• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8a1d0f6a56b4b393f708c92c0d261b24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/70587\" onmouseout=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/00_1narlak1.jpg\" name=\"a\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70031\" onmouseout=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/06_0pasathai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\" name=\"b\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70809\" onmouseout=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton2-001.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\" name=\"c\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69748\" onmouseout=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/01_0soundds1.jpg\" name=\"d\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69759\" onmouseout=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\" name=\"e\" border=\"0\" /></a> <br />\n<a href=\"/node/69763\" onmouseout=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\" name=\"f\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70569\" onmouseout=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_ochaipid2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\" name=\"g\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79647\" onmouseout=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\" name=\"h\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79347\" onmouseout=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/06_0langaking1.jpg\" name=\"i\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79127/\" onmouseout=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/09_0pujedtam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\" name=\"j\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<table cellPadding=\"1\" cellSpacing=\"1\" style=\"border: #ffffff 1px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"center\" vAlign=\"top\">\n <a href=\"/node/69748\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/01_1_1soundds1.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n <a href=\"/node/69747\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/01_1_2soundds1.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n <a href=\"/node/69754\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/01_1_3soundds1.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n <a href=\"/node/69757\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/01_1_4soundds1.jpg\" border=\"0\" /></a><br />\n <a href=\"/node/69758\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/01_1_5soundds1.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</td>\n<td>\n<table cellPadding=\"15\" cellSpacing=\"15\" style=\"border: #54ff9f 8px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"21\"><center></center><span><span style=\"color: #008b45\">\n<p align=\"center\">\n <strong>เสียงสระ</strong>\n </p>\n<p>\n <br />\n <strong><u>ฐานที่เกิดเสียงสระ</u><br />\n </strong>        เสียงสระ เกิดขึ้นโดยอาศัยคอเป็นที่ตั้ง และริมฝีปากหรือลิ้นกระทบอวัยวะในปากเป็นเครื่องช่วย ลิ้นที่ทำให้เกิดเสียงมีอยู่ ๓ ส่วน คือ ลิ้นส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนหลังลิ้นแต่ละส่วนก็ยังสามารถกระดกขึ้นลงได้ ๓ ระดับ  คือ สูง กลาง ต่ำ ถ้าลิ้นกระดกระดับต่าง ๆ เสียงสระที่เกิดขึ้นก็จะต่างกันไปด้วย จากตารางต่อไปนี้แสดงให้เห็นส่วนของลิ้นที่ทำให้เกิดสระ    \n </p>\n<p> <center></center></p>\n<p align=\"center\">\n<table align=\"center\" border=\"0\">\n<caption></caption>\n<tbody>\n<tr align=\"center\" vAlign=\"middle\">\n<td>ระดับลิ้น </td>\n<td> ลิ้นส่วนหน้า</td>\n<td align=\"center\" vAlign=\"middle\"> ลิ้นส่วนกลาง</td>\n<td>ลิ้นส่วนหลัง </td>\n</tr>\n<tr align=\"center\" vAlign=\"middle\">\n<td> สูง</td>\n<td> อิ อี</td>\n<td> อึ อือ</td>\n<td> อุ อู</td>\n</tr>\n<tr align=\"center\" vAlign=\"middle\">\n<td> กลาง</td>\n<td> เอะ เอ</td>\n<td> เออะ เออ</td>\n<td> โอะ โอ</td>\n</tr>\n<tr align=\"center\" vAlign=\"middle\">\n<td> ต่ำ</td>\n<td> แอะ แอ</td>\n<td> อะ อา</td>\n<td> เอาะ ออ</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n<p>\n <u><strong>รูปสระ</strong><br />\n </u>        สระไทย ๒๑ รูป ดังนี้\n </p>\n<p>\n ๑.     ะ  วิสรรชนีย์  <br />\n ๒.      ั  ไม้ผัดหรือไม้หันอากาศ     <br />\n ๓.      ็  ไม้ไต่คู้  <br />\n ๔.    ๆ   ลากข้าง        <br />\n ๕.      ิ   พินท์อิ   <br />\n ๖.      ่   ฝนทอง    <br />\n ๗.      ํ   นฤคหิต (หยดน้ำค้าง) <br />\n ๘.     &quot;   ฟันหนู  <br />\n ๙.      ุ   ตีนเหยียด<br />\n ๑๐.    ู   ตีนคู้<br />\n ๑๑    เ      ไม้หน้า<br />\n ๑๒.   ใ       ไม้ม้วน<br />\n ๑๓.   ไ       ไม้มลาย <br />\n ๑๔.   โ       ไม้โอ <br />\n ๑๕.   อ       ตัวออ <br />\n ๑๖.   ย       ตัวยอ<br />\n ๑๗.   ว        ตัววอ <br />\n ๑๘.   ฤ       ตัวร<br />\n ๑๙.   ฤา     ตัวรือ <br />\n ๒๐.   ฦ       ตัวลึ<br />\n ๒๑. ฦา      ตัว ลือ     \n </p>\n<p>\n <strong><u>เสียงสระ</u></strong>        <br />\n         เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๔ เสียงจำแนกเป็นเสียงเดี่ยวหรือสระแท้ ๑๘ เสียงสระเลื่อน ๖ เสียง<br />\n                 ๑. <strong><u>สระเดี่ยว</u></strong> หรือสระแท้ มี ๑๘ เสียง ซึ่งมีเสียงสั้นเสียงยาว ๙ คู่ ดังนี้<br />\n                         <strong>รัสสระ (สระเสียงสั้น)</strong>                        <u>   <strong>ทีฆสระ (สระเสียงยาว)</strong></u><br />\n                            อะ                                                        อา<br />\n                            อิ                                                          อี    <br />\n                            อี                                                          อื      <br />\n                            อุ                                                          อู   <br />\n                            เอะ                                                       เอ  <br />\n                            แอะ                                                      แอ  <br />\n                            โอะ                                                      โอ  <br />\n                           เอาะ                                                      ออ  <br />\n                           เออะ                                                     เออ<br />\n                 ๒. <strong><u>สระเลื่อน</u></strong> หรือสระประสม ในภาษาไทยมี ๖ เสียง คือสระที่มีการเลื่อนระดับของลิ้นจากเสียงหนึ่งไปยังเสียงหนึ่ง<br />\n ได้แก่<br />\n <strong>                                       รัสสระ (สระเสียงสั้น)</strong>           <strong>ทีฆสระ (สระเสียงยาว)</strong><br />\n                                 เอียะ (อิ -&gt; อะ)                เอีย (อี -&gt; อา)<br />\n                                 เอือะ (อื -&gt; อะ)                เอือ (อื -&gt; อา)<br />\n                                 อัวะ (อุ -&gt; อะ)                 อัว (อู -&gt; อา)<br />\n        \n </p>\n<p>\n         คำที่มีสระเลื่อนเสียงสั้นมีเพียงไม่กี่คำที่ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น เกี๊ยะ  เปรี๊ยะ เบื๊อก เอื๊อก ผัวะ ยัวะ ด้วยเหตุนี้นักภาษาศาสตร์บางคนจึงถือว่าภาษาไทยมีสระเลื่อนเพียง ๓ เสียง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/ข้อพิจารณาเกี่ยวกับเสียงสระ<br />\n         ๑. <strong>สระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป</strong> เช่น  คำว่า &quot;ไน&quot; อาจเขียนว่า&quot;นัย&quot; หรือ &quot;ใน&quot; คำว่า &quot;กำ&quot; อาจเขียนว่า &quot;กรรม&quot;<br />\n         ๒. <strong>ในบางคำรูปสระบางรูปไม่ออกเสียง</strong> เช่นคำว่า ญาติ  ประวัติ ุุ ในคำว่าเหตุธาตุ<br />\n         ๓. <strong>ในบางคำมีเสียงสระ /อะ/ แต่ไม่ปรากฏรูป</strong>  เช่น สบาย ตลาด หวายอร่อย<br />\n         ๔. <strong>ไม้ไต่คู้</strong>   ใช้แสดงเสียงสั้นแต่คำบางคำเสียงสั้นก็ไม่นิยมใช้ไม้ไต่คู้   เช่น  เพชร เบญจ<br />\n         ๕. <strong>ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง<br />\n </strong>                วางไว้ข้างหน้าพยัญชนะ    เช่น สระ เ-  แ-  ใ-<br />\n                 วางไว้ข้างหลังพยัญชนะ    เช่น สระ -า<br />\n                 วางไว้ข้างบนพยัญชนะ     เช่น สระ  -ิ  -ี<br />\n                 วางไว้ข้างล่างพยัญชนะ    เช่น สระ  -ุ  -ู<br />\n                 วางไว้ข้างหน้าและข้างหลัง เช่น สระ เ-า<br />\n                 วางไว้ข้างหน้าและข้างบน  เช่น สระ เ-ีย<br />\n         ๖. <strong>การใช้สระ มี ๓ ลักษณะ</strong> คือ  <br />\n                 ๑. สระคงรูป    เช่น ใน เสา มี<br />\n                 ๒. สระลดรูป    เช่น ตก<br />\n                 ๓. สระเปลี่ยนรูป เช่น มัน เห็น\n </p>\n<p> </p></span></span><span><span style=\"color: #008b45\"></span></span>\n<p align=\"left\">\n <span><span><span><span><span style=\"color: #8b658b\"></span></span></span></span></span>\n </p>\n<div>\n <span style=\"color: #f08080\"><span style=\"color: #008b45\"></span></span>\n </div>\n<div>\n <span style=\"color: #f08080\"><span style=\"color: #008b45\"></span></span>\n </div>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<div style=\"text-align: center\">\n<br />\n<img height=\"32\" width=\"600\" src=\"/files/u31711/tree.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n', created = 1723019569, expire = 1723105969, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8a1d0f6a56b4b393f708c92c0d261b24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เสียง >> เสียงสระ ::

รูปภาพของ sss27867


 





เสียงสระ


ฐานที่เกิดเสียงสระ
        เสียงสระ เกิดขึ้นโดยอาศัยคอเป็นที่ตั้ง และริมฝีปากหรือลิ้นกระทบอวัยวะในปากเป็นเครื่องช่วย ลิ้นที่ทำให้เกิดเสียงมีอยู่ ๓ ส่วน คือ ลิ้นส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนหลังลิ้นแต่ละส่วนก็ยังสามารถกระดกขึ้นลงได้ ๓ ระดับ  คือ สูง กลาง ต่ำ ถ้าลิ้นกระดกระดับต่าง ๆ เสียงสระที่เกิดขึ้นก็จะต่างกันไปด้วย จากตารางต่อไปนี้แสดงให้เห็นส่วนของลิ้นที่ทำให้เกิดสระ    

ระดับลิ้น   ลิ้นส่วนหน้า  ลิ้นส่วนกลาง ลิ้นส่วนหลัง 
 สูง  อิ อี  อึ อือ  อุ อู
 กลาง  เอะ เอ  เออะ เออ  โอะ โอ
 ต่ำ  แอะ แอ  อะ อา  เอาะ ออ

รูปสระ
        สระไทย ๒๑ รูป ดังนี้

๑.     ะ  วิสรรชนีย์ 
๒.      ั  ไม้ผัดหรือไม้หันอากาศ    
๓.      ็  ไม้ไต่คู้ 
๔.    ๆ   ลากข้าง       
๕.      ิ   พินท์อิ  
๖.      ่   ฝนทอง   
๗.      ํ   นฤคหิต (หยดน้ำค้าง)
๘.     "   ฟันหนู  
๙.      ุ   ตีนเหยียด
๑๐.    ู   ตีนคู้
๑๑    เ      ไม้หน้า
๑๒.   ใ       ไม้ม้วน
๑๓.   ไ       ไม้มลาย
๑๔.   โ       ไม้โอ
๑๕.   อ       ตัวออ
๑๖.   ย       ตัวยอ
๑๗.   ว        ตัววอ
๑๘.   ฤ       ตัวร
๑๙.   ฤา     ตัวรือ 
๒๐.   ฦ       ตัวลึ
๒๑. ฦา      ตัว ลือ     

เสียงสระ       
        เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๔ เสียงจำแนกเป็นเสียงเดี่ยวหรือสระแท้ ๑๘ เสียงสระเลื่อน ๖ เสียง
                ๑. สระเดี่ยว หรือสระแท้ มี ๑๘ เสียง ซึ่งมีเสียงสั้นเสียงยาว ๙ คู่ ดังนี้
                        รัสสระ (สระเสียงสั้น)                           ทีฆสระ (สระเสียงยาว)
                           อะ                                                        อา
                           อิ                                                          อี   
                           อี                                                          อื     
                           อุ                                                          อู  
                           เอะ                                                       เอ 
                           แอะ                                                      แอ 
                           โอะ                                                      โอ 
                          เอาะ                                                      ออ 
                          เออะ                                                     เออ
                ๒. สระเลื่อน หรือสระประสม ในภาษาไทยมี ๖ เสียง คือสระที่มีการเลื่อนระดับของลิ้นจากเสียงหนึ่งไปยังเสียงหนึ่ง
ได้แก่
                                       รัสสระ (สระเสียงสั้น)           ทีฆสระ (สระเสียงยาว)
                                เอียะ (อิ -> อะ)                เอีย (อี -> อา)
                                เอือะ (อื -> อะ)                เอือ (อื -> อา)
                                อัวะ (อุ -> อะ)                 อัว (อู -> อา)
       

        คำที่มีสระเลื่อนเสียงสั้นมีเพียงไม่กี่คำที่ยืมมาจากภาษาอื่น เช่น เกี๊ยะ  เปรี๊ยะ เบื๊อก เอื๊อก ผัวะ ยัวะ ด้วยเหตุนี้นักภาษาศาสตร์บางคนจึงถือว่าภาษาไทยมีสระเลื่อนเพียง ๓ เสียง คือ /เอีย/ /เอือ/ /อัว/ข้อพิจารณาเกี่ยวกับเสียงสระ
        ๑. สระบางเสียงใช้อักษรแทนได้หลายรูป เช่น  คำว่า "ไน" อาจเขียนว่า"นัย" หรือ "ใน" คำว่า "กำ" อาจเขียนว่า "กรรม"
        ๒. ในบางคำรูปสระบางรูปไม่ออกเสียง เช่นคำว่า ญาติ  ประวัติ ุุ ในคำว่าเหตุธาตุ
        ๓. ในบางคำมีเสียงสระ /อะ/ แต่ไม่ปรากฏรูป  เช่น สบาย ตลาด หวายอร่อย
        ๔. ไม้ไต่คู้   ใช้แสดงเสียงสั้นแต่คำบางคำเสียงสั้นก็ไม่นิยมใช้ไม้ไต่คู้   เช่น  เพชร เบญจ
        ๕. ภาษาไทยมีรูปสระวางไว้หลายตำแหน่ง
                วางไว้ข้างหน้าพยัญชนะ    เช่น สระ เ-  แ-  ใ-
                วางไว้ข้างหลังพยัญชนะ    เช่น สระ -า
                วางไว้ข้างบนพยัญชนะ     เช่น สระ  -ิ  -ี
                วางไว้ข้างล่างพยัญชนะ    เช่น สระ  -ุ  -ู
                วางไว้ข้างหน้าและข้างหลัง เช่น สระ เ-า
                วางไว้ข้างหน้าและข้างบน  เช่น สระ เ-ีย
        ๖. การใช้สระ มี ๓ ลักษณะ คือ 
                ๑. สระคงรูป    เช่น ใน เสา มี
                ๒. สระลดรูป    เช่น ตก
                ๓. สระเปลี่ยนรูป เช่น มัน เห็น


มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 592 คน กำลังออนไลน์