• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0df02949703626f78bcb751fa7d4bd2d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อผลงาน</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พลังงานแสง&nbsp; ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วัฒจรีย์&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตันติวิวัฒน์</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ&nbsp; &nbsp;</p>\n<div>\n<p><strong>ปีการศึกษา</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2557</p>\n<p>&nbsp;</p>\n</div>\n<p align=\"center\">&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;&nbsp;&nbsp;เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา&nbsp; (Research &amp; Development) &nbsp;โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย &nbsp;1) เพื่อศึกษาข้อมูลความจำเป็นในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp; ที่ทำขึ้น ตามเกณฑ์ 80/80&nbsp; 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้เรื่องพืช&nbsp; กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;4) เปรียบเทียบความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS&nbsp; และ5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS เรื่องพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา ผู้วิจัยได้ทำการวิจัยทดลอง 4 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 – 3 เป็นขั้นตอนการทดลองใช้และหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งที่ 1 – 3 คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ ในปีการศึกษา 2557&nbsp; และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งที่ 4 คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2&nbsp; ประจำปีการศึกษา 2557 &nbsp;จำนวน 44 คน โดยขั้นนี้เป็นการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;ที่ได้รับการพัฒนาจนมีประสิทธิภาพแล้วไปใช้จริงกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์&nbsp; เพื่อนำผลการทดลองมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังการเรียน&nbsp; ของนักเรียน หลังการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;ซึ่งใช้ระยะเวลาทดลองสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;&nbsp;รวม 20 ชั่วโมง&nbsp; เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่&nbsp; รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;&nbsp;เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา &nbsp;และแบบสอบถามความ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;พึงพอใจของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบ&nbsp; ไม่อิสระจากกัน (t – test Dependent) ค่าเฉลี่ย&nbsp; ()และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard&nbsp; Deviation) ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<ol>\n<li>รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;มีประสิทธิภาพ 87.36/86.93 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 และมีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.8148แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.8148 หรือคิดเป็นร้อยละ 81.48</li>\n<li>ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์&nbsp; ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 &nbsp;ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;จากการทดลองครั้งที่ 1 – 4&nbsp; แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2</li>\n<li>ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 &nbsp;ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;มีความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์&nbsp; หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 3</li>\n<li>ทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากการเรียนโดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;โดยรวม ความสามารถอยู่ในระดับพอใช้ และเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่านักเรียนมีความสามารถในการระบุปัญหาอยู่ในระดับดี &nbsp;ส่วนความสามารถในการอธิบายสาเหตุของปัญหา การระบุวิธีการแก้ปัญหา และการระบุผลที่ได้จากการแก้ปัญหาอยู่ในระดับพอใช้</li>\n<li>ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS &nbsp;โดยรวม อยู่ระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รองลงมา คือ รูปแบบการสอนมีความเหมาะสมในการนำมาใช้พัฒนาความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่ตนเองสนใจอย่างลุ่มลึกโดยการปฏิบัติจริง ตามลำดับ</li>\n</ol>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1719388992, expire = 1719475392, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0df02949703626f78bcb751fa7d4bd2d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถม

ชื่อผลงาน       การพัฒนารูปแบบการสอน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง พลังงานแสง  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ผู้วิจัย            วัฒจรีย์    ตันติวิวัฒน์

                   ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ   

ปีการศึกษา               2557

 

 

บทคัดย่อ

 

              การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS    เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และทักษะการแก้ปัญหา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา  (Research & Development)  โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย  1) เพื่อศึกษาข้อมูลความจำเป็นในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ที่ทำขึ้น ตามเกณฑ์ 80/80  3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้เรื่องพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  4) เปรียบเทียบความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  และ5) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS เรื่องพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4     ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา ผู้วิจัยได้ทำการวิจัยทดลอง 4 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 – 3 เป็นขั้นตอนการทดลองใช้และหาประสิทธิภาพรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งที่ 1 – 3 คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ ในปีการศึกษา 2557  และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งที่ 4 คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2  ประจำปีการศึกษา 2557  จำนวน 44 คน โดยขั้นนี้เป็นการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  ที่ได้รับการพัฒนาจนมีประสิทธิภาพแล้วไปใช้จริงกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์  เพื่อนำผลการทดลองมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังการเรียน  ของนักเรียน หลังการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  ซึ่งใช้ระยะเวลาทดลองสอนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS   รวม 20 ชั่วโมง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่  รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS   เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แบบทดสอบวัดทักษะการแก้ปัญหา  และแบบสอบถามความ       พึงพอใจของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบ  ไม่อิสระจากกัน (t – test Dependent) ค่าเฉลี่ย  ()และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard  Deviation) ผลการวิจัยพบว่า

  1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  มีประสิทธิภาพ 87.36/86.93 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 และมีค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.8148แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น 0.8148 หรือคิดเป็นร้อยละ 81.48
  2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  จากการทดลองครั้งที่ 1 – 4  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2
  3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  มีความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 3
  4. ทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังจากการเรียนโดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  โดยรวม ความสามารถอยู่ในระดับพอใช้ และเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่านักเรียนมีความสามารถในการระบุปัญหาอยู่ในระดับดี  ส่วนความสามารถในการอธิบายสาเหตุของปัญหา การระบุวิธีการแก้ปัญหา และการระบุผลที่ได้จากการแก้ปัญหาอยู่ในระดับพอใช้
  5. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 STEPS  โดยรวม อยู่ระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รองลงมา คือ รูปแบบการสอนมีความเหมาะสมในการนำมาใช้พัฒนาความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ ส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้เนื้อหาที่ตนเองสนใจอย่างลุ่มลึกโดยการปฏิบัติจริง ตามลำดับ

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 512 คน กำลังออนไลน์