• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:df88c04cbcb7faf313981d55355fc48e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n <strong>อารยธรรมอินเดียโบราณ</strong>\n </p>\n<p style=\"text-align: center\">\n Ancient India Civilization\n </p>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"/files/u40192/00.jpg\" height=\"548\" /> \n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><a href=\"/node/70047\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81727\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/00_0.jpg\" height=\"50\" /></a><a href=\"/node/89253\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/1.jpg\" height=\"50\" /></a><a href=\"/node/89254\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/2_.jpg\" height=\"50\" /></a><strong> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/89255\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/3.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><a href=\"/node/89262\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u31050/1_2_0.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><strong> </strong>\n</div>\n<div>\n<strong>ขอขอบคุณ ภาพสวยๆ จาก  </strong><a href=\"http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg\"><strong>http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg</strong></a><strong>  </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<hr id=\"null\" />\n</strong>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89256\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-1.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><a href=\"/node/89257\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-2.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><a href=\"/node/89258\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-3.jpg\" height=\"50\" /></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89259\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-4.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><a href=\"/node/89260\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-5.jpg\" height=\"50\" /></strong></a><a href=\"/node/89261\"><strong><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/03-6.jpg\" height=\"50\" /></strong></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> <img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u40192/0.gif\" height=\"100\" /><img border=\"0\" width=\"250\" src=\"/files/u40192/03-4.jpg\" height=\"100\" /></strong>\n</p>\n</div>\n<p>\n<strong>สมัยจักรวรรดิ</strong>\n</p>\n<p>\n          การปกครองแบบสาธารณรัฐไม่จำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และไม่ขัดขวางการแสดงออกซึ่งความคิดที่เป็นอิสระและเป็นของตัวเอง ในระบอบการปกครองดังกล่าวนี้เองจึงเกิดนักคิด และผู้นำทางลัทธิศาสนาใหม่ถึง 2 คน คือ <strong>สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แห่งศากยวงศ์</strong> และ <strong>พระมหาวีระชฺญาตฺฤกวงศ์ </strong>\n</p>\n<p>\n          อาณาจักรที่มีการปกครองโดยระบอบราชาธิปไตย รุ่งเรืองขึ้นในบริเวณลึ่มแม่น้ำคงคาอาณาจักรที่ปรากฏชื่อเสียงในพุทธประวัติคือ <strong>โกศล</strong> และ <strong>มคธ</strong>  ในแว่นเคว้นดังกล่าวกษัตริย์เป็นประมุข ตำแหน่งกษัตริย์สืบต่ออยู่ในตระกูลบเดียวกัน และจะต้องเป็นผู้อยู่ในวรรณะกษัตริย์ ความคิดที่ว่ากษัตริย์เป็นสมมติเทพเป็นที่ยึดถืออย่างเคร่งครัด มีพิธีรีตรองต่างๆมากมาย เพื่อช่วยเพิ่มความศักสิทธิ์ให้แก่คติดังกล่าว พิธีสำคัญมีอาทิเช่น <strong>อัศวเมธ</strong> เป็นต้น\n</p>\n<p>\n          ในพิธีอัสวเมธนี้กษัตริย์ผู้กระทำพิธีจะปล่อยม้าที่ได้เข้าพิธีแล้วออกท่องเที่ยวตระเวนไปในดินแดนต่างๆเป็นเวลา 1 ปี เจ้าผู้ครองแคว้นหรือกษัตริย์ของแว่นแคว้นใดที่ม้าเหยีบย่างไปถึง จำต้องถวายความจงรักภักดีต่อกษัตริย์ผู้กระทำพิธี หรือมิฉะนั้นจำต้องหยิบอาวุธขึ้นต่อสู้ ม้าตัวนั้นถ้าไม่ถูกเจ้าผู้ครองแคว้นองค์หนึ่งจับไว้ ก็จะถูกนำตัวกลับมา และใช้บูชายัญ เมื่อสิ้นสุดปี กษัตริย์ที่ทรงฮึกเหิมทุกองค์ใคร่ที่จะได้รับประกอบพิธีนี้ ซึ่งยังผลให้เกิดการรบราฆ่าฟันในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในอินเดียมาตลอดสมัยที่ลัทธิฮินดูรุ่งเรือง\n</p>\n<p>\n          อาณาจักรที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดคือ มคธ มีกษัตริย์ที่สำคัญพระองค์แรกคือ <strong>พระเจ้าพิมพิสาร</strong> เป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่เน้นความสำคัญของการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ พระองค์มีคณะเสนาบดีเป็นผู้ช่วยบริหาร คณะเสนาบดีเหล่านี้กษัตริย์เลือกและแต่งตั้งขึ้นตามความพอพระทัย และพระองค์มักจะรับฟังความคิดเห็นของบุคคลเหล่านี้ ทรงแบ่งเจ้าหน้าที่บริหารออกเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ ถือได้ว่าเริ่มระบบการบริหารอย่างเป็นสัดส่วนเป็นครั้งแรก หน่วยขั้นพื้นฐานในทางเศษฐกิจและสังคมโดยทั่วๆไป คือหมู่บ้าน มีกำนันเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน ดูแลเกี่ยวกับการเรียกเก็บภาษี นำส่งท้องพระคลัง และมีอำนาจในการปกครองหมู่ของตนอย่างเต็มที่ การกสิกรรมส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับพวกศูทร ผู้หักล้างถางพง และทำนาในที่ดินของพวกเจ้าของที่ดิน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>พระเจ้าพิมพิสารเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา</strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"220\" src=\"/files/u40192/22.jpg\" height=\"299\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://www.84000.org/tipitaka/picture/p42.jpg\">http://www.84000.org/tipitaka/picture/p42.jpg</a>\n</p>\n<p>\n          <strong>พระเจ้าอชาตศัตรู</strong> โอรสของพระเจ้าพิมพิสาร ได้ขึ้นครองแคว้นมคธต่อจากพระราชบิดาผู้ถูกพระองค์ให้ลอบปลงพระชนม์ และได้แผ่ขยายอำนาจของแคว้นมคธออกไปอย่างกว้างขวาง ได้สถาปนาระบอบกษัตริย์ขึ้นอย่างมั่นคงในอินเดีย ทางเขตลุ่มแม่น้ำคงคา\n</p>\n<p>\n          เมืองหลวงของแคว้นมคธ คือ กรุงราชคฤห์ เป็นนครงดงามตั้งอยู่ในแนวเขาล้อมรอบ 5 เทือก เป็นปราการธรรมฃาติที่มั่นคง พระเจ้าอชาตศัตรูได้โปรดให้เสริมสร้างกรุงราชคฤห์ให้มั่นคงยิ่งขึ้น โดยสร้างเมืองป้อมเล็กแห่งหนึ่งชื่อ ปาตลีคามเมืองป้อมแห่งนี้ต่อมาเป็นนครหลวงของราชวงศ์โมริยะชื่อ ปาตลีบุตร นครปาตลีบุตรเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก ในสมัยที่ราชวงศ์โมริยะได้ปกครองอินเดียเป็นศูนย์กลางของอาณาจักร ที่ใหญ่โตกว้างขวางในระยะเวลาระหว่าง 321-185 ปีก่อนคริสต์กาล\n</p>\n<p>\n<strong>แหล่งอ้างอิง</strong> ธิติมา พิทักษ์ไพรวัน.ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,2518.\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/70047\"></a><a href=\"/node/81727\"><img border=\"0\" width=\"125\" src=\"/files/u40192/00_0.jpg\" height=\"50\" /></a> \n</p>\n<p align=\"right\">\n</p>', created = 1716031353, expire = 1716117753, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:df88c04cbcb7faf313981d55355fc48e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมอินเดียโบราณ:สมัยจักรวรรดิ

รูปภาพของ lenneyuna

อารยธรรมอินเดียโบราณ

Ancient India Civilization

 

ขอขอบคุณ ภาพสวยๆ จาก  http://images.north40commerce.com/TheAncientWeb/pop/9788854401679.jpg 

 

 

สมัยจักรวรรดิ

          การปกครองแบบสาธารณรัฐไม่จำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน และไม่ขัดขวางการแสดงออกซึ่งความคิดที่เป็นอิสระและเป็นของตัวเอง ในระบอบการปกครองดังกล่าวนี้เองจึงเกิดนักคิด และผู้นำทางลัทธิศาสนาใหม่ถึง 2 คน คือ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แห่งศากยวงศ์ และ พระมหาวีระชฺญาตฺฤกวงศ์

          อาณาจักรที่มีการปกครองโดยระบอบราชาธิปไตย รุ่งเรืองขึ้นในบริเวณลึ่มแม่น้ำคงคาอาณาจักรที่ปรากฏชื่อเสียงในพุทธประวัติคือ โกศล และ มคธ  ในแว่นเคว้นดังกล่าวกษัตริย์เป็นประมุข ตำแหน่งกษัตริย์สืบต่ออยู่ในตระกูลบเดียวกัน และจะต้องเป็นผู้อยู่ในวรรณะกษัตริย์ ความคิดที่ว่ากษัตริย์เป็นสมมติเทพเป็นที่ยึดถืออย่างเคร่งครัด มีพิธีรีตรองต่างๆมากมาย เพื่อช่วยเพิ่มความศักสิทธิ์ให้แก่คติดังกล่าว พิธีสำคัญมีอาทิเช่น อัศวเมธ เป็นต้น

          ในพิธีอัสวเมธนี้กษัตริย์ผู้กระทำพิธีจะปล่อยม้าที่ได้เข้าพิธีแล้วออกท่องเที่ยวตระเวนไปในดินแดนต่างๆเป็นเวลา 1 ปี เจ้าผู้ครองแคว้นหรือกษัตริย์ของแว่นแคว้นใดที่ม้าเหยีบย่างไปถึง จำต้องถวายความจงรักภักดีต่อกษัตริย์ผู้กระทำพิธี หรือมิฉะนั้นจำต้องหยิบอาวุธขึ้นต่อสู้ ม้าตัวนั้นถ้าไม่ถูกเจ้าผู้ครองแคว้นองค์หนึ่งจับไว้ ก็จะถูกนำตัวกลับมา และใช้บูชายัญ เมื่อสิ้นสุดปี กษัตริย์ที่ทรงฮึกเหิมทุกองค์ใคร่ที่จะได้รับประกอบพิธีนี้ ซึ่งยังผลให้เกิดการรบราฆ่าฟันในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐในอินเดียมาตลอดสมัยที่ลัทธิฮินดูรุ่งเรือง

          อาณาจักรที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดคือ มคธ มีกษัตริย์ที่สำคัญพระองค์แรกคือ พระเจ้าพิมพิสาร เป็นกษัตริย์พระองค์แรกที่เน้นความสำคัญของการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ พระองค์มีคณะเสนาบดีเป็นผู้ช่วยบริหาร คณะเสนาบดีเหล่านี้กษัตริย์เลือกและแต่งตั้งขึ้นตามความพอพระทัย และพระองค์มักจะรับฟังความคิดเห็นของบุคคลเหล่านี้ ทรงแบ่งเจ้าหน้าที่บริหารออกเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ ถือได้ว่าเริ่มระบบการบริหารอย่างเป็นสัดส่วนเป็นครั้งแรก หน่วยขั้นพื้นฐานในทางเศษฐกิจและสังคมโดยทั่วๆไป คือหมู่บ้าน มีกำนันเป็นหัวหน้าหมู่บ้าน ดูแลเกี่ยวกับการเรียกเก็บภาษี นำส่งท้องพระคลัง และมีอำนาจในการปกครองหมู่ของตนอย่างเต็มที่ การกสิกรรมส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับพวกศูทร ผู้หักล้างถางพง และทำนาในที่ดินของพวกเจ้าของที่ดิน

พระเจ้าพิมพิสารเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา

 

ภาพจาก http://www.84000.org/tipitaka/picture/p42.jpg

          พระเจ้าอชาตศัตรู โอรสของพระเจ้าพิมพิสาร ได้ขึ้นครองแคว้นมคธต่อจากพระราชบิดาผู้ถูกพระองค์ให้ลอบปลงพระชนม์ และได้แผ่ขยายอำนาจของแคว้นมคธออกไปอย่างกว้างขวาง ได้สถาปนาระบอบกษัตริย์ขึ้นอย่างมั่นคงในอินเดีย ทางเขตลุ่มแม่น้ำคงคา

          เมืองหลวงของแคว้นมคธ คือ กรุงราชคฤห์ เป็นนครงดงามตั้งอยู่ในแนวเขาล้อมรอบ 5 เทือก เป็นปราการธรรมฃาติที่มั่นคง พระเจ้าอชาตศัตรูได้โปรดให้เสริมสร้างกรุงราชคฤห์ให้มั่นคงยิ่งขึ้น โดยสร้างเมืองป้อมเล็กแห่งหนึ่งชื่อ ปาตลีคามเมืองป้อมแห่งนี้ต่อมาเป็นนครหลวงของราชวงศ์โมริยะชื่อ ปาตลีบุตร นครปาตลีบุตรเจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นอันมาก ในสมัยที่ราชวงศ์โมริยะได้ปกครองอินเดียเป็นศูนย์กลางของอาณาจักร ที่ใหญ่โตกว้างขวางในระยะเวลาระหว่าง 321-185 ปีก่อนคริสต์กาล

แหล่งอ้างอิง ธิติมา พิทักษ์ไพรวัน.ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,2518.

 

สร้างโดย: 
น.ส.นภัสสชนก เคหะธูป และ นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์