• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('โครงสร้างของสังคม', 'node/24705', '', '3.22.79.94', 0, '018386d92b0bda9e7fdbda7d6e491df8', 131, 1716129547) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e195087631c1f2efef8b973f162a55e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u597/3.jpg\" style=\"width: 322px; height: 215px\" height=\"375\" width=\"500\" border=\"0\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูป</span> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">http://www.kiriwong.net/spnakhonsawan/18.jpg </span> </div>\n<p><b><u><span style=\"color: #808000\"></span></u></b><b><u><span style=\"color: #808000\">3. สถาบันศาสนา</span></u></b><br /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span>             <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> สถาบันศาสนา หมายถึง สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกันแบบแผนระบบความเชื่อสังคมและความศรัทธาต่อสิ่งที่เคารพบูชาของสมาชิกในสังคม สถาบันศาสนามีความสำคัญต่อการหล่อหลอมความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสมาชิกในสังคม เนื่องจากสร้างความผูกพันทางจิตใจระหว่างสมาชิกให้ยึดถือเป็นหลักการดำเนินชีวิตร่วมกัน<br /></span><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">              กลุ่มสังคมในสถาบันศาสนาที่สำคัญได้แก่ คณะสงฆ์ กลุ่มผู้ปฏิบัติ เป็นต้นโดยมีตำแหน่งต่างๆกัน เช่น สมเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาส ภิกษุ สามเณร ฆราวาส เป็นต้น </span><br /><u><span style=\"color: #808000\">หน้าที่ของสถาบันศาสนา</span></u> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">เกิดขึ้นโดยมีหน้าที่ ดังนี้<br />1.สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่สังคม ทำให้เกิดความสามัคคี ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีการดำเนินชีวิตตามระบบความเชื่อในทางเดียวกัน<br />2.สร้างเสริมและถ่ายทอดวัฒนธรรมทางสังคม ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมในสังคมอย่างมากมาย โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางคติธรรม และวัฒนธรรมทางวัตถุที่มีคุณค่าแก่สังคม เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุศาสนา เป็นต้น<br />3.ควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม เนื่องจากศาสนาเป็นระบบความเชื่อของสังคม ดังนั้นสมาชิกที่ละเมิด ฝ่าฝืน แนวความประพฤติที่สังคมยอมรับว่าเป็นสิ่งดีงามก็จะได้รับปฏิกิริยาต่อต้านจากสังคม<br />4.สนองความต้องการทางจิตใจให้แก่สมาชิก เมื่อสมาชิกเชิญกับปัญหาต่างๆ ในการดำเนินชีวิตก็จะสามารถนำหลักของศาสนามาแก้ไขความเดือดร้อนได้อย่างเหมาะสม</span><br /><u><span style=\"color: #808000\">แบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก</span></u> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">โดยทั่วกันแบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมย่อมเป็นไปตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ และเป็นไปตามประเพณีตามศาสนานั้นๆ เช่น ประเพณีการบวช ประเพณีการรับสมาชิกเข้าเป็นศาสนิกชนของแต่ละศาสนา ประเพณีการทำบุญในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น กิจกรรมของประเพณีทางศาสนามีความสำคัญในการสร้างความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสมาชิกในสังคม</span><br /><u><span style=\"color: #808000\">สัญลักษณ์และค่านิยม</span></u> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">สัญลักษณ์ของสถาบันศาสนา ย่อมแตกต่างกันไปตามศาสนา ที่สมาชิกยอมรับนับถือ เช่น สัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธรูป ใบเสมา ธรรมจักร เป็นต้น สำหรับค่านิยมของสถาบันศาสนา ย่อมแตกต่างไปตามหลักของศาสนานั้น เช่น พระพุทธศาสนามีค่านิยมและความเชื่อในเรื่องบาปบุญที่แต่ละบุคคลกระทำ เป็นต้น </span></p>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"> </span></p>\n<p><b><u><span style=\"color: #808000\"></span></u></b></p>\n<p><b><u><br />\n<div style=\"text-align: center\"></div>\n<p></p></u></b><b><u></u></b>\n</p><p>&nbsp;</p>\n<p><b><u><span style=\"color: #808000\"></span></u></b></p>\n<p><b><u style=\"text-decoration: none\"><br />\n<div style=\"text-align: center; text-decoration: underline\"><img src=\"/files/u597/132_1.jpg\" style=\"width: 274px; height: 185px\" height=\"348\" width=\"300\" border=\"0\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: normal\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของรูป</span></span> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-weight: normal\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">http://www.fisho.com/blog/snake/image/132_1.jpges/us-dollar-bills.jpg </span></span> </div>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"></span><br />\n<div style=\"text-align: center; text-decoration: underline\"></div>\n</p><p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"text-decoration: underline\"></span></p></u></b><b><u></u></b>\n</p><p>&nbsp;</p>\n<p><b><u><span style=\"color: #808000\">4. สถาบันเศรษฐกิจ</span></u></b><br /><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span>              <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">สถาบันเศรษฐกิจ หมายถึง สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผน การสนองความต้องการเกี่ยวกับความจำเป็นทางวัตถุ เพื่อการดำรงชีวิตเป็นแบบแผนพฤติกรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตการกระจายสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ <br /></span><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #339966\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #339966\"></span></span></span></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">              กลุ่มสังคมในสถาบันเศรษฐกิจ มีเป็นจำนวนมาก เช่น กลุ่มบุคคลในบริษัท ร้านค้า โรงงาน และองค์การทางเศรษฐกิจต่างๆ แต่ละกลุ่มสังคมเหล่านี้ ประกอบไปด้วยตำแหน่งและบทบาทที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับมัน เช่น ผู้จัดการ พนักงาน กรรมกร เกษตรกร พ่อค้า เป็นต้น เพื่อกระทำบทบาทและหน้าที่ตามตำแหน่งดังกล่าว </span><br /><u><span style=\"color: #808000\">หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ</span></u> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">เกิดขึ้นเพื่อทำหน้าที่ดังต่อไปนี้<br />1.ผลิตสินค้าเพื่อสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม ซึ่งประกอบด้วยสินค้าอันเป็นพื้นฐานในการยังชีพ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค บ้านเรือนที่อยู่อาศัยไปจนถึงสินค้าอำนวยความสะดวก ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมากมายในปัจจุบัน<br />2.การกระจายสินค้า ที่ผลิตได้ไปสู่สมาชิกในสังคมอย่างทั่วถึง ได้แก่ กระบวนการนำสินค้าจากแหล่งผลิตไปสู่สมาชิกในสังคม สถาบันเศรษฐกิจ จึงครอบคลุมระบบการตลาด ร้านค้าส่งและร้านค้าปลีก หรือศูนย์การค้า โดยมีระบบคมนาคม ขนส่ง เป็นแกนสำคัญในการกระจายสินค้าเหล่านี้ <br />3.การกระจายสินค้าต่างๆไปสู่สมาชิกในสังคม เช่น ระบบการเงินการธนาคาร การประกันชีวิต การท่องเที่ยว เพื่อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจมีความสะดวกคล่องตัว<br />4.การกำหนดสถานภาพทางสังคม และชนชั้นทางสังคม สถานภาพหรือตำแหน่งทางสังคมจากสถาบันเศรษฐกิจ เป็นสถานภาพซึ่งมีความสำคัญต่อแบบแผนพฤติกรรมทางสมาชิกในสังคมเป็นอย่างมาก เช่น เกษตรกร กรรมกร พ่อค้า นักธุรกิจ ผู้จัดการ เป็นต้น สถานภาพเหล่านี้ กำหนดสิทธ์และหน้าที่ของสมาชิกแตกต่างกันไปทำให้เกิดช่วงชั้นระหว่างสมาชิกในสังคม<br />5.สถาบันทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดหน้าที่สำคัญ คือ การเป็นพื้นฐานอำนาจทางการเมือง เช่น พรรคการเมืองต่างๆ มักจะได้รับการสนับสนุนจากองค์การเศรษฐกิจ ได้แก่ สหพันธ์กรรมกร องค์การธุรกิจ การค้าต่างๆ เป็นต้น</span><br /><u><span style=\"color: #808000\">แบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก</span></u> <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">สถาบันเศรษฐกิจประกอบด้วย แบบแผนพฤติกรรมที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตร่วมกันของสมาชิกในสังคม ได้แก่ แบบแผนในการผลิตสินค้า แบบแผนการจัดระบบการตลาดและการบริการ แบบแผนของการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น อาชีพเกษตรกรรมและอาชีพอุตสาหกรรม ย่อมมีแบบแผนพฤติกรรมในการประกอบอาชีพแตกต่างกันไป</span> <br /><span style=\"color: #808000\"><u>สัญลักษณ์และค่านิยม</u> </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นสัญลักษณ์ขององค์การสังคมต่างๆ ของสถาบันเศรษฐกิจ เช่น เครื่องหมายการค้า สัญลักษณ์ของบริษัท ร้านค้าต่างๆ เป็นต้นสำหรับค่านิยมและความเชื่อ ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันเศรษฐกิจย่อมแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่น ค่านิยมเกี่ยวกับการแบ่งงาน ในการประกอบอาชีพตามความสามารถเฉพาะบุคคล ค่านิยม</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #008000\">เกี่ยวกับการร่วมมือกันในการประกอบอาชีพ เป็นต้น </span></p>\n<p><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">ที่มาของข้อมูล : เอกสารประกอบการเรียนวิชามนุษย์กับสังคม (ส42206) โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย </span> </p>\n', created = 1716129557, expire = 1716215957, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e195087631c1f2efef8b973f162a55e6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างของสังคม

รูปภาพของ sss27198
ที่มาของรูป
http://www.kiriwong.net/spnakhonsawan/18.jpg 

3. สถาบันศาสนา
              สถาบันศาสนา หมายถึง สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกันแบบแผนระบบความเชื่อสังคมและความศรัทธาต่อสิ่งที่เคารพบูชาของสมาชิกในสังคม สถาบันศาสนามีความสำคัญต่อการหล่อหลอมความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสมาชิกในสังคม เนื่องจากสร้างความผูกพันทางจิตใจระหว่างสมาชิกให้ยึดถือเป็นหลักการดำเนินชีวิตร่วมกัน
              กลุ่มสังคมในสถาบันศาสนาที่สำคัญได้แก่ คณะสงฆ์ กลุ่มผู้ปฏิบัติ เป็นต้นโดยมีตำแหน่งต่างๆกัน เช่น สมเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาส ภิกษุ สามเณร ฆราวาส เป็นต้น
หน้าที่ของสถาบันศาสนา เกิดขึ้นโดยมีหน้าที่ ดังนี้
1.สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่สังคม ทำให้เกิดความสามัคคี ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยมีการดำเนินชีวิตตามระบบความเชื่อในทางเดียวกัน
2.สร้างเสริมและถ่ายทอดวัฒนธรรมทางสังคม ศาสนาเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมในสังคมอย่างมากมาย โดยเฉพาะวัฒนธรรมทางคติธรรม และวัฒนธรรมทางวัตถุที่มีคุณค่าแก่สังคม เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุศาสนา เป็นต้น
3.ควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม เนื่องจากศาสนาเป็นระบบความเชื่อของสังคม ดังนั้นสมาชิกที่ละเมิด ฝ่าฝืน แนวความประพฤติที่สังคมยอมรับว่าเป็นสิ่งดีงามก็จะได้รับปฏิกิริยาต่อต้านจากสังคม
4.สนองความต้องการทางจิตใจให้แก่สมาชิก เมื่อสมาชิกเชิญกับปัญหาต่างๆ ในการดำเนินชีวิตก็จะสามารถนำหลักของศาสนามาแก้ไขความเดือดร้อนได้อย่างเหมาะสม

แบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก โดยทั่วกันแบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติของสมาชิกในสังคมย่อมเป็นไปตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ และเป็นไปตามประเพณีตามศาสนานั้นๆ เช่น ประเพณีการบวช ประเพณีการรับสมาชิกเข้าเป็นศาสนิกชนของแต่ละศาสนา ประเพณีการทำบุญในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น กิจกรรมของประเพณีทางศาสนามีความสำคัญในการสร้างความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสมาชิกในสังคม
สัญลักษณ์และค่านิยม สัญลักษณ์ของสถาบันศาสนา ย่อมแตกต่างกันไปตามศาสนา ที่สมาชิกยอมรับนับถือ เช่น สัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ได้แก่ พระพุทธรูป ใบเสมา ธรรมจักร เป็นต้น สำหรับค่านิยมของสถาบันศาสนา ย่อมแตกต่างไปตามหลักของศาสนานั้น เช่น พระพุทธศาสนามีค่านิยมและความเชื่อในเรื่องบาปบุญที่แต่ละบุคคลกระทำ เป็นต้น

 


 


ที่มาของรูป
http://www.fisho.com/blog/snake/image/132_1.jpges/us-dollar-bills.jpg 


 

4. สถาบันเศรษฐกิจ
              สถาบันเศรษฐกิจ หมายถึง สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผน การสนองความต้องการเกี่ยวกับความจำเป็นทางวัตถุ เพื่อการดำรงชีวิตเป็นแบบแผนพฤติกรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการผลิตการกระจายสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์
              กลุ่มสังคมในสถาบันเศรษฐกิจ มีเป็นจำนวนมาก เช่น กลุ่มบุคคลในบริษัท ร้านค้า โรงงาน และองค์การทางเศรษฐกิจต่างๆ แต่ละกลุ่มสังคมเหล่านี้ ประกอบไปด้วยตำแหน่งและบทบาทที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับมัน เช่น ผู้จัดการ พนักงาน กรรมกร เกษตรกร พ่อค้า เป็นต้น เพื่อกระทำบทบาทและหน้าที่ตามตำแหน่งดังกล่าว
หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ เกิดขึ้นเพื่อทำหน้าที่ดังต่อไปนี้
1.ผลิตสินค้าเพื่อสนองความต้องการของสมาชิกในสังคม ซึ่งประกอบด้วยสินค้าอันเป็นพื้นฐานในการยังชีพ เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค บ้านเรือนที่อยู่อาศัยไปจนถึงสินค้าอำนวยความสะดวก ซึ่งเกิดขึ้นอย่างมากมายในปัจจุบัน
2.การกระจายสินค้า ที่ผลิตได้ไปสู่สมาชิกในสังคมอย่างทั่วถึง ได้แก่ กระบวนการนำสินค้าจากแหล่งผลิตไปสู่สมาชิกในสังคม สถาบันเศรษฐกิจ จึงครอบคลุมระบบการตลาด ร้านค้าส่งและร้านค้าปลีก หรือศูนย์การค้า โดยมีระบบคมนาคม ขนส่ง เป็นแกนสำคัญในการกระจายสินค้าเหล่านี้
3.การกระจายสินค้าต่างๆไปสู่สมาชิกในสังคม เช่น ระบบการเงินการธนาคาร การประกันชีวิต การท่องเที่ยว เพื่อให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจมีความสะดวกคล่องตัว
4.การกำหนดสถานภาพทางสังคม และชนชั้นทางสังคม สถานภาพหรือตำแหน่งทางสังคมจากสถาบันเศรษฐกิจ เป็นสถานภาพซึ่งมีความสำคัญต่อแบบแผนพฤติกรรมทางสมาชิกในสังคมเป็นอย่างมาก เช่น เกษตรกร กรรมกร พ่อค้า นักธุรกิจ ผู้จัดการ เป็นต้น สถานภาพเหล่านี้ กำหนดสิทธ์และหน้าที่ของสมาชิกแตกต่างกันไปทำให้เกิดช่วงชั้นระหว่างสมาชิกในสังคม
5.สถาบันทางเศรษฐกิจก่อให้เกิดหน้าที่สำคัญ คือ การเป็นพื้นฐานอำนาจทางการเมือง เช่น พรรคการเมืองต่างๆ มักจะได้รับการสนับสนุนจากองค์การเศรษฐกิจ ได้แก่ สหพันธ์กรรมกร องค์การธุรกิจ การค้าต่างๆ เป็นต้น

แบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก สถาบันเศรษฐกิจประกอบด้วย แบบแผนพฤติกรรมที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตร่วมกันของสมาชิกในสังคม ได้แก่ แบบแผนในการผลิตสินค้า แบบแผนการจัดระบบการตลาดและการบริการ แบบแผนของการประกอบอาชีพต่างๆ เช่น อาชีพเกษตรกรรมและอาชีพอุตสาหกรรม ย่อมมีแบบแผนพฤติกรรมในการประกอบอาชีพแตกต่างกันไป
สัญลักษณ์และค่านิยม สัญลักษณ์ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันเศรษฐกิจส่วนใหญ่เป็นสัญลักษณ์ขององค์การสังคมต่างๆ ของสถาบันเศรษฐกิจ เช่น เครื่องหมายการค้า สัญลักษณ์ของบริษัท ร้านค้าต่างๆ เป็นต้นสำหรับค่านิยมและความเชื่อ ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันเศรษฐกิจย่อมแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่น ค่านิยมเกี่ยวกับการแบ่งงาน ในการประกอบอาชีพตามความสามารถเฉพาะบุคคล ค่านิยมเกี่ยวกับการร่วมมือกันในการประกอบอาชีพ เป็นต้น

ที่มาของข้อมูล : เอกสารประกอบการเรียนวิชามนุษย์กับสังคม (ส42206) โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 

??

Surprised

ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆค่ะ ต้องเอาไปทำรายงานพอดี

รูปภาพของ sss27375

จะวิชาการไปไหนเนี่ย

วัยรุ่นเซงเลย...55+

เเต่ว่าเนื้อหาดีนะ

สู้ๆๆ

รูปภาพของ ssspoonsak

เยี่ยมไปเลย

อย่าลืมส่งประกวด
แต่ต้องสร้างให้มากกว่า 20 node พร้อมลิ้งค์ด้วย

-----------------------------------------------------------------------------------------
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 315 คน กำลังออนไลน์