การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR)

2. อุปกรณ์ช่วยการไหลเวียนเลือด
2.1 เครื่องกดหน้าอก
 

         การช่วยชีวิตด้วยเครื่องกดหน้าอก(activecompression-decompressionCPRACD-CPR)อาศัยเครื่องมือที่มีกลไกsuctioncup คอยดูดผนังหน้าอกขึ้นในจังหวะหยุดกด(decompression)ทั้งนี้เป็นการออกแบบบนความเชื่อที่ว่าถ้าลดความดันในช่องอกในจังหวะหยุดกดลงได้ก็จะทำให้เลือดไหลกลับเข้าหัวใจได้มากขึ้นแต่ณขณะนี้ยังไม่มีเครื่องACD-CPRรุ่นใดได้รับอนุมัติจากองค์การอาหารและยา
(FDA)ของสหรัฐอเมริกาเลยผลการใช้เครื่องACD-CPRออกมาดีบ้างไม่ดีบ้างในงานวิจัยแบบสุ่มตัวอย่าง4รายการ(LOE127,28;LOE
229,30)พบว่าACD-CPRทำให้ได้อัตรารอดชีวิตระยะยาวสูงกว่าเมื่อทำCPRแบบมาตรฐานทั้งนี้เป็นการทำภายใต้เงื่อนไขที่ผู้ปฏิบัติการช่วยชีวิตได้รับการฝึกอบรมอย่างดีแล้วทั้งในสถานการณ์นอกโรงพยาบาล27,28และในโรงพยาบาล29,30ในงานวิจัยแบบสุ่มตัวอย่างอื่นๆอีก5 รายการ(LOE131–34;LOE235)กลับพบว่าผลไม่แตกต่างไปจากวิธีCPRมาตรฐานในงานวิจัยทางคลินิกอีก4รายการ(LOE3)30,36–38พบว่า ACD-CPRทำให้ได้ hemodynamicsดีกว่าการใช้วิธีCPRมาตรฐานและใน1งานวิจัยคลินิก(LOE3)39พบว่าhemodynamicไม่แตกต่างกันการฝึกอบรมถี่ๆดูเหมือนจะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้มีประสิทธิผลดี28การวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยแบบmeta-analysisจำนวน10 รายการซึ่งมีผู้ป่วยรวม4,162คนในสถานการณ์นอกโรงพยาบาล(LOE1)40และอีกรายการหนึ่งวิเคราะห์ข้อมูลจาก2งานวิจัยในสถานการณ์ในโรงพยาบาล(คนไข้826คน)40สรุปว่าการใช้ACD-CPRได้อัตราการรอดชีวิตในระยะสั้นและระยะยาวไม่แตกต่างจากการทำCPRแบบมาตรฐานในกรณีนอกโรงพยาบาลยังพบว่ากลุ่มACD-CPRผู้รอดชีวิตมีneurologicoutcomeแย่กว่ากลุ่มที่ทำCPRแบบมาตรฐานแต่เป็นความแตกต่างที่ไม่มีนัยสำคัญในงานวิจัยขนาดเล็กอีก1รายงานพบว่ามีอุบัติการณ์ของกระดูกหน้าอกหักในกลุ่มที่ใช้ACD-CPR41จึงอาจพิจารณาใช้ACD-CPRในโรงพยาบาลได้ถ้ามีผู้ปฏิบัติการที่ได้รับการฝึกอบรมเพียงพอ(Class IIb)ยังไม่มีข้อมูลพอที่จะสนับสนุนหรือคัดค้านการใช้ACD-CPRในสถานการณ์นอกโรงพยาบาล(ClassIndeterminate).

 

 

2.2 เครื่อง impedance threshold device (ITD)

 

       เครื่องimpedancethresholddevice(ITD)เป็นลิ้นที่คอยจำกัดให้ลมเข้าไปในปอดในช่วงจังหวะหยุดกดหน้าอก(ซึ่งเป็นช่วงที่หน้าอกเด้งกลับที่เดิม)ได้น้อยกว่าเดิมเพื่อลดความดันในช่องอกอันจะทำให้มีเลือดไหลกลับเข้าหัวใจมากขึ้นในระยะแรกงานวิจัยเลือกใช้ITD ในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจชนิดมีcuffที่ได้รับการช่วยหายใจโดยวิธีใช้bagร่วมกับการใช้เครื่องACD-CPR.42–44เชื่อว่าITDและACDออกฤทธิ์ช่วยกันในการเพิ่มvenousreturn(decompression)ในรายงานเมื่อเร็วๆนี้ได้มีการใช้ลิ้นITDกับการทำCPRแบบมาตรฐาน45,46ที่ช่วยหายใจผ่านท่อช่วยหายใจหรือfacemaskได้ผลบ่งชี้ว่าเมื่อใช้ITDกับfacemaskอาจลดความดันในหลอดลมได้เช่นเดียวกับการใช้ITDกับท่อช่วยหายใจหากผู้ปฏิบัติการประกบfacemaskคร่อมปากและจมูกได้แน่นพอ43,45,46ในการวิจัยแบบสุ่มตัวอย่าง2รายการ(LOE1)44,4745ในอีกงานวิจัยทางคลินิกอีกรายการหนึ่งพบว่าเมื่อเพิ่มลิ้นITDในการทำCPRมาตรฐานทำให้hemodynamicsดีขึ้น(LOE2).46แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานว่าITDเพิ่มอัตราการรอดชีวิตในระยะยาวการใช้ITDเป็นอุปกรณ์ช่วยโดยบุคลากรที่ได้รับการฝึกอบรมให้ใช้เป็นจะช่วยให้hemodynamicparametersและอัตราการกลับมีการไหลเวียนเลือดได้เองดีขึ้น(ClassIIa) กับผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่เกิดหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล610คนพบว่าหากใช้ACD-CPRร่วมกับลิ้นITDจะทำให้อัตราการกลับมามีการไหลเวียนเลือดได้เองและอัตราการรอดชีวิตใน24ชั่วโมงเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการทำCPRแบบมาตรฐานเพียงอย่างเดียวงานวิจัยสุ่มตัวอย่างในผู้ป่วยผู้ใหญ่230คนที่ใช้ลิ้นITDระหว่างทำCPRแบบมาตรฐานในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น(เฉพาะที่มีpulselesselectricalactivity)ในสถานการณ์นอกโรงพยาบาลพบว่าอัตราการต้องเข้ารับการรักษาในไอ.ซี.ยู.ลดลงและอัตรารอดชีวิตใน24ชั่วโมงเพิ่มขึ้น(LOE2)

 

สร้างโดย: 
NIGHTLIFE

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 487 คน กำลังออนไลน์