• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eeafc9b9abbf9dd2e2124e057ba929bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>ทันตแพทย์  </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">ลักษณะของงานที่ทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>ให้การรักษาโรค และความผิดปกติของฟันและช่องปากด้วยการศัลยกรรม ให้ยา และวิธีการอื่นๆ ตรวจปากและฟันของผู้ป่วย ใช้เครื่องเอ็กซเรย์และทดสอบตามความจำเป็น เพื่อจะได้ทราบถึงลักษณะของความผิดปกติ พิจารณาผลของการตรวจและการทดสอบ และตกลงใจเลือกวิธีการรักษา หารูฟันผุ ทำความสะอาดและอุดรูฟันผุ และถอนฟันที่เป็นโรคหรือไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์ พิมพ์ปากและจำลองแบบของเหงือก และส่วนอื่นๆ ของปาก เพื่อใช้ในการประดิษฐ์ฟันปลอม และใส่ฟันปลอม ใส่เครื่องยึดเพื่อจัดฟันที่มีลักษณะผิดปกติ หรือเกให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง รักษาโรคฟัน ปากหรือเหงือกด้วยการใช้ยาหรือศัลยกรรม ให้ยาชาหรือวางยาสลบตามความจำเป็น อาจทำเฉพาะทางในการรักษาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่า </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">โอกาสในการมีงานทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>ผู้ที่สำเร็จการศึกษาทางทันตแพทย์หากมีความขยันอุตสาหะจะไม่มีการตกงาน เนื่องจาก นอกเหนือจากการเข้าทำงานในโรงพยาบาลของรัฐบาลหรือเอกชนแล้ว ยังสามารถประกอบอาชีพส่วนตัวด้วยการเปิดคลีนิครักษาโรคฟันได้ ซึ่งการรักษาฟันรวมถึงการทำศัลยกรรมฟัน เช่น ทำเขี้ยว และอื่นๆ กำลังเป็นที่นิยมของประชาชนทั่วไปกันมากขึ้น </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><br />\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>สัตวแพทย์ </span></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">ลักษณะของงานที่ทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>1. ตรวจโรคและให้การรักษาโดยใช้ยา หรือผ่าตัดสัตว์ที่เจ็บป่วย บาดเจ็บหรือต้องให้การรักษา <br />\n2. ตรวจสัตว์ที่เจ็บป่วยเพื่อดูอาการผิดปกติของสัตว์ สั่งยาหรือให้ยา หรือทำการผ่าตัด <br />\n3. ตรวจร่างกายของโคนมหรือสัตว์อื่นๆ เป็นระยะและฉีดยาป้องกันโรค เช่น อหิวาห์ตกโรค โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น <br />\n4. ค้นหามูลเหตุของโรคระบาด และหาทางป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ไปยังสัตว์ <br />\n5. ให้บริการด้านสูติศาสตร์ ให้คำแนะนำเจ้าของสัตว์ในด้านสุขศาสตร์ การให้อาหาร การผสมพันธุ์ และการเลี้ยงดูทั่วๆ ไป <br />\n6. ผ่าซากสัตว์เพื่อชันสูตรโรค <br />\n7. อาจเชี่ยวชาญในการรักษาสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น สัตว์เลี้ยง โคนม ม้า สัตว์ปีก หรือหมู หรือเชี่ยวชาญ ทางสัตว์แพทย์ศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น ศัลยกรรม หรือรังสีวิทยา เป็นต้น </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">โอกาสในการมีงานทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>ความต้องการผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพราะนอกจากจะประกอบธุรกิจส่วนตัวแล้ว สถานประกอบกิจการภาคเอกชน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ และ ผู้ประกอบกิจการด้านปศุสัตว์ ล้วนแต่ต้องพึ่งสัตวแพทย์ในการดูแล และตรวจรักษาทั้งสิ้น ถ้าปีใดเศรษฐกิจมีอัตราการขยายตัวลดลงจะมีผลกระทบต่อตลาดแรงงานในอาชีพนี้บ้าง ปัจจุบัน ประเทศไทยรณรงค์ด้านการสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ช้าง เสือ กระทิง จึงมีสัตว์แพทย์ประจำโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสัตว์ป่าที่พลัดหลง หรือบาดเจ็บ ส่วนผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์นั้นมีเพิ่มขึ้น เพราะประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทเนื้อสัตว์ไปจำหน่ายในต่างประเทศ ซึ่งจำเป็นจะต้องทำให้สินค้า มีคุณภาพและปลอดจากโรค ความต้องการสัตวแพทย์จึงยังคงมีอยู่และอาจเพิ่มมากขึ้น ถ้าการส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้น <br />\nอย่างไรก็ตาม มีผู้นิยมเลี้ยงสัตว์ในบ้านเรือนส่วนบุคคลมากขึ้น ความต้องการสัตวแพทย์ประจำ โรงพยาบาลหรือคลีนิก อาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อีกทั้งโอกาสในการประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นไปได้ค่อนข้างสูง เพราะผู้เลี้ยงสัตว์มักนำสัตว์เลี้ยงของตนไปคลีนิคมากขึ้น เนื่องจากต้องการความสะดวกรวดเร็วใน การตรวจและรักษาสัตว์เลี้ยง </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>เภสัชกร</span> </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">ลักษณะของงานที่ทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>ค้นคว้า และพัฒนาสูตรยาตำรับใหม่ๆ เพื่อขึ้นทะเบียนและส่งสูตรที่สำเร็จแล้วให้ฝ่ายผลิตเพื่อทำการผลิตยาออกจำหน่าย <br />\nควบคุมการผลิตยาให้เป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ <br />\nวิเคราะห์ ตรวจสอบยาที่ผลิตให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ <br />\nปรุงยา จ่ายยาและสิ่งที่เกี่ยวข้องตามใบสั่งหรือตามสูตร เตรียมการผลิตยา เช่นยาน้ำ ยาขี้ผึ้ง ยาผง ยาเม็ดกลม ยาเม็ดแบน แค็ปซูล และยาฉีดตามใบสั่งของแพทย์หรือตามสูตรที่ได้รับการรับรองแล้ว <br />\nชี้แจงแก่แพทย์ พยาบาลและผู้ปฏิบัติงานในแขนงอื่นๆ ทางการแพทย์เกี่ยวกับยา เคมีภัณฑ์และการใช้สิ่งนั้นๆ <br />\nควบคุมและจ่ายยาเสพติดให้โทษ ยาพิษ และสารพิษที่ต้องการใช้เพื่อการแพทย์ กิจการในบ้าน อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม และจ่ายสิ่งนั้นๆ ตามกฎข้อบังคับ <br />\nทำหน้าที่วิเคราะห์และทดสอบตามปกติ เพื่อให้ทราบชนิดความบริสุทธิ์และความแรงของยา <br />\nจัดระเบียบและควบคุมรักษายาในคลังทำบัญชีประจำคลังโดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ เช่น ยาเสพติดให้โทษ ยาอันตราย ยาสามัญ เคมีภัณฑ์และเครื่องใช้ในการแพทย์ <br />\nอาจจัดซื้อเวชภัณฑ์ และเคมีภัณฑ์และสะสมเครื่องใช้ในการแพทย์ไว้จ่ายแก่คนไข้ และห้องรักษาโรค <br />\nอาจผลิต จำหน่าย และชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ เช่น สุขภัณฑ์ เครื่องสำอาง เคมีภัณฑ์สำหรับเกษตรกรรมและพืชสวน และยาสำหรับสัตว์ <br />\nศึกษาวิธีการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งวิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ เช่นเครื่องจักรที่ใช้ผลิตยา เครื่องมือในการวิเคราะห์ รวมทั้งการเตรียมความพร้อมของเครื่องมือ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">โอกาสในการมีงานทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>ปัจจุบัน ความต้องการยาสำหรับรักษาโรคทางการแพทย์แผนปัจจุบัน และแผนโบราณเพิ่มมากขึ้นตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรและชนิดของเชื้อโรคที่พัฒนาตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป การพัฒนาคุณภาพของยา ตลอดจนการควบคุมขั้นตอนการผลิตยารักษาโรค ให้มีประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาต้องดำเนินการอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มียาที่สามารถใช้ในการรักษาบำบัดโรคต่างๆ ที่เพียงพอกับจำนวนประชากร เภสัชกรจึงยังเป็นที่ต้องการทั้งทางภาครัฐและภาคเอกชนเป็นอย่างมากแนวโน้มของโอกาสในการมีงานทำของอาชีพนี้ ยังคงมีอยู่ ดังนั้น ผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านนี้สามารถหางานทำได้ง่าย และหากไม่เลือกงานก็จะไม่มีการตกงานเลยสำหรับเภสัชกร <br />\nอาชีพเภสัชกรสามารถทำงานในหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ เช่น โรงพยาบาล องค์การเภสัชกรรม ส่วนในหน่วยงานเอกชน ได้แก่ บริษัทผลิตยา บริษัทนำเข้ายา บริษัทผลิตเครื่องสำอางหรืออาจประกอบธุรกิจส่วนตัว โดยการเปิดร้านขายยา </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>พยาบาล </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">ลักษณะของงานที่ทำ</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>รักษา ดูแล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ช่วยแพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงานให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิดจากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อสอนคนไข้ และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน มอบหมาย สั่งการ ดูแลและประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทำหน้าที่ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์และอนามัยแขนงอื่นๆ ในการบริการคนไข้ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><span style=\"color: #99ccff\">ผู้ประกอบอาชีพนี้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้</span> </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>1. สำเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่อง หรือพยาบาลศาสตร์ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>2.มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจากโรค (อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน) </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>3. มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่รังเกียจผู้เจ็บป่วย มีความเมตตา และมีความรักในเพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>4. มีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าหาญในการตัดสินใจ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>5.มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>6.มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผู้คนในชุมชนทั่วประเทศ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong><br />\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>เทคนิคการแพทย์</span></span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>การศึกษาเทคนิคการแพทย์ระดับปริญาตรีเป็นหลักสูตร 4 ปี เมื่อจบแล้วจะได้รับปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บันฑิต(เทคนิคการแพทย์) โดยใน 2 ปี แรกจะเรียนทางด้านวิชาพื้นฐาน ได้แก่ คณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ สรีระวิทยา ภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ในปีที่ 3 และ4 จะเรียนทางด้านวิชาชีพได้แก่วิชาเคมีคลินิก โลหิตวิทยา จุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา ปรสิตวิทยา ธนาคารโลหิต การวิจัย และการฝึกปฎิบัติงานในโรงพยาบาล </strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>คณะสหเวชศาสตร์</span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"><strong>คณะสหเวชศาสตร์ คือ คณะซึ่งประกอบด้วยหลักสูตรทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพหลายสาขา ในปัจจุบันนั้นมีหลายสาขา เช่น เทคนิคการแพทย์ ซึ่งเป็นวิชาชีพที่ใช้เทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ วิจัยสุ่มตัวอย่างจากร่างกายมนุษย์ เพื่อนำผลการตรวจไปใช้ในการประเมินสุขภาพ วินิจฉัยโรค ติดตามการดำเนินของโรค วิชาชีพกายภาพบำบัด เป็นวิชาชีพที่กระทำโดยตรงต่อร่างกายมนุษย์ในการตรวจประเมิน วินิจฉัย บำบัด ความบกพร่องทางร่างกายที่เกิดจากภาวะของโรคและการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ อันเนื่องมาจากความเจ็บปวดและภาวะของโรค การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันแก้ไข และการฟื้นฟูการเสื่อมสภาพของร่างกาย </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43002\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">คณะสถาปัตย์</span></strong></a> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d.gif\" height=\"100\" /><strong><a href=\"/node/42912\"><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1715406453, expire = 1715492853, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eeafc9b9abbf9dd2e2124e057ba929bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะแพทยศาสตร์

ทันตแพทย์ 

ลักษณะของงานที่ทำ

ให้การรักษาโรค และความผิดปกติของฟันและช่องปากด้วยการศัลยกรรม ให้ยา และวิธีการอื่นๆ ตรวจปากและฟันของผู้ป่วย ใช้เครื่องเอ็กซเรย์และทดสอบตามความจำเป็น เพื่อจะได้ทราบถึงลักษณะของความผิดปกติ พิจารณาผลของการตรวจและการทดสอบ และตกลงใจเลือกวิธีการรักษา หารูฟันผุ ทำความสะอาดและอุดรูฟันผุ และถอนฟันที่เป็นโรคหรือไม่ได้ใช้ให้เกิดประโยชน์ พิมพ์ปากและจำลองแบบของเหงือก และส่วนอื่นๆ ของปาก เพื่อใช้ในการประดิษฐ์ฟันปลอม และใส่ฟันปลอม ใส่เครื่องยึดเพื่อจัดฟันที่มีลักษณะผิดปกติ หรือเกให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง รักษาโรคฟัน ปากหรือเหงือกด้วยการใช้ยาหรือศัลยกรรม ให้ยาชาหรือวางยาสลบตามความจำเป็น อาจทำเฉพาะทางในการรักษาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมากกว่า

โอกาสในการมีงานทำ

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาทางทันตแพทย์หากมีความขยันอุตสาหะจะไม่มีการตกงาน เนื่องจาก นอกเหนือจากการเข้าทำงานในโรงพยาบาลของรัฐบาลหรือเอกชนแล้ว ยังสามารถประกอบอาชีพส่วนตัวด้วยการเปิดคลีนิครักษาโรคฟันได้ ซึ่งการรักษาฟันรวมถึงการทำศัลยกรรมฟัน เช่น ทำเขี้ยว และอื่นๆ กำลังเป็นที่นิยมของประชาชนทั่วไปกันมากขึ้น


สัตวแพทย์

ลักษณะของงานที่ทำ

1. ตรวจโรคและให้การรักษาโดยใช้ยา หรือผ่าตัดสัตว์ที่เจ็บป่วย บาดเจ็บหรือต้องให้การรักษา
2. ตรวจสัตว์ที่เจ็บป่วยเพื่อดูอาการผิดปกติของสัตว์ สั่งยาหรือให้ยา หรือทำการผ่าตัด
3. ตรวจร่างกายของโคนมหรือสัตว์อื่นๆ เป็นระยะและฉีดยาป้องกันโรค เช่น อหิวาห์ตกโรค โรคพิษสุนัขบ้า เป็นต้น
4. ค้นหามูลเหตุของโรคระบาด และหาทางป้องกันไม่ให้เชื้อโรคแพร่ไปยังสัตว์
5. ให้บริการด้านสูติศาสตร์ ให้คำแนะนำเจ้าของสัตว์ในด้านสุขศาสตร์ การให้อาหาร การผสมพันธุ์ และการเลี้ยงดูทั่วๆ ไป
6. ผ่าซากสัตว์เพื่อชันสูตรโรค
7. อาจเชี่ยวชาญในการรักษาสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น สัตว์เลี้ยง โคนม ม้า สัตว์ปีก หรือหมู หรือเชี่ยวชาญ ทางสัตว์แพทย์ศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง เช่น ศัลยกรรม หรือรังสีวิทยา เป็นต้น


โอกาสในการมีงานทำ

ความต้องการผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ขึ้นอยู่กับสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เพราะนอกจากจะประกอบธุรกิจส่วนตัวแล้ว สถานประกอบกิจการภาคเอกชน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ และ ผู้ประกอบกิจการด้านปศุสัตว์ ล้วนแต่ต้องพึ่งสัตวแพทย์ในการดูแล และตรวจรักษาทั้งสิ้น ถ้าปีใดเศรษฐกิจมีอัตราการขยายตัวลดลงจะมีผลกระทบต่อตลาดแรงงานในอาชีพนี้บ้าง ปัจจุบัน ประเทศไทยรณรงค์ด้านการสงวนพันธุ์สัตว์ป่า เช่น ช้าง เสือ กระทิง จึงมีสัตว์แพทย์ประจำโครงการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือสัตว์ป่าที่พลัดหลง หรือบาดเจ็บ ส่วนผู้ประกอบการด้านปศุสัตว์นั้นมีเพิ่มขึ้น เพราะประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตและส่งออกสินค้าประเภทเนื้อสัตว์ไปจำหน่ายในต่างประเทศ ซึ่งจำเป็นจะต้องทำให้สินค้า มีคุณภาพและปลอดจากโรค ความต้องการสัตวแพทย์จึงยังคงมีอยู่และอาจเพิ่มมากขึ้น ถ้าการส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้น
อย่างไรก็ตาม มีผู้นิยมเลี้ยงสัตว์ในบ้านเรือนส่วนบุคคลมากขึ้น ความต้องการสัตวแพทย์ประจำ โรงพยาบาลหรือคลีนิก อาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อีกทั้งโอกาสในการประกอบอาชีพส่วนตัวเป็นไปได้ค่อนข้างสูง เพราะผู้เลี้ยงสัตว์มักนำสัตว์เลี้ยงของตนไปคลีนิคมากขึ้น เนื่องจากต้องการความสะดวกรวดเร็วใน การตรวจและรักษาสัตว์เลี้ยง


เภสัชกร

ลักษณะของงานที่ทำ

ค้นคว้า และพัฒนาสูตรยาตำรับใหม่ๆ เพื่อขึ้นทะเบียนและส่งสูตรที่สำเร็จแล้วให้ฝ่ายผลิตเพื่อทำการผลิตยาออกจำหน่าย
ควบคุมการผลิตยาให้เป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้
วิเคราะห์ ตรวจสอบยาที่ผลิตให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดไว้
ปรุงยา จ่ายยาและสิ่งที่เกี่ยวข้องตามใบสั่งหรือตามสูตร เตรียมการผลิตยา เช่นยาน้ำ ยาขี้ผึ้ง ยาผง ยาเม็ดกลม ยาเม็ดแบน แค็ปซูล และยาฉีดตามใบสั่งของแพทย์หรือตามสูตรที่ได้รับการรับรองแล้ว
ชี้แจงแก่แพทย์ พยาบาลและผู้ปฏิบัติงานในแขนงอื่นๆ ทางการแพทย์เกี่ยวกับยา เคมีภัณฑ์และการใช้สิ่งนั้นๆ
ควบคุมและจ่ายยาเสพติดให้โทษ ยาพิษ และสารพิษที่ต้องการใช้เพื่อการแพทย์ กิจการในบ้าน อุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม และจ่ายสิ่งนั้นๆ ตามกฎข้อบังคับ
ทำหน้าที่วิเคราะห์และทดสอบตามปกติ เพื่อให้ทราบชนิดความบริสุทธิ์และความแรงของยา
จัดระเบียบและควบคุมรักษายาในคลังทำบัญชีประจำคลังโดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ เช่น ยาเสพติดให้โทษ ยาอันตราย ยาสามัญ เคมีภัณฑ์และเครื่องใช้ในการแพทย์
อาจจัดซื้อเวชภัณฑ์ และเคมีภัณฑ์และสะสมเครื่องใช้ในการแพทย์ไว้จ่ายแก่คนไข้ และห้องรักษาโรค
อาจผลิต จำหน่าย และชี้แจงเกี่ยวกับการใช้ผลิตภัณฑ์ เช่น สุขภัณฑ์ เครื่องสำอาง เคมีภัณฑ์สำหรับเกษตรกรรมและพืชสวน และยาสำหรับสัตว์
ศึกษาวิธีการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งวิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ เช่นเครื่องจักรที่ใช้ผลิตยา เครื่องมือในการวิเคราะห์ รวมทั้งการเตรียมความพร้อมของเครื่องมือ

โอกาสในการมีงานทำ

ปัจจุบัน ความต้องการยาสำหรับรักษาโรคทางการแพทย์แผนปัจจุบัน และแผนโบราณเพิ่มมากขึ้นตามอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรและชนิดของเชื้อโรคที่พัฒนาตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป การพัฒนาคุณภาพของยา ตลอดจนการควบคุมขั้นตอนการผลิตยารักษาโรค ให้มีประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาต้องดำเนินการอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้มียาที่สามารถใช้ในการรักษาบำบัดโรคต่างๆ ที่เพียงพอกับจำนวนประชากร เภสัชกรจึงยังเป็นที่ต้องการทั้งทางภาครัฐและภาคเอกชนเป็นอย่างมากแนวโน้มของโอกาสในการมีงานทำของอาชีพนี้ ยังคงมีอยู่ ดังนั้น ผู้สำเร็จการศึกษาทางด้านนี้สามารถหางานทำได้ง่าย และหากไม่เลือกงานก็จะไม่มีการตกงานเลยสำหรับเภสัชกร
อาชีพเภสัชกรสามารถทำงานในหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ เช่น โรงพยาบาล องค์การเภสัชกรรม ส่วนในหน่วยงานเอกชน ได้แก่ บริษัทผลิตยา บริษัทนำเข้ายา บริษัทผลิตเครื่องสำอางหรืออาจประกอบธุรกิจส่วนตัว โดยการเปิดร้านขายยา


พยาบาล

ลักษณะของงานที่ทำ

รักษา ดูแล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ช่วยแพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงานให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิดจากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อสอนคนไข้ และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน มอบหมาย สั่งการ ดูแลและประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทำหน้าที่ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์และอนามัยแขนงอื่นๆ ในการบริการคนไข้

ผู้ประกอบอาชีพนี้ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

1. สำเร็จการศึกษา พยาบาลศาสตร์ต่อเนื่อง หรือพยาบาลศาสตร์

2.มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่พิการหรือทุพพลภาพ ปราศจากโรค (อันเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน)

3. มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ไม่รังเกียจผู้เจ็บป่วย มีความเมตตา และมีความรักในเพื่อนมนุษย์มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี

4. มีความอดทน อดกลั้น และมีความกล้าหาญในการตัดสินใจ

5.มีความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน

6.มีความเสียสละที่จะเดินทางไปรักษาพยาบาลผู้คนในชุมชนทั่วประเทศ


เทคนิคการแพทย์

การศึกษาเทคนิคการแพทย์ระดับปริญาตรีเป็นหลักสูตร 4 ปี เมื่อจบแล้วจะได้รับปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บันฑิต(เทคนิคการแพทย์) โดยใน 2 ปี แรกจะเรียนทางด้านวิชาพื้นฐาน ได้แก่ คณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา กายวิภาคศาสตร์ สรีระวิทยา ภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร์และคอมพิวเตอร์ ในปีที่ 3 และ4 จะเรียนทางด้านวิชาชีพได้แก่วิชาเคมีคลินิก โลหิตวิทยา จุลชีววิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา ปรสิตวิทยา ธนาคารโลหิต การวิจัย และการฝึกปฎิบัติงานในโรงพยาบาล


คณะสหเวชศาสตร์

คณะสหเวชศาสตร์ คือ คณะซึ่งประกอบด้วยหลักสูตรทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพหลายสาขา ในปัจจุบันนั้นมีหลายสาขา เช่น เทคนิคการแพทย์ ซึ่งเป็นวิชาชีพที่ใช้เทคโนโลยีทางห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์ วิจัยสุ่มตัวอย่างจากร่างกายมนุษย์ เพื่อนำผลการตรวจไปใช้ในการประเมินสุขภาพ วินิจฉัยโรค ติดตามการดำเนินของโรค วิชาชีพกายภาพบำบัด เป็นวิชาชีพที่กระทำโดยตรงต่อร่างกายมนุษย์ในการตรวจประเมิน วินิจฉัย บำบัด ความบกพร่องทางร่างกายที่เกิดจากภาวะของโรคและการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ อันเนื่องมาจากความเจ็บปวดและภาวะของโรค การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันแก้ไข และการฟื้นฟูการเสื่อมสภาพของร่างกาย

คณะสถาปัตย์ กลับสู่หน้าแรก


 

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์