• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e2ad04e20a1a5523f5639fa48e9ab515' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong><u>คำราชาศัพท์</u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #999999\"></span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #999999\"></span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>ความหมาย</strong><br />\nตามรูปศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้กับพระมหากษัตริย์  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">ในปัจจุบัน<br />\n คำราชาศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำสุภาพ ไพเราะที่ใช้ให้เหมาะกับฐานะของบุคคลในสภาพสังคมไทย <br />\nได้แก่  พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์  พระภิกษุ  ขุนนางข้าราชการ และสุภาพชน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>ที่มาของราชาศัพท์</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u>๑.รับมาจากภาษาอื่น<br />\n</u>ภาษาเขมร เช่น เสวย  เขนย เสด็จ โปรด ฯลฯ<br />\n ภาษาบาลี สันสกฤต  เช่นเนตร หัตถ์ โอรส อาพาธ  ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u> </u> เช่น ตั้งเครื่อง ลูกหลวง ซับพระพักตร์  ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong><u>วิธีใช้ราชาศัพท์ที่ควรสังเกต</u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>๑. การใช้ “ทรง” มีหลัก ๓ ประการ</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๑.๑ นำหน้าคำกริยาสามัญทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น<br />\nทรงเจิม  ทรงออกกำลังกาย ทรงใช้ ทรงวิ่ง เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๑.๒ นำหน้าคำนามสามัญบางคำทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เช่น<br />\nทรงดนตรี  ทรงช้าง ทรงเครื่อง  ทรงรถ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๑.๓ นำหน้าคำนามราชาศัพท์ทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้  เช่น<br />\nทรงพระอักษร  ทรงพระดำเนิน ทรงพระราชนิพนธ์  ทรงพระราชดำริ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">คำกริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” นำหน้า เช่น <br />\nเสด็จ เสวย โปรด พระราชทาน ประทับ ตรัส รับส่ง บรรทม ประชวร <br />\nรับสั่ง ทอดพระเนตร<br />\n(บรรทม กับประชวรจะใช้ ทรงได้ต้องเป็น ทรงพระประชวร,ทรงพระบรรทม) </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong> ๒.การใช้คำ “พระบรม”   “พระราช”  “พระ”</strong><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๒.๑ คำ “พระบรม”ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น พระบรมราชานุเคราะห์ พระปรมาภิไธย พระบรมราโชวาท ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๒.๒ “พระราช” ใช้นำหน้าคำนาม แสดงว่าคำนามนั้นเป็นของพระมหากษัตริย์  สมเด็จพระบรมราชินี  <br />\n          สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  เช่นพระราชานุญาต พระราชวโรกาส พระราชประวัติ  ฯลฯ<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๒.๓ คำ “พระ” ใช้นำหน้าคำนามที่เป็นอวัยวะ ของใช้ เช่น พระนลาฏ  พระชานุ  พระขนง  ฯลฯ</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>๓.การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามสำนวนไทย ไม่นิยมเลียนแบบสำนวนต่างประเทศ</strong> ได้แก่<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๓.๑ถ้ามาต้อนรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต้องใช้ว่า ประชาชนมาเฝ้า ฯ รับเสด็จ   คำว่า”เฝ้าฯรับเสด็จ” ย่อมาจาก”เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ”ไม่ใช้คำว่า”ถวายการต้อนรับ”<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๓.๒คำว่า”คนไทยมีความจงรักภักดี” หรือ”แสดงความจงรักภักดี” ใช้ได้ แต่ไม่ควรใช่คำว่า “ถวายความจงรักภักดี”</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>๔.การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามเหตุผล</strong><br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๔.๑คำว่า “อาคันตุกะ” “ราชอาคันตุกะ” และ”พระราชอาคันตุกะ” ใช้ดังนี้ คือให้ดูเจ้าของบ้านเป็นสำคัญ     <br />\nเช่นแขกของพระมหากษัตริย์ ใช้คำว่า ”ราช”นำหน้า ถ้าไม่ใช่แขกของพระมหากษัตริย์ก็ไม่ต้องมี”ราช”นำหน้า<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">๔.๒ในการถวายสิ่งของแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว <br />\nถ้าเป็นของเล็กยกได้ก็ใช้ “ทูลเกล้าฯ ถวาย”<br />\nถ้าเป็นของใหญ่ยกไม่ได้ใช้ “น้อมเกล้า ฯ ถวาย”</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/king.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" /><img height=\"27\" width=\"569\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71003\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71877\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/naturelanguage.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72182\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/thaiword.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72850\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/kindofword.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/73534\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74575\"><img height=\"57\" width=\"85\" src=\"/files/u31714/phrase.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74576\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/lanlevel5.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74577\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/rashasub.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74625\"><img height=\"57\" width=\"283\" src=\"/files/u31714/body-rahasup.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74628\"><img height=\"57\" width=\"369\" src=\"/files/u31714/thing_rashasup.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74673\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/languagereason.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74675\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/tassana.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74699\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/nomnowjai.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75084\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/kwamsamkunkonglan.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75086\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/karntoyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75087\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/kawiwoharn.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75088\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/4suparb.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"/node/75090\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75091\"><img height=\"57\" width=\"213\" src=\"/files/u31714/kunkaliterature.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/king.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/king.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><br />\n <br />\n</span>\n</p>\n', created = 1715746464, expire = 1715832864, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e2ad04e20a1a5523f5639fa48e9ab515' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำราชาศัพท์

รูปภาพของ sss27529

คำราชาศัพท์

ความหมาย
ตามรูปศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้กับพระมหากษัตริย์ 

ในปัจจุบัน
 คำราชาศัพท์ หมายถึง ถ้อยคำสุภาพ ไพเราะที่ใช้ให้เหมาะกับฐานะของบุคคลในสภาพสังคมไทย
ได้แก่  พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์  พระภิกษุ  ขุนนางข้าราชการ และสุภาพชน

ที่มาของราชาศัพท์

๑.รับมาจากภาษาอื่น
ภาษาเขมร เช่น เสวย  เขนย เสด็จ โปรด ฯลฯ
 ภาษาบาลี สันสกฤต  เช่นเนตร หัตถ์ โอรส อาพาธ  ฯลฯ

  เช่น ตั้งเครื่อง ลูกหลวง ซับพระพักตร์  ฯลฯ

 

 


วิธีใช้ราชาศัพท์ที่ควรสังเกต

๑. การใช้ “ทรง” มีหลัก ๓ ประการ

๑.๑ นำหน้าคำกริยาสามัญทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น
ทรงเจิม  ทรงออกกำลังกาย ทรงใช้ ทรงวิ่ง เป็นต้น

๑.๒ นำหน้าคำนามสามัญบางคำทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้ เช่น
ทรงดนตรี  ทรงช้าง ทรงเครื่อง  ทรงรถ เป็นต้น

๑.๓ นำหน้าคำนามราชาศัพท์ทำให้เป็นกริยาราชาศัพท์ได้  เช่น
ทรงพระอักษร  ทรงพระดำเนิน ทรงพระราชนิพนธ์  ทรงพระราชดำริ เป็นต้น

คำกริยาที่เป็นราชาศัพท์อยู่แล้วไม่ใช้ “ทรง” นำหน้า เช่น
เสด็จ เสวย โปรด พระราชทาน ประทับ ตรัส รับส่ง บรรทม ประชวร
รับสั่ง ทอดพระเนตร
(บรรทม กับประชวรจะใช้ ทรงได้ต้องเป็น ทรงพระประชวร,ทรงพระบรรทม)


 

 ๒.การใช้คำ “พระบรม”   “พระราช”  “พระ”

๒.๑ คำ “พระบรม”ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เช่น พระบรมราชานุเคราะห์ พระปรมาภิไธย พระบรมราโชวาท ฯลฯ

๒.๒ “พระราช” ใช้นำหน้าคำนาม แสดงว่าคำนามนั้นเป็นของพระมหากษัตริย์  สมเด็จพระบรมราชินี 
          สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  เช่นพระราชานุญาต พระราชวโรกาส พระราชประวัติ  ฯลฯ

๒.๓ คำ “พระ” ใช้นำหน้าคำนามที่เป็นอวัยวะ ของใช้ เช่น พระนลาฏ  พระชานุ  พระขนง  ฯลฯ


 

๓.การใช้ราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามสำนวนไทย ไม่นิยมเลียนแบบสำนวนต่างประเทศ ได้แก่

๓.๑ถ้ามาต้อนรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ต้องใช้ว่า ประชาชนมาเฝ้า ฯ รับเสด็จ   คำว่า”เฝ้าฯรับเสด็จ” ย่อมาจาก”เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ”ไม่ใช้คำว่า”ถวายการต้อนรับ”

๓.๒คำว่า”คนไทยมีความจงรักภักดี” หรือ”แสดงความจงรักภักดี” ใช้ได้ แต่ไม่ควรใช่คำว่า “ถวายความจงรักภักดี”


 

๔.การใช้คำราชาศัพท์ให้ถูกต้องตามเหตุผล

๔.๑คำว่า “อาคันตุกะ” “ราชอาคันตุกะ” และ”พระราชอาคันตุกะ” ใช้ดังนี้ คือให้ดูเจ้าของบ้านเป็นสำคัญ    
เช่นแขกของพระมหากษัตริย์ ใช้คำว่า ”ราช”นำหน้า ถ้าไม่ใช่แขกของพระมหากษัตริย์ก็ไม่ต้องมี”ราช”นำหน้า

๔.๒ในการถวายสิ่งของแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ถ้าเป็นของเล็กยกได้ก็ใช้ “ทูลเกล้าฯ ถวาย”
ถ้าเป็นของใหญ่ยกไม่ได้ใช้ “น้อมเกล้า ฯ ถวาย”

 

 


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 280 คน กำลังออนไลน์