• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ddc4a3d79f2e54ae321a2809f234160f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" />1. ภาควิชาคณิตศาสตร์</strong></span> <br />\nจัดการเีรียนการสอนทั้งสาขาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์ เพื่อมุ่งผลิตนักคณิตศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถทางประสิทธิภาพ และเป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นคนดีต่อสังคม และประเทศชาติ  <br />\nนอกจากนี้ ภาควิชาคณิตศาสตร์มีนโยบายมุ่งเน้นส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการและความเป็นเลิศทางด้านวิจัยในระดับมาตรฐานสากล พร้อมทั้งนำผลงานการวิจัยไปถ่ายทอดและบริการวิชาการแก่สังคม บัณฑิตที่จบการศึกษาทางคณิตศาสตร์ สามารถนำเอาความรู้ไปประกอบวิชาชีพ อาทิเช่น นักวิชาการ ครูอาจารย์ นักวิเคราะหืและวางแผนระบบงาน นักวิจัย และงานด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>2. ภาควิชาเคมี</strong></span>  <br />\nเป็นหน่วยงานชั้นนำในการผลิตบัณฑิตเคมีที่มีคุณภาพในระดับแนวหน้า ตอบสนองความต้องการบุคลากรของประเทศทั้งภาครัฐบาลและเอกชน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี พอลิเมอร์ สิ่งทอ อัญมณี และอุตสาหกรรมอื่น ๆ ภาควิชาเคมีมุ่งเน้นให้นิสิตมีความเข้มแข็งในวิชาเคมี  ทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ คณาจารย์ภาควิชาเคมีได้อุทิศตนทุ่มแทให้กับการสอนและการวิจัย  <br />\nคณาจารย์ภาควิชาเคมีได้สร้างผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่ีมีการตรวจสอบคุณภาพอย่างเคร่งครัดเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป เป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่าและมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทางด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ ภาควิชาเคมีได้สร้างความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ โดยเป็นสมาชิกเครือข่ายแห่งความเป็นเลิศทางเคมี  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาเคมีสามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย โรงงานอุตสากรรมเคมีต่าง ๆ บริษัทเอกชนที่เป็นผู้แทนจำหน่ายเครื่องมือวิทยาศาสตร์และเคมีภัณฑ์ นอกจากนี้ยังสามารถดำเนินธุรกิจเป็นเจ้าของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประยุต์ใช้ความรู้ทางเคมีได้อีกด้วย  <br />\n <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>3.  ภาควิชาจุลชีววิทยา</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ พันธุศาสตร์ของจุลินทรีย์และอนุกรรมวิธานของจุิลินทรีย์ เป็นต้น  <br />\nสำหรับด้านจุลชีววิทยาประยุกต์นั้น ได้แก่ จุลชีววิทยาทางอาหาร จุลชีววิทยาของน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม จุลชีววิทยาทางการเกษตร จุลชีววิทยาอุตสาหกรรมจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จุลชีววิทยาทางการแพทย์และสาธารสุข เป็นต้น  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาจุลชีวเคมี สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมอนามัย และมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนร่วมทั้งบริษัทเอกชน เช่น บริษัท ทางด้านอาหารและอุตสาหกรรม เป็นต้น  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>4.  ภาควิชาชีวเคมี</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาเกี่ยวกับชีวเคมีพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตและชีวเคมีประยุต์ในทางการเกษตรอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางชีวเคมีอยางกว้างขวางและลึกซึ้ง สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีิพในสายงานที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถประยุกต์คิดค้น หรือแสวงหาความรู้ใหม่อันจะนำไปสู่การพัฒนาวิชาการ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการค้นคว้าวิจัยด้านชีวเคมี ให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์สอดคล้องต่อการพัฒนาประเทศและทันต่อการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาชีวเคมีสามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น สถานศึกษา สถานบริการการแพทย์ หน่วยงานวิจัยและบริการตรวจสอบ โรงงานอุตสาหกรรมการผลิตและแปรรูป ภาคธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>5.  ภาควิชาพฤกษศาสตร์</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาเกี่ยวกับชีวิตพืชทุก ๆ ด้าน ครอบคลุมตั้งแต่ระดับชีวโมเลกุลเซลล์จนถึงพืชทั้งต้น นักพฤกษศาสตร์ในปัจจุับันต้องเป็นผู้ที่ีมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์กว้างขวาง เพื่อให้สามารถเข้าใจพืชเกี่ยวกับ วิถีการสร้างพลังงาน การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์สังคมพืชนิเวศวิทยา การนำไปใช้ประโยชน์และอื่น ๆ  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น หน่วยงานในกระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรืและเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สภาวิจัยแห่งชาติ กองสวนกรุงเทพมหานคร สวนหลวง ร.9 องค์กรสวนพฤกษศาสตร์ ธุรกิจผลิตพันธุ์พืช เมล็ดพันธุ์ เป็นต้น  <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong> <br />\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>6.  ภาควิชาพันธุศาสตร์ <br />\n</strong></span>ให้การศึกษาพันธุศาสตร์สาขาต่าง ๆ ได้แก่ พันธุศาสตร์พื้นฐาน พันธุศาสตร์ประชากร พันธุศาสตร์โมเลกุล พันธุวิศวกรรม พันธุศาสตร์สภาวะแวดล้อมและพันธุศาสตร์ประยุกต์อีกหลายวิชา โดยให้ความรู้ทั้งทางด้านทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในฐานะนักวิชาการพันธุศาสตร์ นักวิจัยและนักปรับปรุงพันธุ์พืชสัตว์และจุลินทรีย์สำหรับการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอก มุ่งเน้นการเียนและการค้นคว้าวิจัยทั้งทางด้านพันธุศาสตร์ประยุกต์ และพันธุศาสตร์พื้นฐาน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทางพันธุศาสตร์ระดับสูง  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพันธุศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โรงพยาบาล กรมปศุสัตว์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม อาหารและประกอบธุรกิจส่วนตัว  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>7.  ภาควิชาฟิสิกส์</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาโดยเน้นในด้านฟิสิกส์สารควบแน่น ฟิสิกส์เชิงเคมี ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ฟิสิกส์สารสนเทศควอนตัม ฟิสิกส์วัสดุ ฟิสิกส์ของการวัดและอุปกรณ์ ฟิสิกส์ประยุต์ และฟิสิกส์ทั่วไป  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยต่าง ๆ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย การสื่สารแห่งประเทศไทย สถาบันวิทยาศาสตร์ประยุกต์ องค์กรเอกชนทำงาน เกี่ยวข้่องกับโทรคมนาคมการสื่อสารต่าง ๆ การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์สารกึ่งตัวตัว เป็นต้น  <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong> <br />\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>8.  ภาควิชารังสีประยุกต์และ์ไอโซโทป <br />\n</strong></span>สอนวิชาระดับปริญญาตรี คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา (รังสีประยุกต์และไอโซโทป) และระดับปริญญาโท ให้การศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทาง นิวเคลียร์ รังสีสุขภาพ และการป้องกัน เทคนิคการวัดรังสี รังสีชีววิทยา รังสีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม เทคนิคการถ่ายภาพด้วยรังสี รังสีและการกลายพันธุ์ การวิเคราะห์โดยวิธีทางนิวเคลียร์ การใช้รังสีและโอโซโทปในการเกษตรและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เป็นต้น  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น งานด้านชีววิทยาการเกษตรและการใช้ประโยชน์จากรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ เช่น กรมวิชาการเกษตร สำนักงานปรมาณู สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์กรเอกชน) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลและโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้กัมมันตภาพรังสีควบคุมผลิตภัณฑ์ เป็นต้น และสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และเอก ได้ทั้งภายในและต่างประเทศ  <br />\n <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>9. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ <br />\n</strong></span>ให้การศึกษาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เช่น หลักการเขียนโปรแกรมขั้นตอนวิธีและโครงสร้างข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การจัดการฐานข้อมูล การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์กราฟฟิกและทฤษฎีปัญญาประดิษฐ์ เป็นต้น  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>10.  ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ  <br />\n</strong></span>การศึกษาในสาขาวิชานี้เป็นการศึกษากระบวนการและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบโลก ประกอบด้วย บรรยากาศภาค (Autosphere) อุทกภาค (Hydrosphere) ธรณีภาค (Lithosphere) และชีวภาค (Biosphere) พร้อมทั้งศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของภาคต่าง ๆ เหล่านั้น รวมถึงความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ซึ่งเป็นทั้งผู้ใช้ประโยชน์ และ ผู้ทำให้เกิดและได้รับผลกระทบ นิสิตสามารถประยุกต์ ความรู้ที่เรียนมาในการประเมินสถานภาพทรัพยากรและศักยภาพในพื้นที่รวมถึง แนวทางจัดการ/แก้ไข/ลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่าง ๆ โดยในหลักสูตรมีภาคปฏิบัติการ การศึกษาภาคสนาม การศึกษาดูงานทั้งหน่วยงานและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้่อง เพื่อสร้างวิสัยทัีศน์ และประสบการณ์แก่นิสิต  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>11.  ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับปริญญาตรี (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) และปริญญาโท (เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม) เพื่อให้นิสิตมีพื้นฐานความรู้และสามารถประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม กฎหมายสิ่งแวดล้อม การควบคุมและการติดตามตรวจสอบสิ่งจัดการสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติการเพื่อให้เกิดทักษะและประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาฯ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไป เข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ตลอดจนองค์กรอิสระ ที่ต้องการผุ้มึความรู้และประสบการณ์พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>12.  ภาควิชาสัตววิทยา</strong></span>  <br />\nแบ่งออกเป็น 7 หมวดวิชา คือ สัตววิทยาทั่วไป กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา นิเวศวิทยาของสัตว์ สัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดทำากรสอดคล้องตามหมวดวิชาดังกล่าวมากมาย เช่น อนุกรมวิธานสัตว์ วิวัฒนาการของสัตว์ กายวิภาคเปรียบเทียบของคอร์เดต สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พฤติกรรมสัตว์ สรีรวิยาสัตว์ จุลกายวิภาคศาสตร์ การพัฒนา ตัวอ่อน พยาธิของสัตว์ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่างสัตว์ด้วยการทำสไลด์ถาวร การดองใสสัตว์ การสตัฟฟ์สัตว์ ฯลฯ  <br />\nบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาสามารทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนได้หลายแห่ง เช่น เป็นนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ กรม กองต่าง ๆ เช่น กรมป่าไม้ (วิจัยและอนุรักษ์สัตว์ป่า เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า) กรมวิชาการเกษตร (กองกีฎและสัตววิทยา) กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หน่วยวิจัยโรงพยาบาลต่าง  ๆ (ห้องปฏิบัิติการเลือด ห้องปฏิบัติการพยาธิ ฯลฯ) หน่วยงานเลี้ยงสัตว์ทดลอง สวนสัตว์ปิดและเปิดต่าง ๆ บริษัทนำเข้าและส่งออกสัตว์นอกประเทศ บริษัทผลิตสัตว์และอาหารสัตว์ บริษัทขายเครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท-เอก ทั้งในและต่างประเทศ  <br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>13.  ภาควิชาสถิติ</strong></span>  <br />\nให้การศึกษาด้านสถิติ และสารสนเทศ ทั้งทางทฤษฎีและประยุกต์ในสาขาอาชีพต่าง ๆ ซึ่งสามารถเลือกเรียนตามความสนใจ หมวดวิชาที่เปิดสอนได้แก่ การสำรวจตัวอย่าง การวิจัยดำเนินงาน การวางแปนการทดลอง สถิติอุตสาหกกรรม ชีวสถิติ สถิติธุรกิจ การควบคุมคุณภาพ สถิติประกันภัย เทคนิคการพยากรณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล <br />\n <br />\nบัณฑิตสถิติ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จะมีความรอบรู้วิชาทางด้านสถิติทั้งในภาควิชาทฤษฎีและประยุกต์ ตลอดจนมีความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์และการใช้ซอฟต์แวร์ทางสถิติ จึงสามารถทำงานได้ทั้งทางด้านสถิติและคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของตำแหน่งงานที่ทำ ได้แก่ นักวิเคราะห์ระบบ, โปรแกรมเมอร์, วิศวกรควบคุมคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ นักสถิติ, นักวิเคราะห์การตลาด เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42996\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">คณะแพทยศาสตร์</span></strong></a> <img border=\"0\" width=\"88\" src=\"/files/u19296/493e5bb4b8e1b.gif\" height=\"216\" /><strong><a href=\"/node/42912\"><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\"></span>\n</p>\n', created = 1715446342, expire = 1715532742, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ddc4a3d79f2e54ae321a2809f234160f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะวิทยาศาสตร์

 

1. ภาควิชาคณิตศาสตร์
จัดการเีรียนการสอนทั้งสาขาคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ และคณิตศาสตร์ประยุกต์ เพื่อมุ่งผลิตนักคณิตศาสตร์ที่มีความรู้ ความสามารถทางประสิทธิภาพ และเป็นบัณฑิตที่มีคุณธรรมจริยธรรม เป็นคนดีต่อสังคม และประเทศชาติ 
นอกจากนี้ ภาควิชาคณิตศาสตร์มีนโยบายมุ่งเน้นส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการและความเป็นเลิศทางด้านวิจัยในระดับมาตรฐานสากล พร้อมทั้งนำผลงานการวิจัยไปถ่ายทอดและบริการวิชาการแก่สังคม บัณฑิตที่จบการศึกษาทางคณิตศาสตร์ สามารถนำเอาความรู้ไปประกอบวิชาชีพ อาทิเช่น นักวิชาการ ครูอาจารย์ นักวิเคราะหืและวางแผนระบบงาน นักวิจัย และงานด้านคอมพิวเตอร์ เป็นต้น  
 
2. ภาควิชาเคมี 
เป็นหน่วยงานชั้นนำในการผลิตบัณฑิตเคมีที่มีคุณภาพในระดับแนวหน้า ตอบสนองความต้องการบุคลากรของประเทศทั้งภาครัฐบาลและเอกชน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมเคมี ปิโตรเคมี พอลิเมอร์ สิ่งทอ อัญมณี และอุตสาหกรรมอื่น ๆ ภาควิชาเคมีมุ่งเน้นให้นิสิตมีความเข้มแข็งในวิชาเคมี  ทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ คณาจารย์ภาควิชาเคมีได้อุทิศตนทุ่มแทให้กับการสอนและการวิจัย 
คณาจารย์ภาควิชาเคมีได้สร้างผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการที่ีมีการตรวจสอบคุณภาพอย่างเคร่งครัดเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป เป็นผลงานวิจัยที่มีคุณค่าและมีศักยภาพที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทางด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ ภาควิชาเคมีได้สร้างความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ โดยเป็นสมาชิกเครือข่ายแห่งความเป็นเลิศทางเคมี 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาเคมีสามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย โรงงานอุตสากรรมเคมีต่าง ๆ บริษัทเอกชนที่เป็นผู้แทนจำหน่ายเครื่องมือวิทยาศาสตร์และเคมีภัณฑ์ นอกจากนี้ยังสามารถดำเนินธุรกิจเป็นเจ้าของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประยุต์ใช้ความรู้ทางเคมีได้อีกด้วย  
 
 
3.  ภาควิชาจุลชีววิทยา 
ให้การศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา สรีรวิทยาของจุลินทรีย์ พันธุศาสตร์ของจุลินทรีย์และอนุกรรมวิธานของจุิลินทรีย์ เป็นต้น 
สำหรับด้านจุลชีววิทยาประยุกต์นั้น ได้แก่ จุลชีววิทยาทางอาหาร จุลชีววิทยาของน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม จุลชีววิทยาทางการเกษตร จุลชีววิทยาอุตสาหกรรมจุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม จุลชีววิทยาทางการแพทย์และสาธารสุข เป็นต้น 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาจุลชีวเคมี สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมอนามัย และมหาวิทยาลัยของรัฐ และเอกชนร่วมทั้งบริษัทเอกชน เช่น บริษัท ทางด้านอาหารและอุตสาหกรรม เป็นต้น  
 
4.  ภาควิชาชีวเคมี 
ให้การศึกษาเกี่ยวกับชีวเคมีพื้นฐานในสิ่งมีชีวิตและชีวเคมีประยุต์ในทางการเกษตรอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางชีวเคมีอยางกว้างขวางและลึกซึ้ง สามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีิพในสายงานที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถประยุกต์คิดค้น หรือแสวงหาความรู้ใหม่อันจะนำไปสู่การพัฒนาวิชาการ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการค้นคว้าวิจัยด้านชีวเคมี ให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์สอดคล้องต่อการพัฒนาประเทศและทันต่อการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาชีวเคมีสามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น สถานศึกษา สถานบริการการแพทย์ หน่วยงานวิจัยและบริการตรวจสอบ โรงงานอุตสาหกรรมการผลิตและแปรรูป ภาคธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ การเกษตร และอุตสาหกรรม  
 
5.  ภาควิชาพฤกษศาสตร์ 
ให้การศึกษาเกี่ยวกับชีวิตพืชทุก ๆ ด้าน ครอบคลุมตั้งแต่ระดับชีวโมเลกุลเซลล์จนถึงพืชทั้งต้น นักพฤกษศาสตร์ในปัจจุับันต้องเป็นผู้ที่ีมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์กว้างขวาง เพื่อให้สามารถเข้าใจพืชเกี่ยวกับ วิถีการสร้างพลังงาน การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์สังคมพืชนิเวศวิทยา การนำไปใช้ประโยชน์และอื่น ๆ 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น หน่วยงานในกระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรืและเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สภาวิจัยแห่งชาติ กองสวนกรุงเทพมหานคร สวนหลวง ร.9 องค์กรสวนพฤกษศาสตร์ ธุรกิจผลิตพันธุ์พืช เมล็ดพันธุ์ เป็นต้น  
 
6.  ภาควิชาพันธุศาสตร์
ให้การศึกษาพันธุศาสตร์สาขาต่าง ๆ ได้แก่ พันธุศาสตร์พื้นฐาน พันธุศาสตร์ประชากร พันธุศาสตร์โมเลกุล พันธุวิศวกรรม พันธุศาสตร์สภาวะแวดล้อมและพันธุศาสตร์ประยุกต์อีกหลายวิชา โดยให้ความรู้ทั้งทางด้านทฤษฎีและภาคปฏิบัติการ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในฐานะนักวิชาการพันธุศาสตร์ นักวิจัยและนักปรับปรุงพันธุ์พืชสัตว์และจุลินทรีย์สำหรับการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอก มุ่งเน้นการเียนและการค้นคว้าวิจัยทั้งทางด้านพันธุศาสตร์ประยุกต์ และพันธุศาสตร์พื้นฐาน เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยทางพันธุศาสตร์ระดับสูง 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพันธุศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ โรงพยาบาล กรมปศุสัตว์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ บริษัทในเครือเจริญโภคภัณฑ์ บริษัทที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม อาหารและประกอบธุรกิจส่วนตัว  
 
7.  ภาควิชาฟิสิกส์ 
ให้การศึกษาโดยเน้นในด้านฟิสิกส์สารควบแน่น ฟิสิกส์เชิงเคมี ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ฟิสิกส์สารสนเทศควอนตัม ฟิสิกส์วัสดุ ฟิสิกส์ของการวัดและอุปกรณ์ ฟิสิกส์ประยุต์ และฟิสิกส์ทั่วไป 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยต่าง ๆ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย การสื่สารแห่งประเทศไทย สถาบันวิทยาศาสตร์ประยุกต์ องค์กรเอกชนทำงาน เกี่ยวข้่องกับโทรคมนาคมการสื่อสารต่าง ๆ การผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อุปกรณ์สารกึ่งตัวตัว เป็นต้น  
 
8.  ภาควิชารังสีประยุกต์และ์ไอโซโทป
สอนวิชาระดับปริญญาตรี คือ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา (รังสีประยุกต์และไอโซโทป) และระดับปริญญาโท ให้การศึกษาเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทาง นิวเคลียร์ รังสีสุขภาพ และการป้องกัน เทคนิคการวัดรังสี รังสีชีววิทยา รังสีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม เทคนิคการถ่ายภาพด้วยรังสี รังสีและการกลายพันธุ์ การวิเคราะห์โดยวิธีทางนิวเคลียร์ การใช้รังสีและโอโซโทปในการเกษตรและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ เป็นต้น 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ สามารถเข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจหรือองค์กรเอกชนได้หลายแห่ง เช่น งานด้านชีววิทยาการเกษตรและการใช้ประโยชน์จากรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ เช่น กรมวิชาการเกษตร สำนักงานปรมาณู สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์กรเอกชน) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลและโรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้กัมมันตภาพรังสีควบคุมผลิตภัณฑ์ เป็นต้น และสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และเอก ได้ทั้งภายในและต่างประเทศ  
 
 
9. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
ให้การศึกษาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เช่น หลักการเขียนโปรแกรมขั้นตอนวิธีและโครงสร้างข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบระบบ การจัดการฐานข้อมูล การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลและข่ายงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์กราฟฟิกและทฤษฎีปัญญาประดิษฐ์ เป็นต้น  
 
10.  ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ 
การศึกษาในสาขาวิชานี้เป็นการศึกษากระบวนการและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบโลก ประกอบด้วย บรรยากาศภาค (Autosphere) อุทกภาค (Hydrosphere) ธรณีภาค (Lithosphere) และชีวภาค (Biosphere) พร้อมทั้งศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของภาคต่าง ๆ เหล่านั้น รวมถึงความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ซึ่งเป็นทั้งผู้ใช้ประโยชน์ และ ผู้ทำให้เกิดและได้รับผลกระทบ นิสิตสามารถประยุกต์ ความรู้ที่เรียนมาในการประเมินสถานภาพทรัพยากรและศักยภาพในพื้นที่รวมถึง แนวทางจัดการ/แก้ไข/ลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่าง ๆ โดยในหลักสูตรมีภาคปฏิบัติการ การศึกษาภาคสนาม การศึกษาดูงานทั้งหน่วยงานและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้่อง เพื่อสร้างวิสัยทัีศน์ และประสบการณ์แก่นิสิต  
 
11.  ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 
ให้การศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมระดับปริญญาตรี (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) และปริญญาโท (เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม) เพื่อให้นิสิตมีพื้นฐานความรู้และสามารถประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมในด้านทรัพยากรสิ่งแวดล้อม กฎหมายสิ่งแวดล้อม การควบคุมและการติดตามตรวจสอบสิ่งจัดการสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติการเพื่อให้เกิดทักษะและประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมบัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาฯ สามารถเข้าศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไป เข้าทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ตลอดจนองค์กรอิสระ ที่ต้องการผุ้มึความรู้และประสบการณ์พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม  
 
12.  ภาควิชาสัตววิทยา 
แบ่งออกเป็น 7 หมวดวิชา คือ สัตววิทยาทั่วไป กายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา ปรสิตวิทยา นิเวศวิทยาของสัตว์ สัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดทำากรสอดคล้องตามหมวดวิชาดังกล่าวมากมาย เช่น อนุกรมวิธานสัตว์ วิวัฒนาการของสัตว์ กายวิภาคเปรียบเทียบของคอร์เดต สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม พฤติกรรมสัตว์ สรีรวิยาสัตว์ จุลกายวิภาคศาสตร์ การพัฒนา ตัวอ่อน พยาธิของสัตว์ รวมทั้งวิธีการเก็บตัวอย่างสัตว์ด้วยการทำสไลด์ถาวร การดองใสสัตว์ การสตัฟฟ์สัตว์ ฯลฯ 
บัณฑิตที่จบการศึกษาจากภาควิชาสามารทำงานในภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์การเอกชนได้หลายแห่ง เช่น เป็นนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ กรม กองต่าง ๆ เช่น กรมป่าไม้ (วิจัยและอนุรักษ์สัตว์ป่า เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า) กรมวิชาการเกษตร (กองกีฎและสัตววิทยา) กรมประมง กรมปศุสัตว์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หน่วยวิจัยโรงพยาบาลต่าง  ๆ (ห้องปฏิบัิติการเลือด ห้องปฏิบัติการพยาธิ ฯลฯ) หน่วยงานเลี้ยงสัตว์ทดลอง สวนสัตว์ปิดและเปิดต่าง ๆ บริษัทนำเข้าและส่งออกสัตว์นอกประเทศ บริษัทผลิตสัตว์และอาหารสัตว์ บริษัทขายเครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโท-เอก ทั้งในและต่างประเทศ  
 
13.  ภาควิชาสถิติ 
ให้การศึกษาด้านสถิติ และสารสนเทศ ทั้งทางทฤษฎีและประยุกต์ในสาขาอาชีพต่าง ๆ ซึ่งสามารถเลือกเรียนตามความสนใจ หมวดวิชาที่เปิดสอนได้แก่ การสำรวจตัวอย่าง การวิจัยดำเนินงาน การวางแปนการทดลอง สถิติอุตสาหกกรรม ชีวสถิติ สถิติธุรกิจ การควบคุมคุณภาพ สถิติประกันภัย เทคนิคการพยากรณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล
 
บัณฑิตสถิติ ทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท จะมีความรอบรู้วิชาทางด้านสถิติทั้งในภาควิชาทฤษฎีและประยุกต์ ตลอดจนมีความชำนาญด้านคอมพิวเตอร์และการใช้ซอฟต์แวร์ทางสถิติ จึงสามารถทำงานได้ทั้งทางด้านสถิติและคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของตำแหน่งงานที่ทำ ได้แก่ นักวิเคราะห์ระบบ, โปรแกรมเมอร์, วิศวกรควบคุมคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ นักสถิติ, นักวิเคราะห์การตลาด เป็นต้น

คณะแพทยศาสตร์ กลับสู่หน้าแรก

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 318 คน กำลังออนไลน์