• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ddfe2fa2c510dc9dd43e03ca2c86bc26' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"th\"><strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>คณะสถาปัตย์</span></strong></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">หลักสูตร</span></span> <br />\n<span lang=\"th\">คณะนี้จะใช้ระยะเวลาเรียนตามหลักสูตร </span>5<span lang=\"th\"> ปี เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในอาชีพ สามารถออกแบบอาคารหรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆได้อย่างสวยงามได้มาตรฐาน คุ้มค่า และประหยัด รวมทั้งเข้าใจในความต้องการ ความเหมาะสมของเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มบุคคลที่ต่างกันได้</span> <br />\n<span lang=\"th\">สาขาในกลุ่มนี้มีอยู่ </span>5<span lang=\"th\"> กลุ่มสาขา คือ</span> </span></span></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>1.</span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">สาขาสถาปัตยกรรม</span> เป็นสาขาที่ศึกษาการออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้างทั่วไปโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อม การใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง และความรู้ทางสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง คำนึงถึงสภาพเศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนความงาม</span> </span></span></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>2.</span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">สาขาสถาปัตยกรรมภายใน</span> เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบที่เน้นการจัดที่ว่างภายในอาคารเพื่อประโยชน์ใช้สอยและความงาม เป็นสาขาที่เมื่อจบมาเราจะเรียกว่า </span>“<span lang=\"th\">มัณฑนากร</span>”<span lang=\"th\">นั้นแหละค่ะ ซึ่งรายละเอียดของอาชีพนี้จะมีบอกในตอนหน้าน่ะค่ะ</span> <br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>3.</span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">สาขาสถาปัตยกรรมไทย</span> จะศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมไทยและศึกษาแหล่งที่มา อิทธิพลขององค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทย ศึกษาและฝึกหัดลายไทยชนิดต่างๆ ตั้งแต่ง่ายไปจนถึงการบรรจุลายลงบนส่วนประกอบสถาปัตยกรรมให้ถูกต้องตามหน้าที่</span> <br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>4.</span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">สาขาภูมิสถาปัตยกรรม</span> จะเน้นหนักด้านการปรุงแต่ง การออกแบบ และปรับปรุงในส่วนของสภาพแวดล้อม ประเภทสวนสาธารณะ สวนสัตว์ สนามเด็กเล่น โดยเน้นที่ความกลมกลืนกันของธรรมชาติ ป่าไม้ และต้นน้ำลำธาร</span><br />\n<span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>5.</span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\">สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม</span> จะเน้นหนักการออกแบบ </span>5<span lang=\"th\"> สาขา คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบเลขะนิเทศ การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบสิ่งทอ โดยจะต้องศึกษาพื้นฐานทั้ง </span>5<span lang=\"th\"> สาขา แล้วเลือกเน้นสาขาที่ตนถนัดและทำวิทยานิพนธ์ในสาขานั้น</span> <br />\n<span lang=\"th\">ตลอดระยะเวลา </span>5 <span lang=\"th\">ปีที่ศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์นี้ ในช่วง </span>1-2<span lang=\"th\"> ปีแรก จะต้องเรียนวิชาพื้นฐานบังคับ พื้นฐานการออกแบบ และพื้นฐานอาชีพ ในชั้นปีที่ </span>3 <span lang=\"th\">จะเรียนวิชาเฉพาะของแต่ละสาขา พอในชั้นปีที่</span>4<span lang=\"th\">จะมีการฝึกงานช่วงปิดเทอม และจะทำวิทยานิพนธ์ในภาคสุดท้ายของชั้นปีที่ </span>5 <br />\n<span lang=\"th\">ผู้ที่อยากจะเขาศึกษาในคณะนี้ควรเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการและทักษะในด้านทัศนศิลป์เช่น เรื่องสี การวาดลายเส้น และมีความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพราะวิชาการออกแบบเป็นศิลปประยุกต์ ผู้สมัครต้องสอบผ่านวิชาความถนัดด้านการออกแบบด้วย</span> </span></span></span></span></p>\n<p><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\"><strong>ลักษณะของอาชีพนี้</strong></span></span> <br />\n<span lang=\"th\">อาชีพ </span>“<span lang=\"th\">สถาปนิก</span>” <span lang=\"th\">คืออาชีพการออกแบบอาคารประเภทต่างๆให้มีความงดงามและประหยัด และต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้อาคารนั้นๆด้วย งานวิชาชีพนี้เป็นลักษณะการบริการเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นสถาปนิกจะต้องคำนึงถึงความสุขความพอใจของผู้อื่นเสมอ</span><br />\n<span lang=\"th\">การออกแบบมีหลักว่าจะต้องศึกษาถึงความต้องการของผู้ที่เป็นเจ้าของอาคารให้เข้าใจอย่างละเอียดว่ามีจุดประสงค์และจุดมุ่งหมายอย่างไรและต้องประมาณการว่าแบบที่ได้ออกวานั้นถูกต้องภายในงบประมาณที่ผู้เป็นเจ้าของกำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งต้องศึกษาในเทคนิคการก่อสร้างและกรรมวิธีที่แปลกใหม่ที่พัฒนาขึ้นอยู่ตลอดเวลา รวมถึงการนำวัสดุใหม่ๆและทันสมัยมาใช่ ข้อสำคัญแบบที่เขียนต้องเรียบร้อยและสมบูรณ์ ต้องเอาใจใส่ควบคุมการก่อสร้างให้ถูกต้องตามแบบที่เขียนไว้ทุกประการ</span><br />\n<span lang=\"th\">สถาปนิกจะเป็นผู้ออกแบบซึ่งต้องทำงานตามขั้นตอนและกำหนดเวลาชิ้นงานต่างๆร่วมกับวิศวกรก่อสร้างและนักเขียนแบบโดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้</span> <br />\n- <span lang=\"th\">บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า</span> <br />\n- <span lang=\"th\">คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน</span> <br />\n- <span lang=\"th\">เตรียมแบบและส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ ดัดแปลง แก้ไขและตอบข้อซักถามของลูกค้าร่วมกับวิศวกร</span> <br />\n- <span lang=\"th\">เมื่อแก้ไขสมบูรณ์จึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้าง</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้าง</span> <br />\n- <span lang=\"th\">วางแผนและควบคุม งานที่สถาปนิกจะได้รับทำเป็นประจำตลอดปีคือ งานปรับปรุง ดัดแปลง แก้ไขตัวอาคารเพื่อความทันสมัย สวยงามและ ปลอดภัยอยู่เสมอ</span> </p>\n<p><span lang=\"th\"><span style=\"color: #00ccff\"><strong>คุณสมบัติของผู้ที่สนใจจะประกอบอาชีพสถาปนิก</strong></span></span> <br />\n1.<span lang=\"th\">มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการในการออกแบบและมีความ สามารถในการวาดภาพเพื่อสื่อความคิดในใจออกมาเป็นรูปธรรมได้พอสมควร</span> <br />\n2.<span lang=\"th\">มีความสามารถในการประยุกต์ที่ดี เพราะต้องนำเอาศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาการและเทคโนโลยีมาผสมผสานกันให้สอดคล้องได้</span> <br />\n3.<span lang=\"th\">มีความละเอียด รอบคอบ ช่างสังเกต และประณีต เพราะงานออก แบบเป็นเรื่องในเชิงศิลปะและการสร้างประดิษฐ์</span> <br />\n4.<span lang=\"th\">มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ในการติดต่อประสานงาน เพราะเมื่อทำงานจะต้อง ติดตามผลงานอย่างต่อเนื่องและจะสำเร็จลุล่วงดีได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายดังนั้นในทุกขั้นตอนต้องไม่ให้มีความขัดแย้งกัน</span> </p>\n<p><span style=\"color: #00ccff\"><strong><span lang=\"th\">แนวทางในการประกอบอาชีพ</span> </strong></span><br />\n<span lang=\"th\">ผู้ที่จบคณะนี้สามารถทำงานได้ทั้งในภาครัฐและเอกชนหรือประกอบอาชีพ ส่วนตัวหรือทำงานบริษัทต่างๆได้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะด้านการพัฒนา เช่น การออกแบบการก่อสร้าง การอุตสาหกรรม การโฆษณา รายได้ก็ขึ้นอยู่กับฝีมือ ความสามารถและความนิยมของลูกค้า</span> </p>\n<p><span style=\"color: #00ccff\"><strong><span lang=\"th\">ความก้าวหน้าในอาชีพนี้</span> <br />\n</strong></span><span lang=\"th\">อนาคตความก้าวหน้าของคนที่ประกอบอาชีพนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และ ความชำนาญในงานเป็นสำคัญโดยมีหลักประกันอยู่ที่ฝีมือและผลงาน ผู้ที่ทำงานใน ภาครัฐจะได้รับการเลื่อนขั้นตามความสามารถถ้าได้รับการศึกษาต่อหรืออบรมหลัก สูตรต่างๆเพิ่มเติมอาจได้เป็นผู้อำนวยการของหน่วยเองที่สังกัดอยู่ ในภาคเอกชน อาจได้เป็นผู้จัดการหรือผู้ดูแลโครงการก่อสร้างหรือเป็นเจ้าของกิจการก็ได้</span>  \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><a href=\"/node/43003\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">คณะนิเทศศาสตร์</span></strong></a><img border=\"0\" width=\"60\" src=\"/files/u19296/4a1c989b61bf6.gif\" height=\"160\" style=\"width: 92px; height: 153px\" /></span></span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><a href=\"/node/42912\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></strong></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\"></span><span lang=\"TH\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Times New Roman\"><span lang=\"EN\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715486028, expire = 1715572428, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ddfe2fa2c510dc9dd43e03ca2c86bc26' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะสถาปัตย์

คณะสถาปัตย์

หลักสูตร
คณะนี้จะใช้ระยะเวลาเรียนตามหลักสูตร 5 ปี เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญในอาชีพ สามารถออกแบบอาคารหรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆได้อย่างสวยงามได้มาตรฐาน คุ้มค่า และประหยัด รวมทั้งเข้าใจในความต้องการ ความเหมาะสมของเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มบุคคลที่ต่างกันได้
สาขาในกลุ่มนี้มีอยู่ 5 กลุ่มสาขา คือ

1.สาขาสถาปัตยกรรม เป็นสาขาที่ศึกษาการออกแบบอาคารและสิ่งก่อสร้างทั่วไปโดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อม การใช้วัสดุ วิธีการก่อสร้าง และความรู้ทางสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง คำนึงถึงสภาพเศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนความงาม

2.สาขาสถาปัตยกรรมภายใน เป็นวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบที่เน้นการจัดที่ว่างภายในอาคารเพื่อประโยชน์ใช้สอยและความงาม เป็นสาขาที่เมื่อจบมาเราจะเรียกว่า มัณฑนากรนั้นแหละค่ะ ซึ่งรายละเอียดของอาชีพนี้จะมีบอกในตอนหน้าน่ะค่ะ
3.สาขาสถาปัตยกรรมไทย จะศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรมไทยและศึกษาแหล่งที่มา อิทธิพลขององค์ประกอบสถาปัตยกรรมไทย ศึกษาและฝึกหัดลายไทยชนิดต่างๆ ตั้งแต่ง่ายไปจนถึงการบรรจุลายลงบนส่วนประกอบสถาปัตยกรรมให้ถูกต้องตามหน้าที่
4.สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จะเน้นหนักด้านการปรุงแต่ง การออกแบบ และปรับปรุงในส่วนของสภาพแวดล้อม ประเภทสวนสาธารณะ สวนสัตว์ สนามเด็กเล่น โดยเน้นที่ความกลมกลืนกันของธรรมชาติ ป่าไม้ และต้นน้ำลำธาร
5.สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม จะเน้นหนักการออกแบบ 5 สาขา คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบตกแต่งภายใน การออกแบบเลขะนิเทศ การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบสิ่งทอ โดยจะต้องศึกษาพื้นฐานทั้ง 5 สาขา แล้วเลือกเน้นสาขาที่ตนถนัดและทำวิทยานิพนธ์ในสาขานั้น
ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ศึกษาในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์นี้ ในช่วง 1-2 ปีแรก จะต้องเรียนวิชาพื้นฐานบังคับ พื้นฐานการออกแบบ และพื้นฐานอาชีพ ในชั้นปีที่ 3 จะเรียนวิชาเฉพาะของแต่ละสาขา พอในชั้นปีที่4จะมีการฝึกงานช่วงปิดเทอม และจะทำวิทยานิพนธ์ในภาคสุดท้ายของชั้นปีที่ 5
ผู้ที่อยากจะเขาศึกษาในคณะนี้ควรเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการและทักษะในด้านทัศนศิลป์เช่น เรื่องสี การวาดลายเส้น และมีความรู้พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพราะวิชาการออกแบบเป็นศิลปประยุกต์ ผู้สมัครต้องสอบผ่านวิชาความถนัดด้านการออกแบบด้วย

ลักษณะของอาชีพนี้
อาชีพ สถาปนิกคืออาชีพการออกแบบอาคารประเภทต่างๆให้มีความงดงามและประหยัด และต้องตรงกับความต้องการของผู้ใช้อาคารนั้นๆด้วย งานวิชาชีพนี้เป็นลักษณะการบริการเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นสถาปนิกจะต้องคำนึงถึงความสุขความพอใจของผู้อื่นเสมอ
การออกแบบมีหลักว่าจะต้องศึกษาถึงความต้องการของผู้ที่เป็นเจ้าของอาคารให้เข้าใจอย่างละเอียดว่ามีจุดประสงค์และจุดมุ่งหมายอย่างไรและต้องประมาณการว่าแบบที่ได้ออกวานั้นถูกต้องภายในงบประมาณที่ผู้เป็นเจ้าของกำหนดไว้หรือไม่ รวมทั้งต้องศึกษาในเทคนิคการก่อสร้างและกรรมวิธีที่แปลกใหม่ที่พัฒนาขึ้นอยู่ตลอดเวลา รวมถึงการนำวัสดุใหม่ๆและทันสมัยมาใช่ ข้อสำคัญแบบที่เขียนต้องเรียบร้อยและสมบูรณ์ ต้องเอาใจใส่ควบคุมการก่อสร้างให้ถูกต้องตามแบบที่เขียนไว้ทุกประการ
สถาปนิกจะเป็นผู้ออกแบบซึ่งต้องทำงานตามขั้นตอนและกำหนดเวลาชิ้นงานต่างๆร่วมกับวิศวกรก่อสร้างและนักเขียนแบบโดยมีขั้นตอนการทำงานดังนี้
- บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า
- ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุดกับลูกค้า
- คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน
- เตรียมแบบและส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ ดัดแปลง แก้ไขและตอบข้อซักถามของลูกค้าร่วมกับวิศวกร
- เมื่อแก้ไขสมบูรณ์จึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง
- ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้าง
- ให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้าง
- วางแผนและควบคุม งานที่สถาปนิกจะได้รับทำเป็นประจำตลอดปีคือ งานปรับปรุง ดัดแปลง แก้ไขตัวอาคารเพื่อความทันสมัย สวยงามและ ปลอดภัยอยู่เสมอ

คุณสมบัติของผู้ที่สนใจจะประกอบอาชีพสถาปนิก
1.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการในการออกแบบและมีความ สามารถในการวาดภาพเพื่อสื่อความคิดในใจออกมาเป็นรูปธรรมได้พอสมควร
2.มีความสามารถในการประยุกต์ที่ดี เพราะต้องนำเอาศิลปะ วัฒนธรรม วิทยาการและเทคโนโลยีมาผสมผสานกันให้สอดคล้องได้
3.มีความละเอียด รอบคอบ ช่างสังเกต และประณีต เพราะงานออก แบบเป็นเรื่องในเชิงศิลปะและการสร้างประดิษฐ์
4.มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ในการติดต่อประสานงาน เพราะเมื่อทำงานจะต้อง ติดตามผลงานอย่างต่อเนื่องและจะสำเร็จลุล่วงดีได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ายดังนั้นในทุกขั้นตอนต้องไม่ให้มีความขัดแย้งกัน

แนวทางในการประกอบอาชีพ
ผู้ที่จบคณะนี้สามารถทำงานได้ทั้งในภาครัฐและเอกชนหรือประกอบอาชีพ ส่วนตัวหรือทำงานบริษัทต่างๆได้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะด้านการพัฒนา เช่น การออกแบบการก่อสร้าง การอุตสาหกรรม การโฆษณา รายได้ก็ขึ้นอยู่กับฝีมือ ความสามารถและความนิยมของลูกค้า

ความก้าวหน้าในอาชีพนี้
อนาคตความก้าวหน้าของคนที่ประกอบอาชีพนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และ ความชำนาญในงานเป็นสำคัญโดยมีหลักประกันอยู่ที่ฝีมือและผลงาน ผู้ที่ทำงานใน ภาครัฐจะได้รับการเลื่อนขั้นตามความสามารถถ้าได้รับการศึกษาต่อหรืออบรมหลัก สูตรต่างๆเพิ่มเติมอาจได้เป็นผู้อำนวยการของหน่วยเองที่สังกัดอยู่ ในภาคเอกชน อาจได้เป็นผู้จัดการหรือผู้ดูแลโครงการก่อสร้างหรือเป็นเจ้าของกิจการก็ได้ 

คณะนิเทศศาสตร์กลับสู่หน้าแรก

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 311 คน กำลังออนไลน์