• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9827a269c6385cca35c2c32f2a578b48' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/70587\" onmouseout=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'a\'].src=\'/files/u31711/00_1narlak2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/00_1narlak1.jpg\" name=\"a\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70031\" onmouseout=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'b\'].src=\'/files/u31711/06_0pasathai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/05_0pasathai1.jpg\" name=\"b\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70809\" onmouseout=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'c\'].src=\'/files/u31711/luksana05_0luksanabutton2-001.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/luksana05_0luksanabutton1-002.jpg\" name=\"c\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69748\" onmouseout=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'d\'].src=\'/files/u31711/01_0soundds2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/01_0soundds1.jpg\" name=\"d\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69759\" onmouseout=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'e\'].src=\'/files/u31711/02_0aksonthai2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/02_0aksonthai1.jpg\" name=\"e\" border=\"0\" /></a> <br />\n<a href=\"/node/69763\" onmouseout=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'f\'].src=\'/files/u31711/03_0chanitkongkam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/03_0chanitkongkam1.jpg\" name=\"f\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/70569\" onmouseout=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'g\'].src=\'/files/u31711/04_ochaipid2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/04_0chaipid1.jpg\" name=\"g\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79647\" onmouseout=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'h\'].src=\'/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0babfukbabfukbutton1.jpg\" name=\"h\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79347\" onmouseout=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'i\'].src=\'/files/u31711/06_0langaking2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/06_0langaking1.jpg\" name=\"i\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/79127/\" onmouseout=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\'\" onmouseover=\"document.images[\'j\'].src=\'/files/u31711/09_0pujedtam2.jpg\'\"><img src=\"/files/u31711/07_0pujedtam1.jpg\" name=\"j\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<table cellPadding=\"1\" cellSpacing=\"1\" style=\"border: #ffffff 1px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td align=\"center\" vAlign=\"top\">\n <a href=\"/node/69748\"></a><a href=\"/node/69763\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_1chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69764\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_2chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69765\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_3chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69766\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_4chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69767\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_5chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69768\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_6chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69769\"><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><img height=\"40\" width=\"120\" src=\"/files/u31711/03_1_7chanitkongkam1.jpg\" border=\"0\" /></span></span></a><br />\n <a href=\"/node/69747\"></a><br />\n <a href=\"/node/69754\"></a><br />\n <a href=\"/node/69757\"></a><br />\n <a href=\"/node/69758\"></a>\n</td>\n<td>\n<table cellPadding=\"15\" cellSpacing=\"15\" style=\"border: #00ffcc 8px dotted\">\n<tbody>\n<tr>\n<td height=\"21\"><center><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"></span></span></center><span><span>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"> <strong>คำนาม</strong> </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">       <strong>คำนาม</strong> คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำนามแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ<br />\n           1.<strong>สามานยนาม</strong> คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน , รถ , หนังสือ, กล้วย เป็นต้น สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คนไทย , รถจักรายาน , หนังสือแบบเรียน , กล้วยหอม เป็นต้น ตัวอย่างเช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">ดอกไม้อยู่ในแจกัน <br />\n แมวชอบกินปลา </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">         2.<strong>วิสามานยนาม</strong> คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด เช่น ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ ,รามเกียรติ์เป็นต้นตัวอย่างเช่น<br />\n นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน <br />\n อิเหนาได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">         3.<strong>ลักษณนาม</strong> คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น เช่น รูป , องค์ , กระบอก เป็นต้น ตัวอย่างเช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">คน 6 คน นั่งรถ 2 คน <br />\n ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">          4.<strong>สมุหนาม</strong> คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมากๆ เช่น ฝูงผึ้ง , โขลงช้าง , กองทหาร เป็นต้น ตัวอย่างเช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">กองยุวกาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่ <br />\n พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">         5.<strong>อาการนาม</strong> คือ คำเรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีขนาด จะมีคำว่า &quot;การ&quot; และ &quot;ความ&quot; นำหน้า เช่น การกิน , กรานอน , การเรียน , ความสวย , ความคิด , ความดี เป็นต้น ตัวอย่างเช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว <br />\n การเรียนช่วยให้มีความรู้<br />\n           ข้อสังเกต คำว่า &quot;การ&quot; และ &quot;ความ&quot; ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือวิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา ,ความแพ่งเป็นต้นคำเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม </span></span>\n </p>\n<p>\n <span><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"><strong>หน้าที่ของคำนาม<br />\n </strong>1.ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยคเช่น </span></span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">น้องร้องเพลง <br />\n ครูชมนักเรียน <br />\n นกบิน </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">2.ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">แมวกินปลา <br />\n ตำรวจจับผู้ร้าย <br />\n น้องทำการบ้าน </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">3.ทำหน้าที่เป็นส่วยขยายคำอื่น เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า <br />\n ตุ๊กตาหยกตัวนี้สวยมาก <br />\n นายสมควรยามรักษาการเป็นคนเคร่งครัดต่อหน้าที่มาก </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">4.ทำหน้าที่ขยายคำกริยา เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">แม่ไปตลาด <br />\n น้องอยู่บ้าน <br />\n เธออ่านหนังสือเวลาเช้า </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">5.ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มของคำกริยาบางคำ เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">เขาเหมือนพ่อ <br />\n เธอคล้ายพี่ <br />\n วนิดาเป็นครู <br />\n เธอคือนางสาวไทย <br />\n มานะสูงเท่ากับคุณพ่อ </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">6.ทำหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">เขาเป็นคนเห็นแก่ตัว <br />\n พ่อนอนบนเตียง <br />\n ปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">7.ทำหน้าที่เป็นคำเรียกขาน เช่น </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\">คุณครูคะหนูยังไม่เข้าใจเลขข้อนี้ค่ะ <br />\n คุณหมอลูกดิฉันจะหายป่วยไหม <br />\n นายช่างครับผมขอลากิจ 3 วัน </span></span>\n </p>\n<p> </p></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"></span></span><span style=\"color: #4dbfa8\"><span style=\"color: #28bfa0\"></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"23\" width=\"600\" src=\"/files/u31711/ffly.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p></p>\n', created = 1720837317, expire = 1720923717, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9827a269c6385cca35c2c32f2a578b48' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของคำ >> คำนาม ::

รูปภาพของ sss27867












 คำนาม

       คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ อาคาร สภาพ และลักษณะทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม คำนามแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ
          1.สามานยนาม คือ คำนามสามัญที่ใช้เป็นชื่อทั่วไป หรือเป็นคำเรียกสิ่งต่างๆ โดยทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น คน , รถ , หนังสือ, กล้วย เป็นต้น สามานยนามบางคำมีคำย่อยเพื่อบอกชนิดย่อยๆของสิ่งต่างๆ เรียกว่า สามานยนามย่อย เช่น คนไทย , รถจักรายาน , หนังสือแบบเรียน , กล้วยหอม เป็นต้น ตัวอย่างเช่น

ดอกไม้อยู่ในแจกัน
แมวชอบกินปลา

         2.วิสามานยนาม คือ คำนามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สถานที่ หรือเป็นคำเรียกบุคคล สถานที่เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด เช่น ธรรมศาสตร์ , วัดมหาธาตุ ,รามเกียรติ์เป็นต้นตัวอย่างเช่น
นิดและน้อยเป็นพี่น้องกัน
อิเหนาได้รับการยกย่องว่าเป็นยอดของกลอนบทละคร

         3.ลักษณนาม คือ คำนามที่ทำหน้าที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปร่าง ลักษณะ ขนาดหรือปริมาณของนามนั้นให้ชัดเจนขึ้น เช่น รูป , องค์ , กระบอก เป็นต้น ตัวอย่างเช่น

คน 6 คน นั่งรถ 2 คน
ผ้า 20 ผืน เรียกว่า 1 กุลี

          4.สมุหนาม คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมากๆ เช่น ฝูงผึ้ง , โขลงช้าง , กองทหาร เป็นต้น ตัวอย่างเช่น

กองยุวกาชาดมาตั้งค่ายอยู่ที่นี่
พวกเราไปต้อนรับคณะรัฐมนตรี

         5.อาการนาม คือ คำเรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีขนาด จะมีคำว่า "การ" และ "ความ" นำหน้า เช่น การกิน , กรานอน , การเรียน , ความสวย , ความคิด , ความดี เป็นต้น ตัวอย่างเช่น

การวิ่งเพื่อสุขภาพไม่ต้องใช้ความเร็ว
การเรียนช่วยให้มีความรู้
          ข้อสังเกต คำว่า "การ" และ "ความ" ถ้านำหน้าคำชนิดอื่นที่ไม่ใช่คำกริยา หรือวิเศษณ์จะไม่นับว่าเป็นอาการนาม เช่น การรถไฟ , การประปา ,ความแพ่งเป็นต้นคำเหล่านี้จัดเป็นสามานยนาม

หน้าที่ของคำนาม
1.ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยคเช่น

น้องร้องเพลง
ครูชมนักเรียน
นกบิน

2.ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น

แมวกินปลา
ตำรวจจับผู้ร้าย
น้องทำการบ้าน

3.ทำหน้าที่เป็นส่วยขยายคำอื่น เช่น

สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า
ตุ๊กตาหยกตัวนี้สวยมาก
นายสมควรยามรักษาการเป็นคนเคร่งครัดต่อหน้าที่มาก

4.ทำหน้าที่ขยายคำกริยา เช่น

แม่ไปตลาด
น้องอยู่บ้าน
เธออ่านหนังสือเวลาเช้า

5.ทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มของคำกริยาบางคำ เช่น

เขาเหมือนพ่อ
เธอคล้ายพี่
วนิดาเป็นครู
เธอคือนางสาวไทย
มานะสูงเท่ากับคุณพ่อ

6.ทำหน้าที่ตามหลังบุพบท เช่น

เขาเป็นคนเห็นแก่ตัว
พ่อนอนบนเตียง
ปู่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล

7.ทำหน้าที่เป็นคำเรียกขาน เช่น

คุณครูคะหนูยังไม่เข้าใจเลขข้อนี้ค่ะ
คุณหมอลูกดิฉันจะหายป่วยไหม
นายช่างครับผมขอลากิจ 3 วัน

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 333 คน กำลังออนไลน์