• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:66c06edeb940f1116d3d0e652a0c8119' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><b><span style=\"font-size: 20pt\" lang=\"TH\">บทคัดย่อ</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span><o:p><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: Angsana New\"></span></o:p> <o:p><span style=\"font-size: large; color: #000000; font-family: Angsana New\"></span></o:p> <span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\" lang=\"TH\"><span>                </span>การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายของการวิจัย </span><span style=\"letter-spacing: -0.2pt\">3<span lang=\"TH\"> ประการคือ </span>1) <span lang=\"TH\">เพื่ออธิบายและทำนายพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยตัวแปรปัจจัยภายใน-ภายนอก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ </span>4 <span lang=\"TH\">ในโรงเรียนมัยธยมวัดหนองแขม<span>  </span></span>2) <span lang=\"TH\">เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน-ภายนอก ที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ </span>3) <span lang=\"TH\">เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณระหว่างนักเรียนที่มีเพศและคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมต่างกันกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับรายละเอียด ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถามและแบบวัดตัวแปรต่างๆ ได้แก่ พฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุผล การควบคุมตนเอง ความรับผิดชอบต่อสังคม เจตคติต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ การได้รับตัวแบบจากครอบครัว การได้รับตัวแบบจากเพื่อน การได้รับตัวแบบจากครู การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครู และการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสื่อ การวิเคราะข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (</span>Two-way Analysis of Variance) <span lang=\"TH\">และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรทีละตัว (</span>Stepwise Multiple Regression Analysis) </span><b><span style=\"font-size: 18pt; letter-spacing: -0.2pt\"><o:p></o:p></span></b></span></span></span></p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0in 0in 0pt; text-align: justify; tab-stops: .5in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ผลการวิจัยพบว่า</span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0in 0in 0pt; text-align: justify; tab-stops: .5in .75in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                </span>1. <span lang=\"TH\"><span>    </span>ตัวแปรวิจัยปัจจัยภายใน ซึ่งได้แก่ การคิดอย่างมีเหตุผล ความรับผิดชอบต่อสังคม ตัวแปรปัจจัยภายนอก ซึ่งได้แก่ การได้รับตัวแบบจากเพื่อน การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครูและการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสื่อ สามารถร่วมกันทำ นายพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ได้ร้อยละ </span>39.00</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0in 0in 0pt; text-align: justify; tab-stops: .5in .75in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                </span>2. <span lang=\"TH\"><span>    </span>พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมตนเองและการได้รับตัวแบบจากครอบครัวที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม<span>  </span><span> </span>คือ ในกลุ่มนักเรียนที่มีการควบคุมตนเองมาก นักเรียนที่ได้รับตัวแบบจากครอบครัวมากมีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนที่ได้รับตัวแบบจากครอบครัวน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.</span>05</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0in 0in 0pt; text-align: justify; tab-stops: .5in .75in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                </span>3. <span>    </span><span lang=\"TH\">นักเรียนที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณแตกต่างกัน ได้แก่</span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0in 0in 0pt; text-align: justify; tab-stops: .5in .75in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                        </span>3.1<span lang=\"TH\"> <span> </span>นักเรียนหญิงมีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.</span>05</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>                        </span>3.2<span lang=\"TH\"> <span> </span>นักเรียนที่มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมมาก มีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนที่มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.</span>05 <span><o:p></o:p></span></span></span></span></p>\n', created = 1715738398, expire = 1715824798, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:66c06edeb940f1116d3d0e652a0c8119' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

บทคัดย่อ                  การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายของการวิจัย 3 ประการคือ 1) เพื่ออธิบายและทำนายพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยตัวแปรปัจจัยภายใน-ภายนอก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนมัยธยมวัดหนองแขม  2) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน-ภายนอก ที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ 3) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณระหว่างนักเรียนที่มีเพศและคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมต่างกันกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม จำนวน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับรายละเอียด ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถามและแบบวัดตัวแปรต่างๆ ได้แก่ พฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุผล การควบคุมตนเอง ความรับผิดชอบต่อสังคม เจตคติต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ การได้รับตัวแบบจากครอบครัว การได้รับตัวแบบจากเพื่อน การได้รับตัวแบบจากครู การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากเพื่อน การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครู และการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสื่อ การวิเคราะข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง (Two-way Analysis of Variance) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรทีละตัว (Stepwise Multiple Regression Analysis)

                ผลการวิจัยพบว่า

                1.     ตัวแปรวิจัยปัจจัยภายใน ซึ่งได้แก่ การคิดอย่างมีเหตุผล ความรับผิดชอบต่อสังคม ตัวแปรปัจจัยภายนอก ซึ่งได้แก่ การได้รับตัวแบบจากเพื่อน การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากครูและการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสื่อ สามารถร่วมกันทำ นายพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ได้ร้อยละ 39.00

                2.     พบปฏิสัมพันธ์ระหว่างการควบคุมตนเองและการได้รับตัวแบบจากครอบครัวที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม   คือ ในกลุ่มนักเรียนที่มีการควบคุมตนเองมาก นักเรียนที่ได้รับตัวแบบจากครอบครัวมากมีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนที่ได้รับตัวแบบจากครอบครัวน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                3.     นักเรียนที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณแตกต่างกัน ได้แก่

                        3.1  นักเรียนหญิงมีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                        3.2  นักเรียนที่มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมมาก มีพฤติกรรมการรับสื่ออินเทอร์เน็ตอย่างมีวิจารณญาณมากกว่านักเรียนที่มีคะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 298 คน กำลังออนไลน์