่8

รูปภาพของ pnc_sedtaruji

งานชิ้นที่ 1

ค้นหา เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน
ตอบ เทคโนโลยีคือการสื่อสาร โดยส่งข้อความเป็นเสียงทางสายโทรศัพท์ได้ประมาณร้อยกว่าปีที่แล้ว และเมื่อประมาณห้าสิบปีที่แล้ว ก็มีการส่งภาพโทรทัศน์และคอมพิวเตอร์ทำให้มีการใช้สารสนเทศในรูปแบบข่าวสารมากขึ้น ในปัจจุบันมีสถานที่วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ แ ละสื่อต่าง ๆ ที่ใช้ในการกระจ่ายข่าวสาร มีการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเพื่อรายงานเหตุการณ์สด ทำให้เกิดควมรวดเร็ว
ที่มา
http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/network/it/index.html
http://kruuduanchai.bb.tc/board.php
2.สารสนเทศ หมายถึง
ตอบข้อมูลที่ผ่านการประมวลและจัดเก็บในรูปแบบต่างๆ
3 ข้อมูล หมายถึง
ตอบ เนื้อหาใจความของของสิ่งๆหนึ่งในรูปแบบที่ขยายและประกอบด้วยเนื้อเรื้องหลายเนื้อเรื่องที่ตรงกัน
4 เทคโนโลยี หมายถึง.

ตอบ
โดยทั่วไปหมายถึง การนำความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
5 เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง

ตอบ หมายถึงเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี

น.ส.  กีรติ เศรษฐรุจิ ม. 4 ห้อง 4 เลขที่ 42

รูปภาพของ pnckruuciap

ครูต้องการใจความสำคัญ แค่  ไม่เกิน  2  บรรทัด ค่ะ ไม่ใชยาวเป็น  5  หน้าแบบนี้  ไปก๊อปปี้ที่ไหนมาค่ะ 

ใบงานที่ 1

ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง
ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ
หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี
สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง
 

ข้อมูล   คือ
ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ
หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน
สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ
  ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง 
และต้องถูกต้องแม่นยำ  ครบถ้วน
ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล
ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง
ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งของที่เราสนใจ
 

สารสนเทศ หมายถึง คุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ
สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น
สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยำหรือไม่มีก็ได้
ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น
สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น
ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก
และการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกัน

เทคโนโลยี คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้
ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ
มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง
ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

เทคโนโลยีสารสนเทศ
หมายถึง
เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม
เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

ที่มา http://guru.google.co.th , http://www.chakkham.ac.th , http://www.thaigoodview.com/library

 

รูปภาพของ pnckruuciap

ครูต้องการใจความสำคัญ แค่  ไม่เกิน  2  บรรทัด ค่ะ ไม่ใชยาวเป็น  5  หน้าแบบนี้  ไปก๊อปปี้ที่ไหนมาค่ะ 

รูปภาพของ pncJirarat

ใบงานที่ 1

ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็น
สารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว
และถูกต้อง
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/pichai_l/it01/itsystem.htm


ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก การ ดำเนินงาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในการตัดสินใจได้ทันที จะนำไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว http://www.chakkham.ac.th/technology/techno2/page1.html

สารสนเทศ (Information) นั้นคือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หาค่าเฉลี่ย หรือใช้ เทคนิคขั้นสูง เช่นการวิจัยดำเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์ หรือ มีความเกี่ยว ข้องกัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศ ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่จำกัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียงอย่างเดียวเท่านั้นhttp://www.chakkham.ac.th/technology/techno2/page1.html


เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
และเป็นหัวใจของการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและผลิตภัณฑ์
       เช่น การนำทรายซึ่งเป็นสารประกอบของซิลิกอนที่มีราคาต่ำ มาสกัดเอาสารซิลิกอนให้บริสุทธิ์ และเจือสารบางอย่างให้เกิดเป็นสิ่งที่เรียกว่าสารกึ่งตัวนำ นำมาผลิตเป็นทรานซิสเตอร์และไอซี ซึ่งไอซีนี้เป็นอุปกรณ์ที่รวมวงจรอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมากไว้ด้วยกัน ใช้ทำชิพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของคอมพิวเตอร์ ทำให้มีราคาสูงเทคโนโลยีจึงเป็นหนทางที่จะช่วยพัฒนาให้สินค้าและบริการต่าง ๆมีมูลค่าเพิ่มขึ้นhttp://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-1.htm

เทคโนโลยีสารสนเทศ
            หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล

การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm


รูปภาพของ pncparinya

ใบงานที่ 1.

 

1.เป็นระบบพื้นฐานของการทำงานต่างๆ
ในรูปแบบของการเก็บ (
input) การจัดการ     (processing)
เผยแพร่ (output) และมีส่วนเก็บข้อมูล (storage)

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคือฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์, มนุษย์, กระบวนการ, ข้อมูล ,เครือข่าย

 

2.ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ
ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะ
เป็นคน สัตว์ สิ่งของ
หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ

3.สารสนเทศคือ เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล
การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภท
ข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น
สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง
 

4. เทคโนลียีคือ การใช้ความรู้
เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน
ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์
และวิธีการ

5.เทคโนลียีสารสนเทศคือ ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำให้มีการพัฒนาคิดค้นสิ่งอำนวยความสะดวกสบายต่อการดำชีวิตเป็นอันมาก

 

ใบงานที่  2

1. ฮาร์ดแวร์ คือหมายถึงอุปกรณ์ต่างๆที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้(รูปธรรม) เช่น จอภาพคีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้นซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆตามลักษณะการทำงาน ได้ หน่วยคือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (CentralProcessing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน 

มีกี่ประเภทฮาร์ดแวร์แบ่งออกเป็น ประเภทครับ
1. 
หน่วยประมวลผล (Processor)
2. 
หน่วยความจำ (Memory)
3. 
อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (Input– OutputDevices)
4. 
ช่องทางสำหรับอุปกรณ์ต่อพ่วง (Port)

2. ซอฟต์แวร์  คือ (software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่งการทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลขตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์เพราะเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกันซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้

การที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมายเพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อนบริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋วคอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่างๆ มากมายคอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงามเป็นต้นการที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและมีความสำคัญมากและเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ

ซอฟท์แวร์มีสองประเภท

ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง

เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันทีโปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้เป็นซอฟต์แวร์ระบบซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอมหรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบคอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้

ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่นๆและยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่างๆตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลายเราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือซอฟต์แวร์สำเร็จและซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่นซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงานฯลฯ

3. บุคลากรคือ หมายถึงบุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ(System Manager) 

คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ(SystemAnalyst) 

คือผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์(Programmer) 

คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้(User) 

คือผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไปซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่องจากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือเนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์(Peopleware) ทั้งสิ้น

4. SPSS คือ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลที่อยู่ในรูปเชิงคุณภาพและข้อมูลที่อยู่ในรูปเชิงปริมาณแต่ในการทำวิจัยทางสาขาการวัดผลและวิจัยการศึกษาข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในรูปของเชิงปริมาณโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยผู้วิจัยให้สามารถประมวลผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องมีอยู่ด้วยกันหลายโปรแกรมซึ่งโปรแกรม SPSS ก็เป็นโปรแกรมหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันเป็นส่วนใหญ่เนื่องมาจากใช้งานได้ง่ายและสามารถหามาใช้ได้ง่ายนอกจากนี้โปรแกรมยังมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาอันจะเห็นได้จากรุ่นของโปรแกรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จนปัจจุบัน SPSS for Windowsพัฒนามาถึงรุ่นที่ 13 แล้วจำเป็นอย่างยิ่งที่คู่มือการใช้โปรแกรมจะต้องมีการพัฒนาตามให้ทันเพื่อเสนอคุณสมบัติต่างๆ ที่มีอยู่ในโปรแกรมและคุณสมบัติใหม่ที่ปรากฏในโปรแกรมรุ่นใหม่ให้ผู้ใช้ได้นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องกับลักษณะงานวิจัยของตน

5. รหัสแฮกคือ ในปัจจุบัน "แฮกเกอร์"นั้นใช้ใน 2ความหมายหลัก ในทางที่ดี และ ไม่ค่อยดีนักความหมายที่เป็นที่นิยมและพบได้บ่อยในสื่อนั้น มักจะไม่ดี โดยจะหมายถึงอาชญากรคอมพิวเตอร์.ส่วนในทางที่ดีนั้น"แฮกเกอร์"ยังใช้ในลักษณะของคำติดปาก หมายถึงความเป็นพวกพ้อง หรือสมาชิกของกลุ่มคอมพิวเตอร์. นอกเหนือจากนี้ คำว่า"แฮกเกอร์"ยังใช้หมายถึงกลุ่มของผู้ใช้คอมพิวเตอร์โดยเฉพาะโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถในระดับผู้เชี่ยวชาญตัวอย่างเช่น "นายลินัส ทอร์วอลด์ (Linus Torvalds) ผู้สร้างลินุกซ์นั้นเป็นแฮกเกอร์อัจฉริยะ"

6.  รหัสเอบซีดิกคือ เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษEBCDIC:Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เป็นรหัสอักขระ บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBMOS-390 สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์legacyapplication และฐานข้อมูลในไฟล์เอบซีดิกตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง บิต(ตัวอักษรของ และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (ยกกำลัง 8) ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลขและเครื่องหมายพิเศษแต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII)มากกว่า

7. รหัสยูนิโค้ด คือ (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆรหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้นคือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษรเนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้คือเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีนและภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัวหากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง บิตเราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้นซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบจึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัวซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

8. อุปกรณ์ส่งออก (OutputDevice) คือ หมายถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำหรือผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลการแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิดเป็นต้นว่า จอภาพ เครื่องพิมพ์พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู inputdevice เปรียบเทียบ

 9. ระบบเลขฐานสอง คือ (อังกฤษ:binarynumeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0(ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง)บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียงทางเช่น ปิดกับเปิดไม่ใช่กับใช่,เท็จกับจริงซ้ายกับขวา เป็นต้น

ถ้าแปลงค่าเลขฐานสิบ มาเป็นเลขฐานสอง จะได้ดังนี้

§                    1= 1

§                    2= 10

§                    3= 11

§                    4= 100

§                    5= 101

§                    6= 110

§                    7= 111

§                    8= 1000

§                    9= 1001

§                    10= 1010

ในปัจจุบันเลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ โดยนำเอาหลักการของเลขฐานสอง (สถานะไม่มีไฟฟ้า และ สถานะมีไฟฟ้า)มาใช้ในการสร้างไมโครโปรเซสเซอร์ที่มีหน่วยประมวลผลแบบ 32 หรือ 64 บิต หรือมากกว่านั้นซึ่งสามารถเรียกได้ว่าเป็นการประมวลผลแบบดิจิทัล

10.  ระบบเลขฐานแปด(OctalNumberSystem) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลขตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข 0,1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 ซึ่งเป็นเลขฐานที่เพิ่มเนื้อที่หน่วยความจำในการเก็บให้มากขึ้นการเก็บข้อมูลเป็นเลขฐาน จะทำให้เก็บข้อมูลได้มากขึ้น

11. ระบบเลขฐาน 16 (HexadecimalNumber System) เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยตัวเลข10 ตัวและตัวอักษรแทนตัวเลขอีกตัว ซึ่งประกอบด้วยเลข0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8,9 และตัวอักษรภาษาอังกฤษแทน 10 ถึง 15 ได้แก่ A, B, C, D, E,F ซึ่งก็จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าระบบเลขฐานฐาน 8

การแปลงเลขฐาน เป็นเลขฐาน10 เลขฐาน แต่ละหลักมีเลขประจำหลักต่างกันไปในการแปลงเป็นเลขฐานอื่นโดยเริ่มจาก

         หลักหน่วย  จะเท่ากับ   20   หรือเท่ากับ    1

    หลักสิบ      จะเท่ากับ   21   หรือเท่ากับ    2

    หลักร้อย    จะเท่ากับ   22   หรือเท่ากับ    4

    หลักพัน     จะเท่ากับ   23   หรือเท่ากับ    8

    หลักหมื่น   จะเท่ากับ   24   หรือเท่ากับ  16

และหลักถัดไปก็จะยกกำลังเพิ่มขึ้นบวกหนึ่งไปเรื่อยๆ ตามจำนวนหลักของเลขฐานสอง หรือถ้าสังเกตดี ๆจะเห็นได้ว่าตัวเลขจะมีการเพิ่มขึ้นหนึ่งเท่าทุก ๆ จำนวน เริ่มจาก เป็น2 2 เป็น 4 4 เป็น 8 8 เป็น 16 16 เป็น 32 32 เป็น 64ไปเรื่อยๆ

http://th.wikipedia.org/wiki/Radix 

 

รูปภาพของ pncmaythawee

ใบงานที่2

1.ฮาร์ดแวร์คือ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้(รูปธรรม) 7 เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (InputUnit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (OutputUnit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

2.ซอฟต์แวร์คือ   ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย

มี2ประเภทคือ  

 1.ซอฟต์แวร์ระบบ

2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์

3.บุคลากรคือ  บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อ ให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ

มี4ประเภทคือ

1.ผู้จัดการระบบ(System Manager) 2.นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst)3.โปรแกรมเมอร์(Programmer)4.ผู้ใช้ (User) 

 4.spssคือ   ป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัยที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี 
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภทดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป แต่การนำspss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก ดังนั้นเว็บไซด์นี้จึงเอาความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS มานำเสนอ

5.รหัสแอสกีคือ  มาตรฐานการกำหนดรหัสแทนข้อมูลให้เป็นมาตรฐานสากลนั้นเอง ซึ่งรหัสนี้นิยมใช้กันเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก เช่น จะมีการกำหนดว่าตัวอักษร a จะแทนด้วย01000001 ดังนั้นถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องใหนใช้รหัส ASCIIเป็นตัวอ้างอิงรหัส คอมพิวเตอร์ ก็จะแสดงผลออกมาเป็น ตัว a แต่ถ้าเครื่องใหนไม่ได้ใช้มาตฐาน ASCII ก็จะได้ผลออกมาเป็นตัวอักษรต่างๆตามที่เครื่องนั้นกำหนดไว้6.รหัสเอบซีดิกคือ   เป็นชื่อของรหัสคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่งที่กำหนดไว้สำหรับเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสองแบบขยายบริษัทไอบีเอ็มเป็นผู้คิดและคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มก็ใช้รหัสนี้ทั้งหมดแต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCll)มากกว่า อันที่จริงแล้ว ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องเข้าใจในเรื่องของรหัสเหล่านี้เลยก็ได้ 7.รหัสยูนิโค้ดคือ  เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆรหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้นคือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษรเนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font)ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัวหากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิตเราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบจึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536ตัวซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย8.อุปกรณ์ส่งออก(Output  Device)  คือ    ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออกอุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ 

 9.ระบบเลขฐานสองคือ   ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา 

 10.ระบบเลขฐานแปดคือ  ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัวคือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว(เริ่มจากขวา) ตัวอย่างเช่น เลขฐานสองที่แทนเลข 74 ในฐานสิบ คือ 1001010 เมื่อจัดเป็นกลุ่มละสาม จากขวาไปซ้ายก็จะได้ 1 001 010 เลขฐานแปดก็คือ 112 (1 ฐานสองตัวแรก เท่ากับ 1 ฐานแปด, 001 ฐานสอง เท่ากับ 1 ฐานแปด และ 010 ฐานสอง เท่ากับ 2 ฐานแปด

11.ระบบเลขฐานสิบหกคือ  เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 10 ตัวและตัวอักษร 6 ตัว คือตัวเลข 0, 1, 2,3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, และตัวอักษรคือ A แทน 10, B แทน 11, C แทน 12, D แทน 13, E แทน 14, F แทน 15 ซึ่งรวมกันแล้วได้ 16 ตัว 

รูปภาพของ pncmaythawee

ใบงานที่1

1.ระบบสารสนเทศคือ   ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมูลนั้นกลายเป็นสารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็วและถูกต้อง

2.ข้อมูลคือ  ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง

3.สารสนเทศคือ  ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 

4.เทคโนโลยีสารสนเทศคือ  การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

5.เทคโนโลยีสารสนเทศคือ  เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่

ที่มา  www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm  น.ส.  เมธาวี  สุทธิ  ม.4/1

รูปภาพของ Pncprachaya

 


 

ใบงานที่1

1.ระบบสารสนเทศ คือ เป็นระบบพื้นฐานของการทำงานต่างๆในรูปแบบของการเก็บ (input) การจัดการ (processing)เผยแพร่(output) และมีส่วนเก็บข้อมูล (storage)

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

 

2. ข้อมูล คือ  ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ต่าง ๆที่เกิดขึ้น อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ก็ได้. ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความถูกต้องแม่นยำและเป็นปัจจุบัน เช่น ปริมาณ ระยะทาง ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คะแนนของนักเรียนรายงาน บันทึก

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5

3. สารสนเทศ คือเป็นผลลัพธ์ของการประมวลผลการจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้นสารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลายตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิคตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร 

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

 

4. เทคโนโลยี คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการมาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น….

http://www.xn--42c6d3aap3b3f.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD-%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3/

 

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลงการจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการและพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และข้อมูลแบบมัลติมีเดียซึ่งในแต่ละกลุ่มนี้ยังแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ ยังต้องอาศัยการทำงานร่วมกัน

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

นาย ปรัชญา  โพธิสาร เลขที่ 1ม.4/4

 

 

 

รูปภาพของ pncmatsee1

1.ฮาร์ดแวร์ คือ     อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้(รูปธรรม) 7 เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (InputUnit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (OutputUnit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p01-1.htm

2. ซอฟต์แวร์ คือ    ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น

มีประเภท  2   

ซอฟต์แวร์ระบบ

     ซอฟต์แวร์ประยุกต์

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p02.htm

3. บุคลากร คือ บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อ ให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ   

 มีประเภท  4 อธิบาย

ผู้จัดการระบบ(System Manager) 

นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst)

โปรแกรมเมอร์(Programmer)

ผู้ใช้ (User) 

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/phayao/patcharee_s/computer_m1/sec02p03.htm

4. spss คือ ป็นโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและงานวิจัยที่มีประวัติการพัฒนามานานหลายสิบปี 
มีสถิติให้เลือกใช้หลายประเภทดังนั้นจึงเป็นที่นิยมของผู้ใช้ทั่วไป 
แต่การนำspss มาใช้โดยที่ผู้ใช้มิได้เริ่มต้นอย่างถูกวิธีย่อมจะทำให้ดูแลยาก 
ดังนั้นเวปไซด์นี้จึงเอาความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการใช้ SPSS มานำเสนอ

http://student.nu.ac.th/piya_tada/index.html

 

 

5. รหัสแอสกีคือ มาตรฐานการกำหนดรหัสแทนข้อมูลให้เป็นมาตรฐานสากลนั้นเอง ซึ่งรหัสนี้นิยมใช้กันเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก เช่น จะมีการกำหนดว่าตัวอักษร a จะแทนด้วย01000001 ดังนั้นถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องใหนใช้รหัส ASCIIเป็นตัวอ้างอิงรหัส คอมพิวเตอร์ ก็จะแสดงผลออกมาเป็น ตัว a แต่ถ้าเครื่องใหนไม่ได้ใช้มาตฐาน ASCII ก็จะได้ผลออกมาเป็นตัวอักษรต่างๆตามที่เครื่องนั้นกำหนดไว้

http://www.blmiacec.ac.th/E-learning/bscom/5-3.htm

6. รหัสเอบซีดิก คือ เป็นชื่อของรหัสคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่งที่กำหนดไว้สำหรับเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นเลขฐานสองแบบขยายบริษัทไอบีเอ็มเป็นผู้คิดและคอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มก็ใช้รหัสนี้ทั้งหมดแต่ในปัจจุบัน คนทั่วไปนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCll)มากกว่า อันที่จริงแล้ว ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ไม่จำเป็นต้องเข้าใจในเรื่องของรหัสเหล่านี้เลยก็ได้

http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81/


7. รหัสยูนิโค้ด คือ
เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆรหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้นคือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษรเนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font)ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัวหากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิตเราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบจึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536ตัวซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

http://www.ns.ac.th/course/webit/lesson2/lesson2_26.htm

8. อุุปกรณ์ส่งออก (OutputDevice) คือ   ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจากหน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออกอุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ 

http://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/output.htm

9. ระบบเลขฐานสอง คือ หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้นhttp://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82

 

10. ระบบเลขฐานแปด คือระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัวคือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว(เริ่มจากขวา) ตัวอย่างเช่น เลขฐานสองที่แทนเลข 74 ในฐานสิบ คือ 1001010 เมื่อจัดเป็นกลุ่มละสาม จากขวาไปซ้ายก็จะได้ 1 001 010 — เลขฐานแปดก็คือ 112 (1 ฐานสองตัวแรก เท่ากับ 1 ฐานแปด, 001 ฐานสอง เท่ากับ 1 ฐานแปด และ 010 ฐานสอง เท่ากับ 2 ฐานแปด

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%94

 

11.ระบบเลขฐานสิบหก คือ เป็นเลขฐานที่ประกอบด้วยเลข 10 ตัวและตัวอักษร 6 ตัว คือตัวเลข 0, 1, 2,3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, และตัวอักษรคือ A แทน 10, B แทน 11, C แทน 12, D แทน 13, E แทน 14, F แทน 15 ซึ่งรวมกันแล้วได้ 16 ตัว

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82

น.ส. มัทรี  หนูกลาง ม.4/1 เลขที่ 20 

รูปภาพของ pncjenjira

             ใบงานที่ 2    1.ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน
 
 ที่มา http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/hardware.html


    2.ซอฟแวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้ที่มา http://www.navy34.com/index.php/com-software/206-what-hardware-navy34   3.บุคลากร หมายถึง ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=735f5fb95c3f9ee9


   4.Spss คือ คือ โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
S = Statistical
P = Package
S = Social
S = Scientists
SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่จัดทำขึ้นสำหรับงานวิจัย
มีคำสั่งหลากหลายคำสั่ง
 เป็นโปรแกรมย่อย ๆ อยู่ภายใต้โปรแกรมใหญ่ ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0f8fc2c6be023db5&table=%2Fguru%2Fsearch%3Fq%3Dspss%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25B7%25E0%25B8%25AD


   5.รหัสแอสกี คือ aแอสกี หรือ รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ [1] (อังกฤษ: ASCII: American Standard Code for Information Interchange) เป็นรหัสอักขระที่ประกอบด้วยอักษรละติน เลขอารบิก เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ต่างๆ โดยแต่ละรหัสจะแทนด้วยตัวอักขระหนึ่งตัว เช่น รหัส 65 (เลขฐานสิบ) ใช้แทนอักษรเอ (A) พิมพ์ใหญ่ เป็นต้น ที่มา: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B8%B5


  6.รหัสเอบซีดิก หรือ ที่มา: 1.  รหัสแอสกี ( ASCII)      เป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กันมากในระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล  รหัสแทนข้อมูล
     ชนิดนี้ใช้เลขฐานสองจำนวน บิต  หรือเท่ากับ  1  ไบต์แทนอักขระหรือสัญลักษณ์แต่ละตัว
     ซึ่งหมายความว่าการแทนอักขระแต่ละตัวจะประกอบด้วยตัวเลขฐานสอง  8  บิตเรียงกัน ซึ่ง
     ลำดับของแต่ละบิตเป็นดังนี้

                     
     บิตที่ 7 6 5 4 3 2 1 0    
                     
      ตัวอย่างรหัสแทนข้อมูล  เช่น          
     บิตที่ 7 6 5 4 3 2 1 0 อักขระที่แทน  
  0 0 1 1 0 1 1 1 7  
  0 1 0 0 0 1 1 1 G  
  0 1 1 0 0 1 1 1 g  
                           

     จากหลักการของระบบเลขฐานสอง  แต่ละบิตสามารถแทนค่าได้  2  แบบ คือ เลข 0 หรือเลข 1
     ถ้าเราเขียนเลขฐานสองเรียงกัน  2  บิต  ในการแทนอักขระ เราจะมีรูปแบบในการแทนอักขระ 
     ได้ 22 หรือ รูปแบบ  คือ  00,01,10 และ  11  ดังนั้นในการใช้รหัสแอสกีซึ่งมี  8  บิตใน
     การแทนอักขระแล้ว เราจะมีรูปแบบที่ใช้แทนได้ถึง 28 หรือ  256  รูปแบบ  ซึ่งเมื่อใช้แทน
     ตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่  สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. 
     จึงได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกัน   
ที่มา http://jantima-ssp.exteen.com/20080212/entry-6 


   7.  รหัสยูนิโค้ด (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆ รหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น คือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษร เนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือ เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่น เป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัว หากใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง 8 บิต เราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้น ซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบ จึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัว ซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย ที่มา: http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/comp_web/41101/learn/lesson2_3_2.3.htm


   8.อุปกรณ์ส่งออก (output  device)  คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจาก หน่วยความจำหลักแสดงให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ส่วนใหญ่คือ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ที่มาhttp://www.chakkham.ac.th/technology/computer1/output.htm


    9. เลขฐานสอง คือ

ระบบเลขฐานสอง  คือ  ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1  ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอง คือ
 
 ตารางเปรียบเทียบเลขฐานสอง
เลขฐานสิบ เเลขฐานสอง
0 00
1 01
2 10
3 11
4 100
5 101
6 110
7 111
8 1000
9 1001
 

   10. เลขฐานแปด   เลขฐานแปด หรือ อัฐนิยม (อังกฤษ: Octal) หมายถึง ระบบตัวเลขที่มีตัวเลขแปดตัว คือ 0 - 7 เลขฐานแปดนี้สร้างขึ้นจากเลขฐานสอง โดยการจัดกลุ่มเลขฐานสองออกเป็นกลุ่มละสามตัว (เริ่มจากขวา) ตัวอย่างเช่น เลขฐานสองที่แทนเลข 74 ในฐานสิบ คือ 1001010 เมื่อจัดเป็นกลุ่มละสาม จากขวาไปซ้าย ก็จะได้ 1 001 010 เลขฐานแปดก็คือ 112 (1 ฐานสองตัวแรก เท่ากับ 1 ฐานแปด, 001 ฐานสอง เท่ากับ 1 ฐานแปด และ 010 ฐานสอง เท่ากับ 2 ฐานแปด) ที่มา :     11.เลขฐานสิบหกเลขฐานสิบหก (hexadecimal) หมายถึงระบบเลขฐานที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) โดยปกติจะใช้สัญลักษรณ์ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F ในการแสดงหรือเขียนทั้ง 16 ตัว 

0hex = 0dec = 0oct 0 0 0 0
1hex = 1dec = 1oct 0 0 0 1
2hex = 2dec = 2oct 0 0 1 0
3hex = 3dec = 3oct 0 0 1 1
4hex = 4dec = 4oct 0 1 0 0
5hex = 5dec = 5oct 0 1 0 1
6hex = 6dec = 6oct 0 1 1 0
7hex = 7dec = 7oct 0 1 1 1
8hex = 8dec = 10oct 1 0 0 0
9hex = 9dec = 11oct 1 0 0 1
Ahex = 10dec = 12oct 1 0 1 0
Bhex = 11dec = 13oct 1 0 1 1
Chex = 12dec = 14oct 1 1 0 0
Dhex = 13dec = 15oct 1 1 0 1
Ehex = 14dec = 16oct 1 1 1 0
Fhex = 15dec = 17oct 1 1 1 1

 

ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%81

  นางสาวเจนจิรา  ลาวัดพรหม  ม.4/1 ค่ะ

รูปภาพของ pncjenjira

                                                                              ใบงานที่1

 1.ระบบสารสนเทศ  คือ   ระบบสารสนเทศ (Information System ) หมายถึง ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บ หรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมุลนั้นกลายเป็น
สารสนเทศที่ดี สามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว
และถูกต้อง2. ข้อมูลคือ ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง   ข้อมูลเป็นเรื่องเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  และต้องถูกต้องแม่นยำ  ครบถ้วน ขึ้นอยู่กับผู้ดำเนินการที่ให้ความสำคัญของความรวดเร็วของการเก็บข้อมูล ดังนั้นการเก็บข้อมูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจนั่นเอง ข้อมูลจึงหมายถึงตัวแทนของข้อเท็จจริง หรือความเป็นไปของสิ่งของที่เราสนใจ อมูล  คือ  3. สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่า สารสนเทศ เกิดจากการนำข้อมูล ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
      เช่น สารสนเทศที่เป็น ความรู้ที่เกิดจากวิทยุ โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งอาจมาจาก วิทยุ โทรทัศน์4. เทคโนโลยี  คือ  Technology คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่ง ขึ้นและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานให้มีมากยิ่งขึ้น….5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ที่มา :  http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm 

น.ส.เจนจิรา  ลาวัดพรหม   ม.4/1 ค่ะ

รูปภาพของ pncmatsee1

1.ระบบสารสนเทศ คือ ระบบที่มีการนำคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการรวบรวม จัดเก็บหรือจัดการกับข้อมูลข่าวสารเพื่อให้ข้อมูลนั้นกลายเป็น
สารสนเทศ ที่ดีสามารถนำไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว
และ ถูกต้อง

 http://tupl.ac.th/blog/index.php/2010/06/28/it25489/

 

2. ข้อมูล คือ     ข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราสนใจ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบต่าง  เช่น ภาพ เสียง วีดิโอไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ

http://301math.exteen.com/20080116/entry-1

 

3. สารสนเทศ คือ ข่าวสารที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (rawdata) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที

http://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm

 

4. เทคโนโลยี คือ การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้เพื่อให้ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หรือหมายถึงการนำความรู้ทักษะ และทรัพยากรมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ

 http://non-krittayot.blogspot.com/2008/05/blog-post.html

 

5. เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล 
การประมวลผลการแสดงผลลัพธ์ การทำสำเนา และการสื่อสารโทรคมนาคม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่
เหมาะสมและสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

 

http://www.chakkham.ac.th/technology/techno1/c2-3.htm

 

น.ส มัทรี  หนูกลาง ม.4/1 เลขที่ 20 

รูปภาพของ khanittha pheingkeaw

ใบงานที่  2

1. ฮาร์ดแวร์ คือ
หมายถึงอุปกรณ์ต่างๆ
ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วย
ตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพคีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น
ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆตามลักษณะการทำงาน ได้
4 หน่วยคือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (CentralProcessing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน 

มีกี่ประเภทฮาร์ดแวร์แบ่งออกเป็น 4 ประเภทครับ
1. หน่วยประมวลผล (Processor)
2. หน่วยความจำ (Memory)
3. อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (Input– Output Devices)
4. ช่องทางสำหรับอุปกรณ์ต่อพ่วง (Port)

2. ซอฟต์แวร์  คือ (software) หมาย
ถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานซอฟต์แวร์จึงหมาย
ถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์คำสั่งเหล่า
นี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตาม
คำสั่งการทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองซึ่ง
ใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้

โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ที่ใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์เพราะเป็นลำดับขั้นตอน
การทำงานของคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทำงานแตกต่างกันได้มากมาย
ด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกันซอฟต์แวร์จึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุก
ประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้

การ
ที่เราเห็นคอมพิวเตอร์ทำงานให้กับเราได้มากมายเพราะว่ามีผู้พัฒนาโปรแกรม
คอมพิวเตอร์มาให้เราสั่งงานคอมพิวเตอร์ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทำบัญชีที่
ยุ่งยากซับซ้อนบริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองตั๋วคอมพิวเตอร์
ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารที่มีข้อมูลต่าง ๆ
มากมายคอมพิวเตอร์ช่วยงานพิมพ์เอกสารให้สวยงาม
เป็นต้นการที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ที่
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสำคัญของระบบคอมพิวเตอร์หากขาดซอฟต์แวร์
คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้
ซอฟต์แวร์จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นและมีความสำคัญมากและเป็นส่วนประกอบหนึ่งที่
ทำให้ระบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามที่ต้องการ

ซอฟท์แวร์มีสองประเภท

ซอฟต์แวร์ระบบ คือ
ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบหน้าที่การทำงาน
ของซอฟต์แวร์ระบบคือดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์เช่น
รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจนำข้อมูลไป
แสดงผลบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบน
หน่วยความจำรอง

เมื่อ
เราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ทันทีที่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์จะทำงานตามโปรแกรมทันทีโปรแกรมแรกที่สั่งคอมพิวเตอร์ทำงานนี้
เป็นซอฟต์แวร์ระบบซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก
หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบคอมพิวเตอร์จะทำงานไม่ได้

ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่นๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็น
ซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆตามความต้องการของผู้ใช้
ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทาง
ด้านต่าง ๆ ออกจำหน่ายมาก การประยุกต์งาน
คอมพิวเตอร์
จึงกว้างขวางและแพร่หลาย
เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือซอฟต์แวร์สำเร็จ
และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะซอฟต์แวร์สำเร็จในปัจจุบันมีมากมาย
เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงานฯลฯ

3. บุคลากรคือ หมาย
ถึงบุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถใช้งานสั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้
4 ระดับดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ(System Manager) 

คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst) 

คือ
ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไป
ได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรม
ให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์(Programmer) 

คือผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้(User) 

คือ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป
ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรม
เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่อง
จากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์มนุษย์จึงเป็นตัวแปร
สำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือเนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่
ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (
Peopleware) ทั้งสิ้น

4. SPSS คือ เป็น
การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งข้อมูลที่อยู่ในรูปเชิงคุณภาพ
และข้อมูลที่อยู่ในรูปเชิงปริมาณ
แต่ในการทำวิจัยทางสาขาการวัดผลและวิจัยการศึกษาข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในรูปของ
เชิงปริมาณโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยผู้วิจัยให้สามารถประมวลผลข้อมูลได้
อย่างรวดเร็วและถูกต้องมีอยู่ด้วยกันหลายโปรแกรมซึ่งโปรแกรม
SPSS ก็
เป็นโปรแกรมหนึ่งที่เป็นที่นิยมกันเป็นส่วนใหญ่เนื่องมาจากใช้งานได้ง่าย
และสามารถหามาใช้ได้ง่ายนอกจากนี้โปรแกรมยังมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา
อันจะเห็นได้จากรุ่นของโปรแกรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จนปัจจุบัน
SPSS for Windows พัฒนามาถึงรุ่นที่ 13 แล้ว
จำเป็นอย่างยิ่งที่คู่มือการใช้โปรแกรมจะต้องมีการพัฒนาตามให้ทัน
เพื่อเสนอคุณสมบัติต่างๆ
ที่มีอยู่ในโปรแกรมและคุณสมบัติใหม่ที่ปรากฏในโปรแกรมรุ่นใหม่ให้ผู้ใช้ได้
นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้องกับลักษณะงานวิจัยของตน

5. รหัสแฮกคือ ในปัจจุบัน "แฮกเกอร์" นั้นใช้ใน 2ความ
หมายหลัก ในทางที่ดี และ ไม่ค่อยดีนัก
ความหมายที่เป็นที่นิยมและพบได้บ่อยในสื่อนั้น มักจะไม่ดี โดยจะหมายถึง
อาชญากรคอมพิวเตอร์.ส่วนในทางที่ดีนั้น
"แฮกเกอร์"ยังใช้ในลักษณะของคำติดปาก หมายถึงความเป็นพวกพ้อง หรือ
สมาชิกของกลุ่มคอมพิวเตอร์. นอกเหนือจากนี้ คำว่า"แฮกเกอร์"
ยังใช้หมายถึงกลุ่มของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
โดยเฉพาะโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถในระดับผู้เชี่ยวชาญตัวอย่างเช่น "
นายลินัส ทอร์วอลด์ (Linus Torvalds)
 ผู้สร้างลินุกซ์นั้นเป็นแฮกเกอร์อัจฉริยะ"

6.  รหัสเอบซีดิก คือ เอบซีดิก หรือ รหัสสับเปลี่ยนเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสองแบบขยาย [1] (อังกฤษ: EBCDIC:Extended Binary Coded Decimal Interchange Code)เป็นรหัสอักขระ 8 บิตที่พัฒนาโดยบริษัท IBM ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบปฏิบัติการขนาดใหญ่โดยเป็นรหัสสำหรับไฟล์ข้อความที่ใช้กับระบบปฏิบัติการ IBMOS-390 สำหรับเครื่องแม่ข่าย S/390 และบริษัทจำนวนมากใช้กับโปรแกรมประยุกต์legacy application และฐานข้อมูล ในไฟล์เอบซีดิกตัวอักษรพยัญชนะและตัวเลขได้รับการนำเสนอเป็นเลขฐานสอง 8 บิต(8 ตัวอักษรของ 0 และ 1) ทำให้สามารถสร้างรหัสได้ 256 รหัส (2 ยกกำลัง 8) ได้แก่ ตัวพยัญชนะ ตัวเลขและเครื่องหมายพิเศษ แต่ในปัจจุบันนิยมใช้รหัสแอสกี (ASCII)มากกว่า

7. รหัสยูนิโค้ด คือ (Unicode) เป็นรหัสที่สร้างขึ้นมาในระยะหลังที่มีการสร้างแบบตัวอักษรของภาษาต่างๆรหัสยูนิโค้ดเป็นรหัสที่ต่างจาก 2 ชนิดที่ได้กล่าวมาข้างต้นคือใช้เลขฐานสอง 16 บิตในการแทนตัวอักษรเนื่องจากที่มาของการคิดค้นรหัสชนิดนี้ คือเมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหลายประเทศและมีการสร้างแบบตัวอักษร (font) ของ
ภาษาต่างๆ ทั่วโลก ในบางภาษาเช่น ภาษาจีน
และภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่เรียกว่าภาษารูปภาพซึ่งมีตัวอักษรเป็นหมื่นตัวหาก
ใช้รหัสที่เป็นเลขฐานสอง
8 บิตเราสามารถแทนรูปแบบตัวอักษรได้เพียง 256 รูปแบบที่ได้อธิบายมาข้างต้นซึ่งไม่สามารถแทนตัวอักษรได้ครบจึงสร้างรหัสใหม่ขึ้นมาที่สามารถแทนตัวอักขระได้ถึง 65,536 ตัวซึ่งมากพอและสามารถแทนสัญลักษณ์กราฟิกและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย

8. อุปกรณ์ส่งออก (OutputDevice) คือ หมาย
ถึงอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำหรือผลลัพธ์ที่ได้จาก
การประมวลผล การแสดงนั้นอาจแสดงผ่านทางอุปกรณ์ได้หลายชนิดเป็นต้นว่า จอภาพ
เครื่องพิมพ์ พล็อตเตอร์ รวมทั้งหน่วยขับจานบันทึก ดู
inputdevice เปรียบเทียบ


 9. ระบบเลขฐานสอง คือ (อังกฤษ:binary numeral system) หมายถึง ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0(ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่,เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 404 คน กำลังออนไลน์