• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e55607e34c4fba7f89d188c5317ef3a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"0\" style=\"margin: auto 6.75pt; border-collapse: collapse\" class=\"MsoNormalTable\" align=\"left\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 104.4pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"139\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ชื่อเรื่อง</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></span></td>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 294.7pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"393\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำนักขัน </span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></b></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 104.4pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"139\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ผู้วิจัย</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></span></td>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 294.7pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"393\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">นายชวนิตย์<span>  </span>นาคะสรรค์<o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 104.4pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"139\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b></td>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 294.7pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"393\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษโรงเรียนวัดสำนักขัน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 104.4pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"139\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">สังกัด</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></span></td>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 294.7pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"393\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span></td>\n</tr>\n<tr>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 104.4pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"139\"><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ปีการศึกษา</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b></span></td>\n<td style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 294.7pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: #ece9d8\" vAlign=\"top\" width=\"393\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">2550<span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\" lang=\"TH\">บทคัดย่อ</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>                </span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; letter-spacing: -0.4pt; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">การศึกษาครั้งนี้มุ่งพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนซึ่งมีวัตถุประสงค์</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">เพื่อ<span>  </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">1<span lang=\"TH\">)ศึกษาปัญหาการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำนักขัน<span>  </span>สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช และ 2)พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">การวิจัยในครั้งนี้แบ่งออกเป็น<span>  </span></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">2<span lang=\"TH\"><span>  </span>ช่วง<span>  </span>โดยช่วงที่<span>  </span></span>1<span lang=\"TH\"><span>  </span>ศึกษาความรู้ความเข้าใจ<span>  </span>ปัญหาการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและความเหมาะสมในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน<span>  </span>กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีจำนวนทั้งสิ้น </span>87<span lang=\"TH\"><span>  </span>คน ประกอบด้วย ครู<span>  </span></span>15<span>  </span><span lang=\"TH\">คน<span>  </span>ผู้ปกครองนักเรียน<span>  </span><span> </span></span>60<span>  </span><span lang=\"TH\">คน<span>  </span>และคณะกรรมการสถานศึกษา<span>  </span>จำนวน </span>12<span lang=\"TH\"> คน <span>  </span>เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย <span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">แบบสอบถาม จำนวน </span></span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">2<span lang=\"TH\"> ฉบับ</span></span><span lang=\"TH\"> วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย (</span></span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shapetype coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" o:preferrelative=\"t\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" filled=\"f\" stroked=\"f\" id=\"_x0000_t75\"><span style=\"color: #000000\"> <v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></span></v:shapetype><v:shape type=\"#_x0000_t75\" fillcolor=\"window\" style=\"width: 14.25pt; height: 15pt\" id=\"_x0000_i1025\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.wmz\"></v:imagedata></v:shape></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span> </span>) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (</span></span><span style=\"position: relative; top: 3pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" fillcolor=\"window\" style=\"width: 24pt; height: 14.25pt\" id=\"_x0000_i1026\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image003.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">)</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><span>  </span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ช่วงที่<span>  </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">2</span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"> </span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span> </span><span lang=\"TH\">การสนทนากลุ่มแบบเจาะลึกโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์งานดูแลช่วยเหลือนักเรียน<span>  </span>จำนวน<span>  </span></span>7<span lang=\"TH\"><span>  </span>คน<span>  </span>เพื่อวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อประมวลผลจัดทำคู่มือครูการดำเนินงานตามกระบวนการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน<o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 110%; font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ผลการวิจัย</span></b><span style=\"line-height: 110%; font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span>                </span>ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span><b>ช่วงที่<span>  </span>1</b> การวิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจและปัญหาการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของครู<span>  </span>และความเหมาะสมในการดำเนินงานตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา<span>  </span><span>  </span>สรุปได้ดังนี้<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">1</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ระดับความรู้ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเมื่อพิจารณาโดยรวมมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1027\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.69</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) เมื่อพิจารณาปัญหาด้านความรู้ความเข้าใจของครูเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>  </span>ได้แก่<span>  </span>กระบวนการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1028\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.47</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) การคัดกรองนักเรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1029\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.53</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และการใช้แบบประเมินพฤติกรรมมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1030\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.60</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) การพิจารณาการคัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์ของโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1031\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.60</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">)<span>  </span>การจัดกิจกรรมโฮมรูมมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1032\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.60<span lang=\"TH\">)<span>  </span>ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span>2</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลเมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1033\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=4.04<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>   </span></span>3<span lang=\"TH\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่การเยี่ยมบ้านนักเรียนและการบันทึกในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.</span>5</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">)มีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1034\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=4.27<span lang=\"TH\">) การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและการจัดทำระเบียนสะสม<span>  </span>(ปพ.</span>8</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">)มีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1035\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.13</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และการสัมภาษณ์นักเรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1036\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.07<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span><span style=\"color: #000000\">                </span></span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ด้านการคัดกรองนักเรียน<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1037\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.68<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ การวางแผนในการคัดกรองนักเรียนและจำแนกนักเรียนตามสุขภาพร่างกาย(น้ำหนัก<span>  </span>ส่วนสูง<span>  </span>โรคประจำตัว<span>  </span>ความแข็งแรงของร่างกาย<span>  </span>การเจ็บป่วย<span>  </span>ความพิการ<span>  </span>ความบกพร่องของร่างกาย)มีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1038\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=4.00<span lang=\"TH\">) คัดกรองนักเรียนโดยจำแนกออกเป็น<span>  </span></span>4</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>กลุ่มคือ<span>  </span>กลุ่มปกติ<span>  </span>กลุ่มเสี่ยง<span>  </span>กลุ่มมีปัญหา<span>  </span>และกลุ่มที่มีความสามารถพิเศษมีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1039\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.87</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และจำแนกนักเรียนตามผลการเรียนพฤติกรรมนักเรียนและจำแนกนักเรียนตามจิตใจอารมณ์<span>  </span>สัมพันธภาพกับเพื่อและสังคมมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1040\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.80<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span><span>     </span></span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">4</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1041\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 4.13<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ การประชุมผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1042\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=4.40<span lang=\"TH\">) การจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย </span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1043\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">= 4.27</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1044\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 4.20<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>                   </span><span>     </span><span>    </span>5</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ด้านการการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1045\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.99<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ กิจกรรมอบรมประจำสัปดาห์มีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1046\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=4.40</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) กิจกรรมสื่อสารกับผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1047\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 4.13</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และกิจกรรมในห้องเรียนและการให้คำปรึกษามีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1048\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 4.07<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>     </span>6<span lang=\"TH\">.ด้านการส่งต่อนักเรียน<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1049\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">= 3.71<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ การติดตาม<span>  </span>การช่วยเหลือจากผู้ที่เกี่ยวข้องมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1050\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">=3.93</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) การวางแผนร่วมกับคณะครูในโรงเรียนเพื่อส่งต่อนักเรียนภายในและภายนอกมีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1051\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.87</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และการประสานงานและบันทึกการส่งต่อไปยังครูที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือนักเรียนมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1052\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.67<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>     </span><span>     </span>7</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1053\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.30<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีความเหมาะสมเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากน้อยไปหามาก<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ โรงเรียนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1054\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.52</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพโดยครูประจำชั้นหรือโรงเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1055\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.94</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และนักเรียนได้รับการสนับสนุนจากครูในการส่งเสริมความถนัดหรือความสนใจของนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1056\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.72<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span><span>     </span>8</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">.ความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา<span>  </span>เมื่อพิจารณาโดยรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1057\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 3.40<span lang=\"TH\">) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ<span>  </span>พบว่า<span>  </span>มีความเหมาะสมเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากน้อยไปหามาก<span>   </span></span>3</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>  </span>อันดับ ได้แก่ ท่านได้รับคำแนะนำจากครูประจำชั้นหรือโรงเรียนในการเฝ้าระวังนักเรียนหรือบุตรหลานให้พ้นภัยจากบุคคลและสังคมมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1058\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.76</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">)โรงเรียนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย (</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1059\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.83</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">) และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์มากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย(</span><span style=\"position: relative; top: 2pt\"><v:shape type=\"#_x0000_t75\" style=\"width: 9pt; height: 15.75pt\" id=\"_x0000_i1060\"><span style=\"color: #000000\"> <v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\ADMIN\\LOCALS~1\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image005.wmz\"></v:imagedata></span></v:shape></span></span><span style=\"color: #000000\">= 2.94<span lang=\"TH\">) ตามลำดับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\">ช่วงที่<span>  </span></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">2</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span>  </span><span lang=\"TH\">ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจากผลการสนทนากลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยนำข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาดังกล่าวมาประมวลจัดทำเป็นคู่มือครูการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน<span>  </span>มีประเด็นน่าสนใจแต่ละด้านดังนี้</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">1<span lang=\"TH\">. ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น<span>  </span>จัดอบรมครูหรือศึกษาดูงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนทีมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดีเด่น</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำคู่มือครูเกี่ยวกับการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อเป็นแนวปฏิบัติร่วมกันในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง<span>  </span></span>5<span lang=\"TH\"><span>  </span>ด้านคือการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล<span>  </span>ด้านการคัดกรอง<span>  </span>ด้านการส่งเสริมและพัฒนา<span>  </span>ด้านการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียนและด้านการส่งต่อ</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดระบบการนิเทศติดตาม<span>  </span>ช่วยเหลือครูในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบครบวงจร</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ชี้แจงและทำความเข้าใจกับครูผู้รับผิดชอบในการคัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนได้จัดทำขึ้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\" lang=\"TH\"><span>                </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\">2<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล<b> </b><span> </span>เช่น</span><b><span>  </span></b><span lang=\"TH\">ทำแบบสอบถามผู้ปกครองนักเรียนเพื่อวางแผนการเก็บข้อมูลในการเยี่ยมบ้านนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำปฏิทินนัดหมายการเยี่ยมบ้านผู้ปกครองนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดครูรับผิดชอบเยี่ยมบ้านนักเรียนโดยบันทึกในแบบการเยี่ยมบ้าน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดเก็บข้อมูลการเยี่ยมบ้านนำมาวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาต่อไป</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ชี้แจงทำความเข้าใจกับครูให้เข้าใจวิธีการบันทึกแบบ(ปพ.</span>5<span lang=\"TH\">)และชี้แจงวิธีการนำข้อมูลไปใช้</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ประชุมครูเพื่อวางแผนการจัดทำแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">.ชี้แจงทำความเข้าใจวิธีสังเกตพฤติกรรมนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำระเบียนสะสมและชี้แจงวิธีการบันทึกข้อมูล</span><span>  </span><span lang=\"TH\">สร้างแบบสัมภาษณ์นักเรียนแบบมีโครงสร้าง</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">3<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการคัดกรองนักเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">เช่น<span>  </span>ประชุมชี้แจงวางแผนในการคัดกรองนักเรียนโดยจัดทำแบบการคัดกรองให้ครอบคลุมด้านสุขภาพ<span>  </span>พัฒนาทางร่างกาย<span>  </span>โรคประจำตัว<span>  </span>การเจ็บป่วย<span>  </span>ความพิการ<span>  </span>ความบกพร่องของร่างกายโดยจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการคัดกรองให้ชัดเจน<span>  </span>จัดทำแบบคัดกรองนักเรียนโดยแยกเอกสารการคัดกรองตามปัญหาของนักเรียนออกเป็น<span>  </span></span>4<span lang=\"TH\"><span>  </span>กลุ่ม<span>  </span>เพื่อวางแผนในการช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนต่อไป</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำแบบบันทึกหรือข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคลในด้านการเรียน<span>  </span>พฤติกรรมของนักเรียน<span>  </span>สัมพันธภาพกับเพื่อนและด้านสุขภาพจิตของนักเรียน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">4<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน <span> </span>เช่น<span>  </span>จัดทำคู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อวางแผนการจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและเลือกประธานเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนตลอดจน<span>  </span>กำหนดบทบาทหน้าที่ของเครือข่ายผู้ปกครองให้ชัดเจน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำโครงการพิเศษต่าง<span>  </span>ๆ โดยให้ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรม</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">5<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน</span><span>   </span><span lang=\"TH\">เช่น<span>  </span>จัดทำแบบบันทึกการอบรมนักเรียนนักเรียนประจำสัปดาห์</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ประชุมมอบหมายให้ครู<span>  </span>กรรมการสถานศึกษาและตัวแทนเครือข่ายผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุมประจำสัปดาห์ร่วมกับโรงเรียน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำจดหมายข่าวเพื่อสื่อสารกับผู้ปกครอง<span>  </span>จัดทำแบบบันทึกการให้คำปรึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">6<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการส่งต่อนักเรียน<span>  </span>เช่น ควรเชิญนักจิตวิทยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับครูในการจำแนกนักเรียนเพื่อการส่งต่อและวิธีการส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดทำแบบบันทึกการส่งต่อและประสานงานไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง</span><b><o:p></o:p></b></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">7<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน<b><span>  </span></b>เช่น</span><b><span>  </span></b><span lang=\"TH\">ประชุม<span>  </span>อบรมผู้ปกครองนักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามกรอบและภาระงานของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง<span>  </span></span>5<span lang=\"TH\"><span>  </span>ด้านตลอดจนชี้แจงทำความเข้าใจในบทบาทและความร่วมมือของผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">จัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีหน้าที่สอดส่องดูแลและประสานงานกับโรงเรียนในการดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เป็นปัญหาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาร่วมกัน</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ควรมีแบบสำรวจความถนัดและความสนใจของนักเรียนแต่ละคนหรือมีวิธีการวัดความถนัดของนักเรียนแต่ละคนเพื่อจำแนกนักเรียนออกเป็นกลุ่ม<span>  </span>ๆ <span> </span>ตามความสนใจและความถนัด</span><span>  </span><span lang=\"TH\">ควรจัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียนให้เป็นปัจจุบันและต่อเนื่อง</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">8<span lang=\"TH\">.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษานักเรียน<b><span>  </span></b>เช่น<span>  </span>จัดประชุม</span>/<span lang=\"TH\">อบรมคณะกรรมการสถานศึกษาให้เข้าใจการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้เวลาประมาณ<span>  </span></span>1-2<span lang=\"TH\">วันโดยเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้และปฏิบัติจริง</span><b><span>  </span></b><span lang=\"TH\">ชี้แจงบทบาทและขั้นตอนการให้ข้อมูลข่าวสารและการประสานงานกับโรงเรียน</span><b><o:p></o:p></b></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 24pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b></p>\n', created = 1715740205, expire = 1715826605, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e55607e34c4fba7f89d188c5317ef3a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำนักขัน

ชื่อเรื่อง การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำนักขัน
ผู้วิจัย นายชวนิตย์  นาคะสรรค์
  ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษโรงเรียนวัดสำนักขัน
สังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช
ปีการศึกษา 2550

บทคัดย่อ                การศึกษาครั้งนี้มุ่งพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ  1)ศึกษาปัญหาการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนวัดสำนักขัน  สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช และ 2)พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน  การวิจัยในครั้งนี้แบ่งออกเป็น  2  ช่วง  โดยช่วงที่  1  ศึกษาความรู้ความเข้าใจ  ปัญหาการดูแลช่วยเหลือนักเรียนและความเหมาะสมในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  กลุ่มผู้ให้ข้อมูลมีจำนวนทั้งสิ้น 87  คน ประกอบด้วย ครู  15  คน  ผู้ปกครองนักเรียน   60  คน  และคณะกรรมการสถานศึกษา  จำนวน 12 คน   เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถาม จำนวน 2 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย (  ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( )  ช่วงที่  2  การสนทนากลุ่มแบบเจาะลึกโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์งานดูแลช่วยเหลือนักเรียน  จำนวน  7  คน  เพื่อวิเคราะห์แนวทางการแก้ปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อประมวลผลจัดทำคู่มือครูการดำเนินงานตามกระบวนการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนผลการวิจัย                ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้                ช่วงที่  1 การวิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจและปัญหาการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของครู  และความเหมาะสมในการดำเนินงานตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา    สรุปได้ดังนี้                1.ระดับความรู้ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเมื่อพิจารณาโดยรวมมีความรู้ความเข้าใจอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( =3.69) เมื่อพิจารณาปัญหาด้านความรู้ความเข้าใจของครูเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย  ได้แก่  กระบวนการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีค่าเฉลี่ย( =3.47) การคัดกรองนักเรียนมีค่าเฉลี่ย( = 3.53) และการใช้แบบประเมินพฤติกรรมมีค่าเฉลี่ย( =3.60) การพิจารณาการคัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์ของโรงเรียนมีค่าเฉลี่ย( =3.60)  การจัดกิจกรรมโฮมรูมมีค่าเฉลี่ย( =3.60)  ตามลำดับ                     2.ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลเมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( =4.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย   3  อันดับ ได้แก่การเยี่ยมบ้านนักเรียนและการบันทึกในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ (ปพ.5)มีค่าเฉลี่ย( =4.27) การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและการจัดทำระเบียนสะสม  (ปพ.8)มีค่าเฉลี่ย ( = 3.13) และการสัมภาษณ์นักเรียนมีค่าเฉลี่ย( =3.07) ตามลำดับ                     3.ด้านการคัดกรองนักเรียน  เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( =3.68) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย   3  อันดับ ได้แก่ การวางแผนในการคัดกรองนักเรียนและจำแนกนักเรียนตามสุขภาพร่างกาย(น้ำหนัก  ส่วนสูง  โรคประจำตัว  ความแข็งแรงของร่างกาย  การเจ็บป่วย  ความพิการ  ความบกพร่องของร่างกาย)มีค่าเฉลี่ย( =4.00) คัดกรองนักเรียนโดยจำแนกออกเป็น  4  กลุ่มคือ  กลุ่มปกติ  กลุ่มเสี่ยง  กลุ่มมีปัญหา  และกลุ่มที่มีความสามารถพิเศษมีค่าเฉลี่ย ( = 3.87) และจำแนกนักเรียนตามผลการเรียนพฤติกรรมนักเรียนและจำแนกนักเรียนตามจิตใจอารมณ์  สัมพันธภาพกับเพื่อและสังคมมีค่าเฉลี่ย( =3.80) ตามลำดับ                     4.ด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน  เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( = 4.13) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย   3  อันดับ ได้แก่ การประชุมผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย( =4.40) การจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย ( = 4.27) และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมีค่าเฉลี่ย( = 4.20) ตามลำดับ                            5.ด้านการการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน  เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( = 3.99) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย   3  อันดับ ได้แก่ กิจกรรมอบรมประจำสัปดาห์มีค่าเฉลี่ย( =4.40) กิจกรรมสื่อสารกับผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ย ( = 4.13) และกิจกรรมในห้องเรียนและการให้คำปรึกษามีค่าเฉลี่ย( = 4.07) ตามลำดับ                     6.ด้านการส่งต่อนักเรียน  เมื่อพิจารณาโดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( = 3.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีปัญหาเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย   3  อันดับ ได้แก่ การติดตาม  การช่วยเหลือจากผู้ที่เกี่ยวข้องมีค่าเฉลี่ย( =3.93) การวางแผนร่วมกับคณะครูในโรงเรียนเพื่อส่งต่อนักเรียนภายในและภายนอกมีค่าเฉลี่ย ( = 3.87) และการประสานงานและบันทึกการส่งต่อไปยังครูที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือนักเรียนมีค่าเฉลี่ย( = 3.67) ตามลำดับ          7.ความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน  เมื่อพิจารณาโดยรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( = 3.30) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีความเหมาะสมเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากน้อยไปหามาก   3  อันดับ ได้แก่ โรงเรียนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย( = 2.52) นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพโดยครูประจำชั้นหรือโรงเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย ( = 2.94) และนักเรียนได้รับการสนับสนุนจากครูในการส่งเสริมความถนัดหรือความสนใจของนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย( = 2.72) ตามลำดับ                     8.ความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา  เมื่อพิจารณาโดยรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย( = 3.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ  พบว่า  มีความเหมาะสมเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากน้อยไปหามาก   3  อันดับ ได้แก่ ท่านได้รับคำแนะนำจากครูประจำชั้นหรือโรงเรียนในการเฝ้าระวังนักเรียนหรือบุตรหลานให้พ้นภัยจากบุคคลและสังคมมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย( = 2.76)โรงเรียนได้ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย ( = 2.83) และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนส่งผลให้นักเรียนได้พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์มากน้อยเพียงใดมีค่าเฉลี่ย( = 2.94) ตามลำดับช่วงที่  2  ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจากผลการสนทนากลุ่มโดยผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยนำข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาดังกล่าวมาประมวลจัดทำเป็นคู่มือครูการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  มีประเด็นน่าสนใจแต่ละด้านดังนี้                1. ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น  จัดอบรมครูหรือศึกษาดูงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนทีมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนดีเด่น  จัดทำคู่มือครูเกี่ยวกับการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อเป็นแนวปฏิบัติร่วมกันในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง  5  ด้านคือการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล  ด้านการคัดกรอง  ด้านการส่งเสริมและพัฒนา  ด้านการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียนและด้านการส่งต่อ  จัดระบบการนิเทศติดตาม  ช่วยเหลือครูในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบครบวงจร  ชี้แจงและทำความเข้าใจกับครูผู้รับผิดชอบในการคัดกรองนักเรียนตามเกณฑ์ที่โรงเรียนได้จัดทำขึ้น                2.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล  เช่น  ทำแบบสอบถามผู้ปกครองนักเรียนเพื่อวางแผนการเก็บข้อมูลในการเยี่ยมบ้านนักเรียน  จัดทำปฏิทินนัดหมายการเยี่ยมบ้านผู้ปกครองนักเรียน  จัดครูรับผิดชอบเยี่ยมบ้านนักเรียนโดยบันทึกในแบบการเยี่ยมบ้าน  จัดเก็บข้อมูลการเยี่ยมบ้านนำมาวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาต่อไป  ชี้แจงทำความเข้าใจกับครูให้เข้าใจวิธีการบันทึกแบบ(ปพ.5)และชี้แจงวิธีการนำข้อมูลไปใช้  ประชุมครูเพื่อวางแผนการจัดทำแบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน  .ชี้แจงทำความเข้าใจวิธีสังเกตพฤติกรรมนักเรียน  จัดทำระเบียนสะสมและชี้แจงวิธีการบันทึกข้อมูล  สร้างแบบสัมภาษณ์นักเรียนแบบมีโครงสร้าง  ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์3.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการคัดกรองนักเรียน  เช่น  ประชุมชี้แจงวางแผนในการคัดกรองนักเรียนโดยจัดทำแบบการคัดกรองให้ครอบคลุมด้านสุขภาพ  พัฒนาทางร่างกาย  โรคประจำตัว  การเจ็บป่วย  ความพิการ  ความบกพร่องของร่างกายโดยจัดทำหลักเกณฑ์และวิธีการคัดกรองให้ชัดเจน  จัดทำแบบคัดกรองนักเรียนโดยแยกเอกสารการคัดกรองตามปัญหาของนักเรียนออกเป็น  4  กลุ่ม  เพื่อวางแผนในการช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนต่อไป  จัดทำแบบบันทึกหรือข้อมูลของนักเรียนเป็นรายบุคคลในด้านการเรียน  พฤติกรรมของนักเรียน  สัมพันธภาพกับเพื่อนและด้านสุขภาพจิตของนักเรียน4.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน  เช่น  จัดทำคู่มือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  ประชุมผู้ปกครองนักเรียนเพื่อวางแผนการจัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนและเลือกประธานเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนตลอดจน  กำหนดบทบาทหน้าที่ของเครือข่ายผู้ปกครองให้ชัดเจน  จัดทำโครงการพิเศษต่าง  ๆ โดยให้ชุมชนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรม5.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการป้องกันและช่วยเหลือนักเรียน   เช่น  จัดทำแบบบันทึกการอบรมนักเรียนนักเรียนประจำสัปดาห์  ประชุมมอบหมายให้ครู  กรรมการสถานศึกษาและตัวแทนเครือข่ายผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประชุมประจำสัปดาห์ร่วมกับโรงเรียน  จัดทำจดหมายข่าวเพื่อสื่อสารกับผู้ปกครอง  จัดทำแบบบันทึกการให้คำปรึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล6.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการส่งต่อนักเรียน  เช่น ควรเชิญนักจิตวิทยาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้กับครูในการจำแนกนักเรียนเพื่อการส่งต่อและวิธีการส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จัดทำแบบบันทึกการส่งต่อและประสานงานไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง7.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน  เช่น  ประชุม  อบรมผู้ปกครองนักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามกรอบและภาระงานของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนทั้ง  5  ด้านตลอดจนชี้แจงทำความเข้าใจในบทบาทและความร่วมมือของผู้ปกครองในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน  จัดตั้งเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนมีหน้าที่สอดส่องดูแลและประสานงานกับโรงเรียนในการดูแลพฤติกรรมนักเรียนที่เป็นปัญหาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาร่วมกัน  ควรมีแบบสำรวจความถนัดและความสนใจของนักเรียนแต่ละคนหรือมีวิธีการวัดความถนัดของนักเรียนแต่ละคนเพื่อจำแนกนักเรียนออกเป็นกลุ่ม   ตามความสนใจและความถนัด  ควรจัดทำแบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียนให้เป็นปัจจุบันและต่อเนื่อง8.ข้อเสนอแนะวิธีการแก้ไขปัญหาในด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษานักเรียน  เช่น  จัดประชุม/อบรมคณะกรรมการสถานศึกษาให้เข้าใจการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยใช้เวลาประมาณ  1-2วันโดยเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้และปฏิบัติจริง  ชี้แจงบทบาทและขั้นตอนการให้ข้อมูลข่าวสารและการประสานงานกับโรงเรียน                     

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 299 คน กำลังออนไลน์