• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a02f48cec86f95173450e6f16e2ac01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong><u>โคลงสี่สุภาพ    <br />\n</u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">กากากาก่าก้า              กากา (00)<br />\nกาก่ากากากา                 ก่าก้า<br />\nกากาก่ากากา                กาก่า (00)<br />\nกาก่ากากาก้า                ก่าก้ากากา</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><u>ข้อบังคับของโคลงสี่สุภาพ (สังเกตจากแผนผัง)</u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">1. บทหนึ่งมี ๔ บรรทัด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">2. วรรคหน้าของทุกบรรทัด มี 5 พยางค์ วรรคหลังของบรรทัดที่ 1-3 มี 2 พยางค์<br />\nบรรทัดที่ 4 มี 4 พยางค์ สามารถท่องจำนวนพยางค์ได้ดังนี้<br />\nห้า -สอง (สร้อย 2 พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ )<br />\nห้า- สอง<br />\nห้า - สอง (สร้อย 2 พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ )<br />\nห้า - สี่ (หากจะให้เกิดความไพเราะในการอ่านนิยมลงเสียงจัตวา)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">3. มีตำแหน่งสัมผัสตามเส้นโยง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">4. บังคับรูปวรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔ ตามตำแหน่งในแผนผัง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u></u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u></u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u>หลักการจำตำแหน่งวรรณยุกต์</u> <br />\n    กากากาก่าก้า              กากา (00)<br />\nกาก่ากากากา                 ก่าก้า<br />\nกากาก่ากากา                กาก่า (00)<br />\nกาก่ากากาก้า  ก่าก้ากากา</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"> <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๕. กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้<br />\nเอกโทษ และโทโทษ เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร?</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">คำเอกคำโท หมายถึงพยางค์ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก และรูปวรรณยุต์โท กำกับ<br />\nอยู่ในคำนั้น โดยมีลักษณะบังคับไว้ดังนี้<br />\n</span><span style=\"color: #999999\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">คำเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ<br />\nและให้รวมถึงคำตายทั้งหมดไม่ว่าจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด<br />\n(ในโคลงและร่ายใช้ คำตาย แทนคำเอกได้)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"> </span><span style=\"color: #999999\">คำตาย คือ<br />\n1. คำที่ประสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตัวสะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ยะ เลอะ โปีะ ฯลฯ<br />\n2. คำที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">คำโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่ว่าจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม<br />\nเช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">คำเอก คำโท ใช้ในการแต่งคำประพันธ์ประเภท &quot;โคลง&quot; และ &quot;ร่าย&quot;และถือว่าเป็นข้อ<br />\nบังคับของฉันทลักษณ์ที่สำคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคำที่ไม่เคยใช้รูปเอก รูปโท แปลงมาใช้<br />\nเอก และ โท ได้ เช่น เล่น นำมาเขียนใช้เป็น เหล้น ได้ เรียกว่า &quot;โทโทษ&quot;<br />\nห้าม ข้อน นำมาเขียนเป็น ฮ่าม ค่อน เรียกว่า &quot;เอกโทษ&quot;</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">เอกโทษและโทโทษ นำมาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เอกโทษและโทโทษ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" /><img height=\"27\" width=\"569\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71003\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71877\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/naturelanguage.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72182\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/thaiword.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72850\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/kindofword.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/73534\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74575\"><img height=\"57\" width=\"85\" src=\"/files/u31714/phrase.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74576\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/lanlevel5.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74577\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/rashasub.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74625\"><img height=\"57\" width=\"283\" src=\"/files/u31714/body-rahasup.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74628\"><img height=\"57\" width=\"369\" src=\"/files/u31714/thing_rashasup.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74673\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/languagereason.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74675\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/tassana.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74699\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/nomnowjai.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75084\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/kwamsamkunkonglan.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75086\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/karntoyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75087\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/kawiwoharn.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75088\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/4suparb.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"/node/75090\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75091\"><img height=\"57\" width=\"213\" src=\"/files/u31714/kunkaliterature.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.st.ac.th/thaidepart/poemt2.php#chan6\"><span style=\"color: #999999\"></span></a>\n</p>\n', created = 1715680171, expire = 1715766571, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a02f48cec86f95173450e6f16e2ac01' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โคลงสี่สุภาพ

รูปภาพของ sss27529

โคลงสี่สุภาพ   

กากากาก่าก้า              กากา (00)
กาก่ากากากา                 ก่าก้า
กากาก่ากากา                กาก่า (00)
กาก่ากากาก้า                ก่าก้ากากา


ข้อบังคับของโคลงสี่สุภาพ (สังเกตจากแผนผัง)

1. บทหนึ่งมี ๔ บรรทัด

2. วรรคหน้าของทุกบรรทัด มี 5 พยางค์ วรรคหลังของบรรทัดที่ 1-3 มี 2 พยางค์
บรรทัดที่ 4 มี 4 พยางค์ สามารถท่องจำนวนพยางค์ได้ดังนี้
ห้า -สอง (สร้อย 2 พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ )
ห้า- สอง
ห้า - สอง (สร้อย 2 พยางค์ มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคำ ต่อคำ เชื่อมคำ )
ห้า - สี่ (หากจะให้เกิดความไพเราะในการอ่านนิยมลงเสียงจัตวา)

3. มีตำแหน่งสัมผัสตามเส้นโยง

4. บังคับรูปวรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔ ตามตำแหน่งในแผนผัง

หลักการจำตำแหน่งวรรณยุกต์
    กากากาก่าก้า              กากา (00)
กาก่ากากากา                 ก่าก้า
กากาก่ากากา                กาก่า (00)
กาก่ากากาก้า  ก่าก้ากากา


 

๕. กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้
เอกโทษ และโทโทษ เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร?

คำเอกคำโท หมายถึงพยางค์ที่บังคับด้วยรูปวรรณยุกต์เอก และรูปวรรณยุต์โท กำกับ
อยู่ในคำนั้น โดยมีลักษณะบังคับไว้ดังนี้
 

คำเอก ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์เอกบังคับ เช่น ล่า เก่า ก่อน น่า ว่าย ไม่ ฯลฯ
และให้รวมถึงคำตายทั้งหมดไม่ว่าจะมีเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม เช่น ปะ พบ รึ ขัด ชิด
(ในโคลงและร่ายใช้ คำตาย แทนคำเอกได้)

 คำตาย คือ
1. คำที่ประสมสระเสียงสั้นแม่ ก กา (ไม่มีตัวสะกด) เช่นกะ ทิ สิ นะ ขรุ ขระ เละ เปรี๊ยะ เลอะ โปีะ ฯลฯ
2. คำที่สะกดด้วยแม่ กก กบ กด เช่น เลข วัด สารท โจทย์ วิทย์ ศิษย์ มาก โชค ลาภ ฯลฯ

คำโท ได้แก่ พยางค์ที่มีรูปวรรณยุกต์โทบังคับ ไม่ว่าจะเป็นเสียงวรรณยุกต์ใดก็ตาม
เช่น ข้า ล้ม เศร้า ค้าน

คำเอก คำโท ใช้ในการแต่งคำประพันธ์ประเภท "โคลง" และ "ร่าย"และถือว่าเป็นข้อ
บังคับของฉันทลักษณ์ที่สำคัญมาก ถึงกับยอมให้เอาคำที่ไม่เคยใช้รูปเอก รูปโท แปลงมาใช้
เอก และ โท ได้ เช่น เล่น นำมาเขียนใช้เป็น เหล้น ได้ เรียกว่า "โทโทษ"
ห้าม ข้อน นำมาเขียนเป็น ฮ่าม ค่อน เรียกว่า "เอกโทษ"

เอกโทษและโทโทษ นำมาใช้แก้ปัญหาได้ แต่ในปัจจุบันไม่นิยมใช้เอกโทษและโทโทษ

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 477 คน กำลังออนไลน์