• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f00be8a2ac43ea9b85d04939acc8f148' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #999999\"><u><strong>ภาษากับเหตุผล</strong></u></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong>โครงสร้างของเหตุผล</strong><br />\nโครงสร้างของเหตุผลต้องมีสองส่วนคือ เหตุ และ ผล<br />\nเหตุ คือ สาเหตุ,ข้อสนับสนุน,เหตุผล <br />\nผล  คือ ผลลัพธ์,ข้อสรุป</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong>การวางโครงสร้างของเหตุผล</strong><br />\n1. เหตุมาก่อนผลสังเกตจากคำเชื่อมจะใช้ &quot;ดังนั้น,ก็เลย,จึง,เพราะ&quot;<br />\n2. ผลมาก่อนเหตูฃุสังเกตคำเชื่อมจะใช้ &quot;เพราะ,เนื่องจาก,ด้วย&quot;<br />\nเช่น เขาวิ่งมาอย่างเร็วจึงหกล้ม &quot;เหตุมาก่อนผล&quot;<br />\n       เขาหกล้มเพราะวิ่งมาอย่างเร็ว &quot;ผลมาก่อนเหตุ&quot;<br />\nแต่เราว่านะของอย่างงี้บางทีมันก็อยู่ที่ตรรกะส่วนตัวของแต่ละคนด้วยล่ะ<br />\nคืออ่านแล้วเราควรจะวิเคราะห์ได้ด้วยตัวเองด้วยว่า อันไหนเป็นเหตุอันไหนเป็นผล</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><strong>วิธีการให้เหตุผล</strong><br />\nวิธีการให้เหตุผลมี 2 แบบ<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u>1.แบบนิรนัย</u>  <br />\n แบบนิรนัยคือแบบที่มีผลลัพธ์แน่นอนมักจะเป็นเรื่อวจริงเกินขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสัจธรรม<br />\nเช่น หิวก็ต้องกิน,คนเราเกิดมาก็ต้องตาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><u>2.แบบอุปนัย</u><br />\nแบบอุปนัยคือ แบบที่ผลลัพธ์ไม่ตายตัว ไม่จำเป็นต้องเป็นอย่างั้นหรืออย่างนี้ก็ได้ <br />\nคือ ไม่แน่นอนนั่นเอง<br />\nเช่น  เขาไม่เก่งเลขเลย วิชาอื่นก็คงไม่เก่งเหมือนกัน  (จำเป็นด้วยเหรอว่าเรียนเลขไม่เก่งแล้วต้องไม่เก่งสักวิชา)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>การอนุมานเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน</strong><br />\nมีวิธีการอยู่ 3 ขั้นตอน<br />\n1. ต้องแยกออกให้ได้ก่อนว่าอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผล<br />\n2.ดูก่อนว่าสิ่งที่เราแยกออกมา คือที่เรารู้แน่ๆว่าเกิด กับคาดว่าจะเกิดขึ้น<br />\n3. คำตอบของการอนุมานจะเขียนจากสิ่งที่เรารู้แน่ๆว่าเกิดไปหาสิ่งที่เราคาดว่าจะเกิด</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><strong>การอนุมานมี 3 แบบ</strong><br />\n1.การอนุมานจาก&quot;เหตุ&quot;ไปหา&quot;ผล&quot;<br />\n2.การอนุมาจาก&quot;ผล&quot;ไปหา&quot;เหตุ&quot;<br />\n3.การอนุมานจาก&quot;ผล&quot;ไปหา&quot;ผล&quot;<br />\nมีแค่นี้เท่านั้นนะ อย่าบ้าจี้ไปเป็นมีอนุมาน&quot;เหตุ&quot;ไปหา&quot;เหตุ&quot;ล่ะ ไม่มีนะ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">ปล.การอนุมานจากผลไปหาผลต้องมีอย่างน้อย 3 ข้อความ<br />\nเรียงลำดับได้ดังนี้ ผล-เหตุ-ผล</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" /><img height=\"27\" width=\"569\" src=\"/files/u31714/lt.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71003\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/triyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/71877\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/naturelanguage.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72182\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/thaiword.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/72850\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/kindofword.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"http://www.thaigoodview.com/node/73534\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/sentences.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74575\"><img height=\"57\" width=\"85\" src=\"/files/u31714/phrase.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74576\"><img height=\"57\" width=\"113\" src=\"/files/u31714/lanlevel5.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74577\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/rashasub.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74625\"><img height=\"57\" width=\"283\" src=\"/files/u31714/body-rahasup.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74628\"><img height=\"57\" width=\"369\" src=\"/files/u31714/thing_rashasup.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/74673\"><img height=\"57\" width=\"142\" src=\"/files/u31714/languagereason.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74675\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/tassana.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/74699\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/nomnowjai.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75084\"><img height=\"57\" width=\"184\" src=\"/files/u31714/kwamsamkunkonglan.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75086\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/karntoyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75087\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/kawiwoharn.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a target=\"_blank\" href=\"/node/75088\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/4suparb.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /><a target=\"_blank\" href=\"/node/75090\"><img height=\"57\" width=\"156\" src=\"/files/u31714/krulhu.jpg\" border=\"0\" /></a><a target=\"_blank\" href=\"/node/75091\"><img height=\"57\" width=\"213\" src=\"/files/u31714/kunkaliterature.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n', created = 1715697254, expire = 1715783654, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f00be8a2ac43ea9b85d04939acc8f148' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภาษากับเหตุผล

รูปภาพของ sss27529

ภาษากับเหตุผล


โครงสร้างของเหตุผล
โครงสร้างของเหตุผลต้องมีสองส่วนคือ เหตุ และ ผล
เหตุ คือ สาเหตุ,ข้อสนับสนุน,เหตุผล
ผล  คือ ผลลัพธ์,ข้อสรุป

 


การวางโครงสร้างของเหตุผล
1. เหตุมาก่อนผลสังเกตจากคำเชื่อมจะใช้ "ดังนั้น,ก็เลย,จึง,เพราะ"
2. ผลมาก่อนเหตูฃุสังเกตคำเชื่อมจะใช้ "เพราะ,เนื่องจาก,ด้วย"
เช่น เขาวิ่งมาอย่างเร็วจึงหกล้ม "เหตุมาก่อนผล"
       เขาหกล้มเพราะวิ่งมาอย่างเร็ว "ผลมาก่อนเหตุ"
แต่เราว่านะของอย่างงี้บางทีมันก็อยู่ที่ตรรกะส่วนตัวของแต่ละคนด้วยล่ะ
คืออ่านแล้วเราควรจะวิเคราะห์ได้ด้วยตัวเองด้วยว่า อันไหนเป็นเหตุอันไหนเป็นผล

 


วิธีการให้เหตุผล
วิธีการให้เหตุผลมี 2 แบบ

1.แบบนิรนัย 
 แบบนิรนัยคือแบบที่มีผลลัพธ์แน่นอนมักจะเป็นเรื่อวจริงเกินขึ้นตามธรรมชาติ เป็นสัจธรรม
เช่น หิวก็ต้องกิน,คนเราเกิดมาก็ต้องตาย

2.แบบอุปนัย
แบบอุปนัยคือ แบบที่ผลลัพธ์ไม่ตายตัว ไม่จำเป็นต้องเป็นอย่างั้นหรืออย่างนี้ก็ได้
คือ ไม่แน่นอนนั่นเอง
เช่น  เขาไม่เก่งเลขเลย วิชาอื่นก็คงไม่เก่งเหมือนกัน  (จำเป็นด้วยเหรอว่าเรียนเลขไม่เก่งแล้วต้องไม่เก่งสักวิชา)

การอนุมานเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน
มีวิธีการอยู่ 3 ขั้นตอน
1. ต้องแยกออกให้ได้ก่อนว่าอะไรเป็นเหตุอะไรเป็นผล
2.ดูก่อนว่าสิ่งที่เราแยกออกมา คือที่เรารู้แน่ๆว่าเกิด กับคาดว่าจะเกิดขึ้น
3. คำตอบของการอนุมานจะเขียนจากสิ่งที่เรารู้แน่ๆว่าเกิดไปหาสิ่งที่เราคาดว่าจะเกิด

 

การอนุมานมี 3 แบบ
1.การอนุมานจาก"เหตุ"ไปหา"ผล"
2.การอนุมาจาก"ผล"ไปหา"เหตุ"
3.การอนุมานจาก"ผล"ไปหา"ผล"
มีแค่นี้เท่านั้นนะ อย่าบ้าจี้ไปเป็นมีอนุมาน"เหตุ"ไปหา"เหตุ"ล่ะ ไม่มีนะ

ปล.การอนุมานจากผลไปหาผลต้องมีอย่างน้อย 3 ข้อความ
เรียงลำดับได้ดังนี้ ผล-เหตุ-ผล

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 457 คน กำลังออนไลน์