• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2f9068c649e30943b504a7495ec4cf5b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: medium\"><span lang=\"TH\"><span lang=\"TH\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></p>\n<p dir=\"ltr\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p dir=\"ltr\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #000080\"></span>\n</p>\n<p dir=\"ltr\">\n<span style=\"font-size: medium; color: #000080\"><span style=\"font-size: medium; color: #000080\"></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span lang=\"TH\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมเคมี</span><br />\n       </strong><span style=\"color: #ff00ff\">วิศวกรเคมีเป็นผู้ออกแบบ สร้าง ดำเนินการ รวมถึงแก้ปัญหาและปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ในโรงงานเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กรด สีย้อม ยา พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฯลฯ โดยใช้ปฏิกริยาเคมีที่ถูกศึกษาในห้องทดลองมาประยุกต์ใช้ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ตามที่ต้องการ วิศวกรรมเคมีมีความแตกต่างจากวิทยาศาสตร์เคมีตรงที่วิทยาศาสตร์จะศึกษาลึกลงไปในส่วนของปฏิกิริยาเคมีหรือสมบัติของสาร เน้นในทางทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ แต่วิศวกรรมเคมีจะนำความรู้ที่นักวิทยาศาสตร์ศึกษามาแล้วนั้นไปประยุกต์ใช้งานให้เห็นผลจริง</span></span></span> </span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมโยธา</span><br />\n      <span style=\"color: #ff00ff\"> </span></strong><span style=\"color: #ff00ff\">นิสิตจะได้รับความรู้ทั้งด้านการวางแผน การวิเคราะห์ การออกแบบ และการก่อสร้างอาคาร สะพาน ฐานราก โครงสร้างใต้ดิน การบริหารการก่อสร้าง และการขนส่ง (Logistic) อีกด้วย วิศวกรโยธาสามารถทำงานในด้านต่างๆ ได้เช่น บริษัทวิศวกรที่ปรึกษารวมถึงตรวจสอบและควบคุมการก่อสร้าง บริษัทรับเหมาก่อสร้าง หรือรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ</span></span></span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #800080\"> </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์</span><br />\n       </strong>วิชาที่ต้องเรียนในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลักๆ คือ กลุ่มทางทฤษฎี กลุ่มทางซอฟต์แวร์ กลุ่มทางฮาร์ตแวร์ และกลุ่มทางระบบสารสนเทศ การเรียนจะผสมผสานไปด้วยการออกแบบและการวิเคราะห์ไปว่าจะเป็นทางซอฟต์แวร์ ฮาร์ตแวร์ และระบบสารสนเทศ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม</span><br />\n       </strong>วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแบ่งวิชาที่ศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ สาขาวิศวกรรมสุขาภิบาล ซึ่งจะเน้นงานออกแบบและควบคุมการก่อสร้างระบบทางสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิศวกรรมโยธา สาขาควบคุมมลภาวะ เน้นหนักทางด้านงานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมยุคใหม่ ซึ่งมีขอบข่ายที่กว้างขวางและต้องใช้ความรู้หลายๆ ด้านเข้าแก้ปัญหา เช่น ด้านเคมี ชีวิวิทยา ซิศวกรรมเครื่องกล วัสดุศาสตร์ การจัดการ การผลิต การวางแผน เป็นต้น ดังนั้นสาขานี้จึงออกแบบมาเพื่อผลิตนิสิตที่สามารถแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า<br />\n</span>       </strong>ศาสตร์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า มีขอบข่ายที่กว้างขวางมาก ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการวิเคราะห์ ออกแบบ ประยุกต์ และควบคุมสิ่งประดิษฐ์และระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้กระแสไฟฟ้า นอกจากนั้นยังเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบสื่อสาร โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ โดยวิศวกรรมไฟฟ้าแบ่งการเรียนการสอนออกเป็น 4 สาขาหลักๆ คือ สาขาไฟฟ้ากำลัง สาขาไฟฟ้าสื่อสาร สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาระบบควบคุม</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่</span><br />\n       </strong>จะแบ่งเป็น 3 สาขาหลักๆ คือ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนการสำรวจหาแหล่งแร่ การประเมินคุณภาพแร่ การวางแผนการทำเหมืองในรูปแบบต่างๆ การควบคุมการทำเหมืองแร่ และการใช้อุปกรณ์ชนิดต่างๆ ในการแยกแร่ สาขาวิศวกรรมทรัพยากร จะเรียนเกี่ยวกับการนำทรัพยากรต่างๆ ที่ใช้แล้วนำกลับมาสู่กระบวนการแยกแร่ แล้วนำไปใช้เกป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตต่อไป สาขาวิศวกรรมอุทกธรณีวิทยา จะเรียนเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ำบาดาล</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม</span><br />\n       </strong>ศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจ ค้นหา วิเคราะห์ปริมาณของแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รวมถึงการออบแบบหลุมปิโตรเลียม วิธีการขุดเจาะ และกระบวนการผลิตน้ำมัน งานของวิศวกรปิโตรเลียมจะแตกต่างจากปิโตรเคมีตรงที่ปิโตรเคมีจะเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้จากการแยกน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ เช่น การทำเม็ดพลาสติก การผลิตก๊าซ LPG แต่วิศวกรปิโตรเลียมจะทำงานเกี่ยวกับการขุดเจาะ ผลิต และศึกษาแหล่งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ</span><br />\n       </strong>เป็นการรวมศาสตร์ทางวิศวกรรมหลายแขนงผสมผสานเข้ากับแนวคิดทางธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ดังนั้นวิศวกรรมอุตสาหกรรมจึงสามารถประยุกต์ใช้กัยธุรกิจได้ทุกประเภท ไม่เฉพาะแต่การเป็นวิศวกรโรงงานเท่านั้น หน้าที่หลักของวิศวกรอุตสาหกาคือ การวางแผนการผลิต แหล่งวัตถุดิบ ตลาด แนวโน้มการตลาด แผนผังโรงงาน การควบคุมความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพ เป็นต้น</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /> <span style=\"color: #ff6600\">สาขาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ</span><br />\n       </strong>นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านโลหะแล้ว หลักสูตรปัจจุบันยังครอบคลุมถึงวัสดุอื่นที่ไม่ใช่โลหะ ได้แก่ พอลิเมอร์ และเซรามิกส์อีกด้วย วิศวกรโลหการจะเป็นผู้ที่มีความรู้ด้านการผลิตโลหะและวัสดุต่างๆ การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะกับสภาพงาน การปรับปรุงคุณสมบัติของวัสดุเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของวิศวกรสาขาอื่น จึงอาจจะกล่าวได้ว่างานของวิศวกรโลหการเป็นพื้นฐานของอุตสาหกรรมทั้งหมดก็ว่าได้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /> <span style=\"color: #ff6600\">สาขาวิศวกรรมเครื่องกล</span><br />\n       </strong>เป็นศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานในการออกแบบ พัฒนา และผลิตอุปกรณ์ที่เป็นต้นกำลัง ถ่ายทอดกำลัง และใช้กำลัง การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ ด้านพลังงาน ความร้อน และของไหล และลักษณะที่สองคือ ด้านการเคลื่อนไหว โครงสร้าง และการควบคุม</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /> <span style=\"color: #ff6600\">สาขาวิศวกรรมยานยนต์</span><br />\n       </strong>วิศวกรรมยานยนต์มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อผลิตบุคลากรออกไปทำงานในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนในประเทศ ดังนั้นนิสิตจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับรถยนต์โดยเฉพาะ ทั้งโครงสร้างภายนอกและภายใน นอกเหนือจากวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />สาขาวิศวกรรมเรือ</span><br />\n       </strong>เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรือโดยเฉพาะ โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ Navai Engineering ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบตัวเรือและกระบวนการต่อเรือ Marine Engineering ศึกษาเกี่ยวกับระบบภายในของเรือ การวางผังแหล่งกำเนิด การระบายอากาศ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงความปลอดภัยของเรือด้วย</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /><span style=\"color: #ff6600\">สาขาวิศวกรรมสำรวจ</span><br />\n       </strong>นอกเหนือจากการศึกษาเกี่ยวกับการรังวัดทั่วไปจนถึงการรังวัดด้วยดาวเทียมและเรื่องการทำแผนที่แล้วยังศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของ Geoinformatic Engineering ซึ่งเป็นการศึกษาที่นำไปใช้กับระบบ GPS หรือระบบติดตามด้วยดาวเทียม ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดงานในขณะนี้และในอนาคต</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"> <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /></span><strong><span style=\"color: #ff6600\">ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร</span><span style=\"color: #800080\"><br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">มุ่งเน้นการสอน 3 ด้าน ดังนี้<br />\nด้านเครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery)<br />\n- ศึกษาการออกแบบ และการใช้งานของเครื่องจักรกล การเกษตรเก่าๆ ระบบการทำฟาร์ม<br />\nด้านการจัดการดินและน้ำ (Soil &amp; Water Management)<br />\n- ศึกษาการชลประทาน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรทางด้านการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด<br />\nด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Energy &amp; Environment)<br />\n- ศึกษาด้านเทคโนโลยีพลังงานรูปแบบต่างๆ เช่นพลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม, พลังงานชีวมวล เป็นต้น</span></span></strong></p>\n<p><span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร</span><br />\n</strong><span style=\"color: #ff00ff\">มุ่งเน้นการสอน 4 ด้าน ดังนี้<br />\n- วิศวกรรมแปรรูปอาหาร<br />\n- การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม<br />\n- การออกแบบเครื่องจักรกลในการแปรรูปอาหาร<br />\n- คุณสมบัติทางวิศวกรรมของอาหาร การวัด และการควบคุมในกระบวนการผลิตอาหาร </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span class=\"style16\"><span style=\"color: #660000\"><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" /><strong>วิศวกรรมอัตโนมัติ</strong></span></span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">คือศาสตร์ที่ผสมผสานระหว่างงานเชิงวิศวกรรมกับการจัดการทางด้านสารสนเทศที่มุ่งเน้นให้ ระบบต่าง ๆ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกๆ ด้าน อาทิเช่น ต้นทุนการผลิต คุณภาพและ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยในการทำงาน สภาวะของสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการปรับอัตราการผลิต เพื่อตอบสนองต่อปริมาณความต้องการของตลาด และรวมไปถึงการบริหารและการจัดการในอุตสาหกรรม </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 49px\" />วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"color: #ff00ff\">เป็นสาขาทางวิศวกรรมศาสตร์ ว่าด้วยการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในการผลิตระบบสารสนเทศและระบบการสื่อสาร สำหรับอุตสาหกรรมหรือองค์กรวิสาหกิจที่มีสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและสารสนเทศขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์สำหรับองค์กรวิสาหกิจขนาดใหญ่ ธุรกิจสารสนเทศเพื่อการสื่อสารระดับประเทศ ระบบข้อมูลสารสนเทศดาวเทียม อุตสาหกรรมเกมและศึกษาบันเทิง ระบบเครือข่ายองค์กรวิสาหกิจ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ของวิสาหกิจขนาดใหญ่ เป้นต้น</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><strong><a href=\"/node/42976\"><span style=\"color: #ff0000\">คณะวิทยาศาสตร์</span></a></strong><img border=\"0\" width=\"90\" src=\"/files/u19296/46f78c7e18b1b.gif\" height=\"110\" style=\"width: 76px; height: 85px\" /></span><strong><a href=\"/node/42912\"><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #800080\"></span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #800080\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715418659, expire = 1715505059, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2f9068c649e30943b504a7495ec4cf5b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะวิศวกรรมศาสตร์

สาขาวิศวกรรมเคมี
       
วิศวกรเคมีเป็นผู้ออกแบบ สร้าง ดำเนินการ รวมถึงแก้ปัญหาและปรับปรุงกระบวนการต่างๆ ในโรงงานเพื่อให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กรด สีย้อม ยา พลาสติก ยางสังเคราะห์ ฯลฯ โดยใช้ปฏิกริยาเคมีที่ถูกศึกษาในห้องทดลองมาประยุกต์ใช้ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ตามที่ต้องการ วิศวกรรมเคมีมีความแตกต่างจากวิทยาศาสตร์เคมีตรงที่วิทยาศาสตร์จะศึกษาลึกลงไปในส่วนของปฏิกิริยาเคมีหรือสมบัติของสาร เน้นในทางทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ แต่วิศวกรรมเคมีจะนำความรู้ที่นักวิทยาศาสตร์ศึกษามาแล้วนั้นไปประยุกต์ใช้งานให้เห็นผลจริง

สาขาวิศวกรรมโยธา
       
นิสิตจะได้รับความรู้ทั้งด้านการวางแผน การวิเคราะห์ การออกแบบ และการก่อสร้างอาคาร สะพาน ฐานราก โครงสร้างใต้ดิน การบริหารการก่อสร้าง และการขนส่ง (Logistic) อีกด้วย วิศวกรโยธาสามารถทำงานในด้านต่างๆ ได้เช่น บริษัทวิศวกรที่ปรึกษารวมถึงตรวจสอบและควบคุมการก่อสร้าง บริษัทรับเหมาก่อสร้าง หรือรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ

 สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
       
วิชาที่ต้องเรียนในภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลักๆ คือ กลุ่มทางทฤษฎี กลุ่มทางซอฟต์แวร์ กลุ่มทางฮาร์ตแวร์ และกลุ่มทางระบบสารสนเทศ การเรียนจะผสมผสานไปด้วยการออกแบบและการวิเคราะห์ไปว่าจะเป็นทางซอฟต์แวร์ ฮาร์ตแวร์ และระบบสารสนเทศ

 สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
       
วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแบ่งวิชาที่ศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ สาขาวิศวกรรมสุขาภิบาล ซึ่งจะเน้นงานออกแบบและควบคุมการก่อสร้างระบบทางสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านวิศวกรรมโยธา สาขาควบคุมมลภาวะ เน้นหนักทางด้านงานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมยุคใหม่ ซึ่งมีขอบข่ายที่กว้างขวางและต้องใช้ความรู้หลายๆ ด้านเข้าแก้ปัญหา เช่น ด้านเคมี ชีวิวิทยา ซิศวกรรมเครื่องกล วัสดุศาสตร์ การจัดการ การผลิต การวางแผน เป็นต้น ดังนั้นสาขานี้จึงออกแบบมาเพื่อผลิตนิสิตที่สามารถแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
       
ศาสตร์ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า มีขอบข่ายที่กว้างขวางมาก ไม่ว่าจะเป็นในด้านของการวิเคราะห์ ออกแบบ ประยุกต์ และควบคุมสิ่งประดิษฐ์และระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้กระแสไฟฟ้า นอกจากนั้นยังเกี่ยวกับเทคโนโลยีระบบสื่อสาร โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ โดยวิศวกรรมไฟฟ้าแบ่งการเรียนการสอนออกเป็น 4 สาขาหลักๆ คือ สาขาไฟฟ้ากำลัง สาขาไฟฟ้าสื่อสาร สาขาไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาระบบควบคุม

 สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่
       
จะแบ่งเป็น 3 สาขาหลักๆ คือ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนการสำรวจหาแหล่งแร่ การประเมินคุณภาพแร่ การวางแผนการทำเหมืองในรูปแบบต่างๆ การควบคุมการทำเหมืองแร่ และการใช้อุปกรณ์ชนิดต่างๆ ในการแยกแร่ สาขาวิศวกรรมทรัพยากร จะเรียนเกี่ยวกับการนำทรัพยากรต่างๆ ที่ใช้แล้วนำกลับมาสู่กระบวนการแยกแร่ แล้วนำไปใช้เกป็นวัตถุดิบสำหรับการผลิตต่อไป สาขาวิศวกรรมอุทกธรณีวิทยา จะเรียนเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้ำบาดาล

 สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม
       
ศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจ ค้นหา วิเคราะห์ปริมาณของแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ รวมถึงการออบแบบหลุมปิโตรเลียม วิธีการขุดเจาะ และกระบวนการผลิตน้ำมัน งานของวิศวกรปิโตรเลียมจะแตกต่างจากปิโตรเคมีตรงที่ปิโตรเคมีจะเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากสิ่งที่ได้จากการแยกน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ เช่น การทำเม็ดพลาสติก การผลิตก๊าซ LPG แต่วิศวกรปิโตรเลียมจะทำงานเกี่ยวกับการขุดเจาะ ผลิต และศึกษาแหล่งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ

 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
       
เป็นการรวมศาสตร์ทางวิศวกรรมหลายแขนงผสมผสานเข้ากับแนวคิดทางธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ดังนั้นวิศวกรรมอุตสาหกรรมจึงสามารถประยุกต์ใช้กัยธุรกิจได้ทุกประเภท ไม่เฉพาะแต่การเป็นวิศวกรโรงงานเท่านั้น หน้าที่หลักของวิศวกรอุตสาหกาคือ การวางแผนการผลิต แหล่งวัตถุดิบ ตลาด แนวโน้มการตลาด แผนผังโรงงาน การควบคุมความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพ เป็นต้น

 สาขาวิศวกรรมโลหการและวัสดุ
       
นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านโลหะแล้ว หลักสูตรปัจจุบันยังครอบคลุมถึงวัสดุอื่นที่ไม่ใช่โลหะ ได้แก่ พอลิเมอร์ และเซรามิกส์อีกด้วย วิศวกรโลหการจะเป็นผู้ที่มีความรู้ด้านการผลิตโลหะและวัสดุต่างๆ การเลือกใช้วัสดุให้เหมาะกับสภาพงาน การปรับปรุงคุณสมบัติของวัสดุเพื่อให้ตอบสนองต่อความต้องการของวิศวกรสาขาอื่น จึงอาจจะกล่าวได้ว่างานของวิศวกรโลหการเป็นพื้นฐานของอุตสาหกรรมทั้งหมดก็ว่าได้

 สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
       
เป็นศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานในการออกแบบ พัฒนา และผลิตอุปกรณ์ที่เป็นต้นกำลัง ถ่ายทอดกำลัง และใช้กำลัง การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ ด้านพลังงาน ความร้อน และของไหล และลักษณะที่สองคือ ด้านการเคลื่อนไหว โครงสร้าง และการควบคุม

 สาขาวิศวกรรมยานยนต์
       
วิศวกรรมยานยนต์มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อผลิตบุคลากรออกไปทำงานในอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนในประเทศ ดังนั้นนิสิตจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับรถยนต์โดยเฉพาะ ทั้งโครงสร้างภายนอกและภายใน นอกเหนือจากวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล

 สาขาวิศวกรรมเรือ
       
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเรือโดยเฉพาะ โดยแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ Navai Engineering ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบตัวเรือและกระบวนการต่อเรือ Marine Engineering ศึกษาเกี่ยวกับระบบภายในของเรือ การวางผังแหล่งกำเนิด การระบายอากาศ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงความปลอดภัยของเรือด้วย

 สาขาวิศวกรรมสำรวจ
       
นอกเหนือจากการศึกษาเกี่ยวกับการรังวัดทั่วไปจนถึงการรังวัดด้วยดาวเทียมและเรื่องการทำแผนที่แล้วยังศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของ Geoinformatic Engineering ซึ่งเป็นการศึกษาที่นำไปใช้กับระบบ GPS หรือระบบติดตามด้วยดาวเทียม ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดงานในขณะนี้และในอนาคต

 ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร
มุ่งเน้นการสอน 3 ด้าน ดังนี้
ด้านเครื่องจักรกลเกษตร (Agricultural Machinery)
- ศึกษาการออกแบบ และการใช้งานของเครื่องจักรกล การเกษตรเก่าๆ ระบบการทำฟาร์ม
ด้านการจัดการดินและน้ำ (Soil & Water Management)
- ศึกษาการชลประทาน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรทางด้านการเกษตร ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Energy & Environment)
- ศึกษาด้านเทคโนโลยีพลังงานรูปแบบต่างๆ เช่นพลังงานแสงอาทิตย์, พลังงานลม, พลังงานชีวมวล เป็นต้น

ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร
มุ่งเน้นการสอน 4 ด้าน ดังนี้
- วิศวกรรมแปรรูปอาหาร
- การบำบัดของเสียในอุตสาหกรรม
- การออกแบบเครื่องจักรกลในการแปรรูปอาหาร
- คุณสมบัติทางวิศวกรรมของอาหาร การวัด และการควบคุมในกระบวนการผลิตอาหาร

วิศวกรรมอัตโนมัติ

คือศาสตร์ที่ผสมผสานระหว่างงานเชิงวิศวกรรมกับการจัดการทางด้านสารสนเทศที่มุ่งเน้นให้ ระบบต่าง ๆ สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกๆ ด้าน อาทิเช่น ต้นทุนการผลิต คุณภาพและ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยในการทำงาน สภาวะของสิ่งแวดล้อม ความสามารถในการปรับอัตราการผลิต เพื่อตอบสนองต่อปริมาณความต้องการของตลาด และรวมไปถึงการบริหารและการจัดการในอุตสาหกรรม

วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร

เป็นสาขาทางวิศวกรรมศาสตร์ ว่าด้วยการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมในการผลิตระบบสารสนเทศและระบบการสื่อสาร สำหรับอุตสาหกรรมหรือองค์กรวิสาหกิจที่มีสถาปัตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและสารสนเทศขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์สำหรับองค์กรวิสาหกิจขนาดใหญ่ ธุรกิจสารสนเทศเพื่อการสื่อสารระดับประเทศ ระบบข้อมูลสารสนเทศดาวเทียม อุตสาหกรรมเกมและศึกษาบันเทิง ระบบเครือข่ายองค์กรวิสาหกิจ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ของวิสาหกิจขนาดใหญ่ เป้นต้น

คณะวิทยาศาสตร์กลับสู่หน้าแรก

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 306 คน กำลังออนไลน์