• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a3d82b05660d243c1a92006d4ef7453d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">องค์ประกอบของการจัดระเบียบสังคม</span></b></span>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u597/_1.jpg\" width=\"300\" height=\"225\" /></div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูป : </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-size: 13px; font-family: arial\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">www.visualtravelguide.net/.</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"><wbr></wbr>../mimg379866559.jpg</span></span></div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">1.บรรทัดฐานสังคม (Social Norm)</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">2.สถานภาพทางสังคม (Social Status)</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">3.บทบาททางสังคม (Social Role)</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">4.การควบคุมทางสังคม (Social Control)</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">               องค์ประกอบ 4 ประการที่กล่าวมานี้ เป็นพื้นฐานสำคัญของการจัดระเบียบในสังคมมนุษย์กล่าว คือ สมาชิกในสังคมจะต้องร่วมกันกำหนดแบบแผนพฤติกรรม เพื่อเป็นแนวทางสำหรับประพฤติปฏิบัติ ในแต่ละสถานการณ์ที่เรียกว่า บรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งทำให้การกระทำระหว่างกันทางสังคมของสมาชิกดี ความสอดคล้องกลมกลืนเป็นสมานฉันท์ สมาชิกแต่ละคนที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในกลุ่มต่างๆ จะต้องมีตำแหน่งทางสังคมที่เรียกว่า สถานภาพทางสังคม ทำให้เกิดการกระทำตามสิทธิและหน้าที่หรือที่เรียกว่า บทบาททางสังคม นอกจากนี้สังคมจะต้องมีกระบวนการควบคุมสมาชิกให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน ทางสังคมซึ่งเรียกว่า การควบคุมทางสังคม องค์ประกอบของการจัดระเบียบสังคมทั้ง 4 ประการนี้ ทำให้การกระทำระหว่างกันของสมาชิกในสังคมมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างมีระเบียบ ซึ่งเป็นผลให้สมาชิกบรรลุถึงสิ่งซึ่งสนองความต้องการของบุคคลแต่ละคน และของสังคมโดยส่วนรวม</span></div>\n<div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"><b><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm)</span></b></span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">               บรรทัดฐานทางสังคม หมายถึง ระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือ แบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ละสถานการณ์  จากความหมายของบรรทัดฐานทางสังคมที่กล่าวมานี้ อาจสรุปได้ว่า</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">1.บรรทัดฐานทางสังคมเป้นระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สมาชิกในสังคมยอมรับร่วมกัน และได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อมา การละเมิดไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคมย่องถูกผู้อื่นแสดงปฏิกริยาไม่ยอมรับ หรืออาจได้รับโทษหนักเบาตามสภาพพฤติกรรมนั้น เช่น ถูกตำหนิติเตียน ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย เป้นต้น</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">2.บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรม ซึ่งเปนแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ล่ะสถานการณ์ กล่าวคือ แบบแผนของพฤติกรรมที่เห็นว่าถูกต้องในสถานการณ์หนึ่งอาจนำไปใช้ในอีกสถานการหนึ่งไม่ได้ เช่น ในขณะที่เรียนหนังสือ นักเรียนอาจช่วยกันค้นคว้าหาความรุ้ในเนื้อหาที่เรียน แต่ในขณะสอบนักเรียนจะปฏิบัติเช่นนั่นไม่ได้ ดังบรรทัดฐานทางสังคมแต่ล่ะอย่างจึงเหมาะสมไปตามกาลเทศะที่คนในสังคมตกลงร่วมกัน โดยมีบทลงโทษผู้ละเมิดฝ่าฝืนอย่างชัดแจ้ง</span></div>\n<div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">                ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม  จำแนกออกได้ดังนี้</span></div>\n<div><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">1.วิถีชาวบ้าน (Folkway)</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\"> หมายถึง แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติด้วยความเคยชินเนื่องจากได้รับการปลูกฝั่งถ่ายทอดมาตั่งแต่วัยเด็กจนเติบใหญ่ ได้แก่ มาตรฐานความประพฤติที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การแต่งกาย กิริยามารยาทต่างๆ ทางสังคมในโอกาสต่างๆรวมถึงการดำเนินชีวิตเกี่ยวกับการกินอยู่หลับนอน เช่น การรับประทานอาหารด้วยช้อนส้อม การอาบน้ำวันละ2ครั้ง การนอนบนที่นอนหรือเตียงนอน เป็นต้น แม้ว่านวความประพฤติตามวิถีชาวบ้าน จะไม่กำหนดโทษละเมิดฝ่าฝืนอย่างเข้มงวดแต่ผู้ที่ละเลยไม่ปฏิบัติตามแนวความประพฤติดังกล่าว ก็จะได้รับกสรติเตียน เยาะเย้ยถากถางหรือการนินทาจากผู้อื่น ทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามวิถีชาวบ้านของสังคมจนเกิดความเป็นระเบียบ</span></div>\n<div><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">2. จารีต (Mores)</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\"> เป็นแบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆโดยผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง เนื่องจากมีผลกระทบต่อระบบความสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นส่วนรวมผู้ที่ฝ่าฝืนจึงถือว่าเป็นผู้ประพฤติผิด จารีตจึงเป็นเรื่องของความผอดชอบชั่วดี และเป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงบากกว่าวิถีชาวบ้าน</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">สังคมแต่ล่ะสังคมจะมีจารีตแตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับค่านิยมและความเหมาะสมของสังคมนั้นสังคมไทยถือว่าบุตรต้องเลี้ยงดูบิดามารดา ซึ่งในสังคมตะวันตกไม่ถือแนวความประพฤตินี้ว่าเป็นจารีต เราจึงไม่อาจจะนำจารีตของแต่ล่ะที่ไปเปรียบเทียบกันว่าของใครดีกว่ากัน เนื่องจากแต่ล่ะสังคมย่อมมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และทางสังคมต่างกัน จารีตส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานมาจากหลักศาสนาที่สังคมนั้นยึดถือ ดังนั้นเราควรยอมรับความแตกต่างในแนวการดำเนินชีวิตตามจารีตของสังคมแต่ล่ะสังคม โดยไม่ดูถูกเหยียดหยามจารีตของสังคมอื่นๆ ว่าเป็นสิ่งไม่ถูกต้องอย่างไรก็ตามมีจารีตบางอย่างก็เป็นความเชื่อของสมาชิกในสังคม เช่น ในสังคมไทยห้ามสตรีแตะต้องจีวรของพระภิกษุแต่ในสังคมเป็นพื้นฐานในการกำหนดจารีต</span></div>\n<div><span style=\"text-decoration: underline\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808000\">3.กฏหมาย (Law)</span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\"> หมายถึง กฏเกณฑ์ของความประพฤติซึ่งสร้างขึ้นโดยองค์กรทางการเมืองการปรกครอง และโดยการรับรองจางองค์กรของรัฐ กฏหมายจึงเป็นกฏเกณฑ์ความประพฤติที่สำคัญสำหรับสังคมปัจจุบันซึ่งมีระบบความสัมพันธ์สลับซับซ้อน</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">                   กฏหมายเป็นเกณฑ์ความประพฤติที่มีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">1) เป็นกฏเกณฑ์ควรประพฤติปฏิบัติของ สมาชิกในสังคมที่บัญญัติเป็นทางการ โดยองค์กรของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ในการบัญญัติกฏหมาย เช่นรัฐสภา คณะรัฐมนตรี</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">2) มีการประกาศลายละเอียดของกฏหมายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">3) มีองค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุมให้สมาชิกปฏิบัติตามกฏหมาย เช่น กรมตำรวจ ศาล เป็นต้น</span></div>\n<div><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\">4) มีบทลงโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนกฏหมายโดยทั่วไป กฏหมายและจารีตมักเป็นเกณฑ์แนวความประพฤติสอดคล้องกัน เนื่อจากบัญญัติต่างมักจะมีพื้นฐานมาจากจารีจที่สมาชิกยึดถือ เช่น การที่นายจ้างกระทำทารุณต่อลูกจ้าง นับเป็นการละเมิดจารีตและกฏหมาย ของสังคม เช่น พระราชบัญญัติรูปที่ดิน พระบัญญัติการควบคุมอาหารและยาเป็นต้น กฏหมายเหล่านี้อาจมิได้มีพื้นฐานมาจากจารีตเดิมของสังคมนั้น</span></div>\n<div><span style=\"font-weight: bold\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n<p style=\"margin-top: 0.6em; margin-right: 0px; margin-bottom: 1.2em; margin-left: 0px; padding: 0px\"><span style=\"color: #99cc00; padding: 0px; margin: 0px\" class=\"Apple-style-span\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: normal\">ที่มาของข้อมูล : เอกสารประกอบการเรียนวิชามนุษย์กับสังคม (ส42206) โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย </span></span></p>\n<div>\n<div>\n</div></div></span></div></div></div></p>', created = 1716126922, expire = 1716213322, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a3d82b05660d243c1a92006d4ef7453d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างของสังคม

รูปภาพของ sss27198

องค์ประกอบของการจัดระเบียบสังคม

ที่มาของรูป : www.visualtravelguide.net/.../mimg379866559.jpg
1.บรรทัดฐานสังคม (Social Norm)
2.สถานภาพทางสังคม (Social Status)
3.บทบาททางสังคม (Social Role)
4.การควบคุมทางสังคม (Social Control)
               องค์ประกอบ 4 ประการที่กล่าวมานี้ เป็นพื้นฐานสำคัญของการจัดระเบียบในสังคมมนุษย์กล่าว คือ สมาชิกในสังคมจะต้องร่วมกันกำหนดแบบแผนพฤติกรรม เพื่อเป็นแนวทางสำหรับประพฤติปฏิบัติ ในแต่ละสถานการณ์ที่เรียกว่า บรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งทำให้การกระทำระหว่างกันทางสังคมของสมาชิกดี ความสอดคล้องกลมกลืนเป็นสมานฉันท์ สมาชิกแต่ละคนที่ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในกลุ่มต่างๆ จะต้องมีตำแหน่งทางสังคมที่เรียกว่า สถานภาพทางสังคม ทำให้เกิดการกระทำตามสิทธิและหน้าที่หรือที่เรียกว่า บทบาททางสังคม นอกจากนี้สังคมจะต้องมีกระบวนการควบคุมสมาชิกให้ประพฤติปฏิบัติตามบรรทัดฐาน ทางสังคมซึ่งเรียกว่า การควบคุมทางสังคม องค์ประกอบของการจัดระเบียบสังคมทั้ง 4 ประการนี้ ทำให้การกระทำระหว่างกันของสมาชิกในสังคมมีความสอดคล้องสัมพันธ์กันอย่างมีระเบียบ ซึ่งเป็นผลให้สมาชิกบรรลุถึงสิ่งซึ่งสนองความต้องการของบุคคลแต่ละคน และของสังคมโดยส่วนรวม
บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm)
               บรรทัดฐานทางสังคม หมายถึง ระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือ แบบแผนของพฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ละสถานการณ์  จากความหมายของบรรทัดฐานทางสังคมที่กล่าวมานี้ อาจสรุปได้ว่า
1.บรรทัดฐานทางสังคมเป้นระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรมที่สมาชิกในสังคมยอมรับร่วมกัน และได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อมา การละเมิดไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคมย่องถูกผู้อื่นแสดงปฏิกริยาไม่ยอมรับ หรืออาจได้รับโทษหนักเบาตามสภาพพฤติกรรมนั้น เช่น ถูกตำหนิติเตียน ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย เป้นต้น
2.บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ กฏเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรม ซึ่งเปนแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติในแต่ล่ะสถานการณ์ กล่าวคือ แบบแผนของพฤติกรรมที่เห็นว่าถูกต้องในสถานการณ์หนึ่งอาจนำไปใช้ในอีกสถานการหนึ่งไม่ได้ เช่น ในขณะที่เรียนหนังสือ นักเรียนอาจช่วยกันค้นคว้าหาความรุ้ในเนื้อหาที่เรียน แต่ในขณะสอบนักเรียนจะปฏิบัติเช่นนั่นไม่ได้ ดังบรรทัดฐานทางสังคมแต่ล่ะอย่างจึงเหมาะสมไปตามกาลเทศะที่คนในสังคมตกลงร่วมกัน โดยมีบทลงโทษผู้ละเมิดฝ่าฝืนอย่างชัดแจ้ง
                ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม  จำแนกออกได้ดังนี้
1.วิถีชาวบ้าน (Folkway) หมายถึง แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติด้วยความเคยชินเนื่องจากได้รับการปลูกฝั่งถ่ายทอดมาตั่งแต่วัยเด็กจนเติบใหญ่ ได้แก่ มาตรฐานความประพฤติที่เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น การแต่งกาย กิริยามารยาทต่างๆ ทางสังคมในโอกาสต่างๆรวมถึงการดำเนินชีวิตเกี่ยวกับการกินอยู่หลับนอน เช่น การรับประทานอาหารด้วยช้อนส้อม การอาบน้ำวันละ2ครั้ง การนอนบนที่นอนหรือเตียงนอน เป็นต้น แม้ว่านวความประพฤติตามวิถีชาวบ้าน จะไม่กำหนดโทษละเมิดฝ่าฝืนอย่างเข้มงวดแต่ผู้ที่ละเลยไม่ปฏิบัติตามแนวความประพฤติดังกล่าว ก็จะได้รับกสรติเตียน เยาะเย้ยถากถางหรือการนินทาจากผู้อื่น ทำให้สมาชิกต้องปฏิบัติตามวิถีชาวบ้านของสังคมจนเกิดความเป็นระเบียบ
2. จารีต (Mores) เป็นแบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฏิบัติในสถานการณ์ต่างๆโดยผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง เนื่องจากมีผลกระทบต่อระบบความสัมพันธ์ของสมาชิกเป็นส่วนรวมผู้ที่ฝ่าฝืนจึงถือว่าเป็นผู้ประพฤติผิด จารีตจึงเป็นเรื่องของความผอดชอบชั่วดี และเป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงบากกว่าวิถีชาวบ้าน
สังคมแต่ล่ะสังคมจะมีจารีตแตกต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับค่านิยมและความเหมาะสมของสังคมนั้นสังคมไทยถือว่าบุตรต้องเลี้ยงดูบิดามารดา ซึ่งในสังคมตะวันตกไม่ถือแนวความประพฤตินี้ว่าเป็นจารีต เราจึงไม่อาจจะนำจารีตของแต่ล่ะที่ไปเปรียบเทียบกันว่าของใครดีกว่ากัน เนื่องจากแต่ล่ะสังคมย่อมมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และทางสังคมต่างกัน จารีตส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานมาจากหลักศาสนาที่สังคมนั้นยึดถือ ดังนั้นเราควรยอมรับความแตกต่างในแนวการดำเนินชีวิตตามจารีตของสังคมแต่ล่ะสังคม โดยไม่ดูถูกเหยียดหยามจารีตของสังคมอื่นๆ ว่าเป็นสิ่งไม่ถูกต้องอย่างไรก็ตามมีจารีตบางอย่างก็เป็นความเชื่อของสมาชิกในสังคม เช่น ในสังคมไทยห้ามสตรีแตะต้องจีวรของพระภิกษุแต่ในสังคมเป็นพื้นฐานในการกำหนดจารีต
3.กฏหมาย (Law) หมายถึง กฏเกณฑ์ของความประพฤติซึ่งสร้างขึ้นโดยองค์กรทางการเมืองการปรกครอง และโดยการรับรองจางองค์กรของรัฐ กฏหมายจึงเป็นกฏเกณฑ์ความประพฤติที่สำคัญสำหรับสังคมปัจจุบันซึ่งมีระบบความสัมพันธ์สลับซับซ้อน
                   กฏหมายเป็นเกณฑ์ความประพฤติที่มีลักษณะสำคัญดังต่อไปนี้
1) เป็นกฏเกณฑ์ควรประพฤติปฏิบัติของ สมาชิกในสังคมที่บัญญัติเป็นทางการ โดยองค์กรของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่ในการบัญญัติกฏหมาย เช่นรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
2) มีการประกาศลายละเอียดของกฏหมายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
3) มีองค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุมให้สมาชิกปฏิบัติตามกฏหมาย เช่น กรมตำรวจ ศาล เป็นต้น
4) มีบทลงโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนกฏหมายโดยทั่วไป กฏหมายและจารีตมักเป็นเกณฑ์แนวความประพฤติสอดคล้องกัน เนื่อจากบัญญัติต่างมักจะมีพื้นฐานมาจากจารีจที่สมาชิกยึดถือ เช่น การที่นายจ้างกระทำทารุณต่อลูกจ้าง นับเป็นการละเมิดจารีตและกฏหมาย ของสังคม เช่น พระราชบัญญัติรูปที่ดิน พระบัญญัติการควบคุมอาหารและยาเป็นต้น กฏหมายเหล่านี้อาจมิได้มีพื้นฐานมาจากจารีตเดิมของสังคมนั้น

ที่มาของข้อมูล : เอกสารประกอบการเรียนวิชามนุษย์กับสังคม (ส42206) โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 

??

Surprised

ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆค่ะ ต้องเอาไปทำรายงานพอดี

รูปภาพของ sss27375

จะวิชาการไปไหนเนี่ย

วัยรุ่นเซงเลย...55+

เเต่ว่าเนื้อหาดีนะ

สู้ๆๆ

รูปภาพของ ssspoonsak

เยี่ยมไปเลย

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 274 คน กำลังออนไลน์