• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7f4ba804aa006a3ee500f0cf5820145e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/70587\" onmouseout=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/00_1narlak1.jpg\" name=\"a\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70031\" onmouseout=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/06_0pasathai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\" name=\"b\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70809\" onmouseout=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton2-001.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\" name=\"c\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69748\" onmouseout=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/01_0soundds1.jpg\" name=\"d\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69759\" onmouseout=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\" name=\"e\" border=\"0\" /></a> <br />\n<a href=\"/node/69763\" onmouseout=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\" name=\"f\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70569\" onmouseout=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_ochaipid2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\" name=\"g\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79647\" onmouseout=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\" name=\"h\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79347\" onmouseout=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/06_0langaking1.jpg\" name=\"i\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79127/\" onmouseout=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/09_0pujedtam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\" name=\"j\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<table cellPadding=\"1\" cellSpacing=\"1\" style=\"border: #ffffff 1px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"center\" vAlign=\"top\">\n <a href=\"/node/69748\"></a><a href=\"/node/69763\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_1chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69764\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_2chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69765\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_3chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69766\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_4chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69767\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_5chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69768\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_6chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69769\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_7chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></a><br />\n <a href=\"/node/69747\"></a><br />\n <a href=\"/node/69754\"></a><br />\n <a href=\"/node/69757\"></a><br />\n <a href=\"/node/69758\"></a>\n</td>\n<td>\n<table cellPadding=\"15\" cellSpacing=\"15\" style=\"border: #00ffcc 8px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"21\"><center><span style=\"color: #28bfa0\"></span></center><span><span style=\"color: #008b45\"><span style=\"color: #00ffcc\"><strong>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"> คำกริยา</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">       คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำของคำนาม และคำสรรพนามในประโยค คำกริยาบางคำอาจมี <br />\n ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำต้องมีคำอื่นมาประกอบ และบางคำต้องไปประกอบคำอื่นเพื่อขยายความ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">ชนิดของคำกริยา คำกริยาแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี้ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">1. กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ (อกรรมกริยา) เป็นกริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ ชัดเจนในตัวเอง เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">ครูยืน <br />\n น้องนั่งบนเก้าอี้ <br />\n ฝนตกหนัก <br />\n เด็กๆหัวเราะ <br />\n คุณลุงกำลังนอน </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">        2. กริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ (สกรรมกริยา) เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมมารับจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">แม่ค้าขายผลไม้ <br />\n น้องตัดกระดาษ <br />\n ฉันเห็นงูเห่า <br />\n พ่อซื้อของเล่นมาให้น้อง </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">         3. กริยาที่ต้องมีคำมารับ คำที่มารับไม่ใช่กรรมแต่เป็นส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา) คือ คำกริยานั้นต้องมี <br />\n คำนามหรือสรรพนามมาช่วยขยายความหมายให้สมบูรณ์ เช่นคำว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่าคือ เสมือน ดุจ เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">ชายของฉันเป็นตำรวจ <br />\n เธอคือนักแสดงที่ยิ่งใหญ่ <br />\n ลูกดุจแก้วตาของพ่อแม่ <br />\n แมวคล้ายเสือ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">          4. กริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นคำที่เติมหน้าคำกริยาหลักในประโยคเพื่อช่วยขยายความหมายของคำกริยาสำคัญ <br />\n ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นคำว่า กำลัง จะ ได้ แล้ว ต้อง อย่า จง โปรด ช่วย ควร คงจะ อาจจะ เป็นต้น เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">เขาไปแล้ว <br />\n โปรดฟังทางนี้ <br />\n เธออาจจะถูกตำหนิ <br />\n ลูกควรเตรียมตัวให้พร้อม <br />\n เขาคงจะมา <br />\n จงแก้ไขงานให้เรียบร้อย </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">         ข้อสังเกต กริยาคำว่า ถูก ตามปกติจะใช้กับกริยาที่มีความหมายไปในทางไม่ดี เช่น ถูกตี ถูกดุ ถูกตำหนิ ถ้าความหมายในทางดีอาจใช้คำว่า ได้รับ เช่น ได้รับคำชมเชย ได้รับเชิญ เป็นต้น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">          5. กริยาที่ทำหน้าที่คล้ายนาม (กริยาสภาวมาลา) เป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่คล้ายกับคำนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือบทขยายของประโยคก็ได้ เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">เขาชอบออกกำลังกาย (ออกกำลังกายเป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่คล้ายนาม เป็นกรรมของประโยค) <br />\n กินมากทำให้อ้วน (กินมากเป็นกริยาที่ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค) <br />\n นอนเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอนเป็นกริยาทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค) </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">หน้าที่ของคำกริยา มีดังนี้ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">1. ทำหน้าที่เป็นกริยาสำคัญของประโยค เช่น คนกินข้าว นกบินมาเป็นฝูง เป็นต้น <br />\n 2. ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น กินมากทำให้อ้วน เป็นต้น <br />\n 3. ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ฉันชอบเต้นแอร์โรบิกตอนเช้า เป็นต้น <br />\n 4. ทำหน้าที่ช่วยขยายกริยาสำคัญให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น พี่คงจะกลับบ้านเย็นนี้ เป็นต้น <br />\n 5. ทำหน้าที่ช่วยขยายคำนามให้เข้าใจเด่นชัดขึ้น เช่น ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวผัด น้องชายชอบบะหมี่แห้ง เป็นต้น </span></span>\n </p>\n<p> </p></strong></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n<span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"23\" width=\"600\" src=\"/files/u31711/ffly.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1723027527, expire = 1723113927, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7f4ba804aa006a3ee500f0cf5820145e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของคำ >> คำกริยา ::

รูปภาพของ sss27867












 คำกริยา

       คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการ สภาพ หรือการกระทำของคำนาม และคำสรรพนามในประโยค คำกริยาบางคำอาจมี
ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง บางคำต้องมีคำอื่นมาประกอบ และบางคำต้องไปประกอบคำอื่นเพื่อขยายความ

ชนิดของคำกริยา คำกริยาแบ่งออกเป็น 5 ชนิด ดังนี้

1. กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ (อกรรมกริยา) เป็นกริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ ชัดเจนในตัวเอง เช่น

ครูยืน
น้องนั่งบนเก้าอี้
ฝนตกหนัก
เด็กๆหัวเราะ
คุณลุงกำลังนอน

        2. กริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับ (สกรรมกริยา) เป็นกริยาที่ต้องมีกรรมมารับจึงจะได้ใจความสมบูรณ์ เช่น

แม่ค้าขายผลไม้
น้องตัดกระดาษ
ฉันเห็นงูเห่า
พ่อซื้อของเล่นมาให้น้อง

         3. กริยาที่ต้องมีคำมารับ คำที่มารับไม่ใช่กรรมแต่เป็นส่วนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา) คือ คำกริยานั้นต้องมี
คำนามหรือสรรพนามมาช่วยขยายความหมายให้สมบูรณ์ เช่นคำว่า เป็น เหมือน คล้าย เท่าคือ เสมือน ดุจ เช่น

ชายของฉันเป็นตำรวจ
เธอคือนักแสดงที่ยิ่งใหญ่
ลูกดุจแก้วตาของพ่อแม่
แมวคล้ายเสือ

          4. กริยาช่วย (กริยานุเคราะห์) เป็นคำที่เติมหน้าคำกริยาหลักในประโยคเพื่อช่วยขยายความหมายของคำกริยาสำคัญ
ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นคำว่า กำลัง จะ ได้ แล้ว ต้อง อย่า จง โปรด ช่วย ควร คงจะ อาจจะ เป็นต้น เช่น

เขาไปแล้ว
โปรดฟังทางนี้
เธออาจจะถูกตำหนิ
ลูกควรเตรียมตัวให้พร้อม
เขาคงจะมา
จงแก้ไขงานให้เรียบร้อย

         ข้อสังเกต กริยาคำว่า ถูก ตามปกติจะใช้กับกริยาที่มีความหมายไปในทางไม่ดี เช่น ถูกตี ถูกดุ ถูกตำหนิ ถ้าความหมายในทางดีอาจใช้คำว่า ได้รับ เช่น ได้รับคำชมเชย ได้รับเชิญ เป็นต้น

          5. กริยาที่ทำหน้าที่คล้ายนาม (กริยาสภาวมาลา) เป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่คล้ายกับคำนาม อาจเป็นประธาน เป็นกรรม หรือบทขยายของประโยคก็ได้ เช่น

เขาชอบออกกำลังกาย (ออกกำลังกายเป็นคำกริยาที่ทำหน้าที่คล้ายนาม เป็นกรรมของประโยค)
กินมากทำให้อ้วน (กินมากเป็นกริยาที่ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค)
นอนเป็นการพักผ่อนที่ดี (นอนเป็นกริยาทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค)

หน้าที่ของคำกริยา มีดังนี้

1. ทำหน้าที่เป็นกริยาสำคัญของประโยค เช่น คนกินข้าว นกบินมาเป็นฝูง เป็นต้น
2. ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น กินมากทำให้อ้วน เป็นต้น
3. ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ฉันชอบเต้นแอร์โรบิกตอนเช้า เป็นต้น
4. ทำหน้าที่ช่วยขยายกริยาสำคัญให้มีความหมายชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น พี่คงจะกลับบ้านเย็นนี้ เป็นต้น
5. ทำหน้าที่ช่วยขยายคำนามให้เข้าใจเด่นชัดขึ้น เช่น ฉันชอบกินก๋วยเตี๋ยวผัด น้องชายชอบบะหมี่แห้ง เป็นต้น

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 603 คน กำลังออนไลน์