• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:00372eb5069799f07ce72e43f3bd64eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p></p><P>ชื่อเรื่องวิจัย&nbsp; &nbsp;รายงานการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม</p><br />\n<P>ผู้วิจัย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;พัชรวัฒน์&nbsp; พรหมอนุมัติ</p><br />\n<P>ปีที่ทำวิจัย&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;2556</p><br />\n<P align=center><STRONG>บทคัดย่อ</strong></p><br />\n<P align=center>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน) <STRONG>&nbsp;</strong>2) ศึกษาผลของการดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน)&nbsp; 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน)&nbsp; ต่อการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม &nbsp;&nbsp;ประชากร คือ นักเรียนในปีการศึกษา 2556 จำนวน 277&nbsp; คน&nbsp; ผู้ปกครอง 243 คน คณะกรรมการสถานศึกษา&nbsp; 15&nbsp; คน&nbsp; บุคลากรโรงเรียน&nbsp; 25&nbsp; คน รวมทั้งสิ้น 560&nbsp; คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ให้ข้อมูลมี 347 คน เป็นผู้ปกครอง 149 คน นักเรียน 161&nbsp; คน&nbsp; กรรมการสถานศึกษา&nbsp; 12 คน&nbsp; บุคลากรโรงเรียน&nbsp; 25&nbsp; คน &nbsp;เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย มีผู้ปกครอง 24 คน คัดเลือกแบบเจาะจงจากตัวแทนเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนประจำห้องเรียน 12 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 2 คน กรรมการสถานศึกษา 12 คน&nbsp; คัดเลือกแบบเจาะจงจากกรรมการสถานศึกษาที่ไม่ใช่บุคลากรโรงเรียน และบุคลากรโรงเรียน 25 คน รวมทั้งสิ้น 61 คน &nbsp;2) เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลมี 11 ฉบับ ประกอบด้วย (1) แบบสัมภาษณ์ 7 ฉบับ&nbsp; (2) แบบสอบถาม&nbsp; 2 ฉบับ&nbsp; (3) แบบบันทึก 1 ฉบับ&nbsp;&nbsp; และ (4) แบบสังเกต 1 ฉบับ&nbsp; ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามแต่ละข้อกับวัตถุประสงค์ หรือ เนื้อหา (Index&nbsp; of Item Objective Congruence หรือ IOC) อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ คือ มากกว่า 0.5 ขึ้นไป&nbsp; และตรวจสอบหาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของครอนบาค (Cronbach) หรือหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coefficient) ได้ค่าอัลฟ่าทั้งฉบับอยู่ระหว่าง 0.807 - 0.954&nbsp; &nbsp;เมื่อเก็บข้อมูลมาแล้วได้ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล โดยวิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า(Triangulation Technique) สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าร้อยละ&nbsp; ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน &nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>&nbsp;</p><br />\n<P>ผลการวิจัยพบว่า</p><br />\n<P>1) รูปแบบการวิจัย ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) ประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผน (Planning)&nbsp; การปฏิบัติ (Action)&nbsp; การสังเกตตรวจสอบ (Observation ) และการสะท้อนผล (Reflection) จำนวน 2 วงรอบ&nbsp; โดย การพัฒนาในวงจรรอบที่ 1 เมื่อดำเนินการปฎิบัติครบทุกกิจกรรมแล้ว พบว่ากลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจแต่ยังมีปัญหาที่จะต้องพัฒนาเพิ่มเติม &nbsp;คือ&nbsp; (1) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน</p><br />\n<P>เป็นสำคัญ &nbsp;&nbsp;(2) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน&nbsp; &nbsp;(3) อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในชั้นเรียน (4) อบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลประเมินผลที่เน้นเรียนเป็นสำคัญ (5) ประชุมปฏิบัติการนิเทศสนับสนุนการเรียนการสอน&nbsp; ซึ่งก็ได้นำผลสะท้อนการปฏิบัติดังกล่าวไปสู่การพัฒนาในวงรอบที่ 2&nbsp;&nbsp; โดยเมื่อพัฒนาเสร็จแล้วพบว่า การดำเนินงานปฏิรูปการเรียนรู้ทุกด้านบรรลุตามเป้าหมายของกิจกรรม</p><br />\n<P>2) ผลการดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม&nbsp; อยู่ในระดับมาก โดยมีผลการดำเนินงานรายด้าน ดังนี้ (1) ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (2) ด้านสื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้&nbsp; มีการพัฒนาการใช้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ของโรงเรียน อยู่ในระดับมาก &nbsp;(3) ด้านการประเมินผลการเรียนรู้&nbsp;</p><br />\n<P>ผลปรากฏว่าครูทำการประเมินผลตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (4) ด้านการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับความต้องการของสังคมและท้องถิ่น สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด &nbsp;(5) ด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา&nbsp; โรงเรียนได้สร้างความสัมพันธ์กับชุมชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (6) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้&nbsp; มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในโรงเรียนอยู่ในระดับมาก &nbsp;(7) ด้านการพัฒนาบุคลากร&nbsp; มีการพัฒนาครูผู้สอนอย่างหลากหลายและต่อเนื่อง อยู่ในระดับมากที่สุด</p><br />\n<P>3) ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน&nbsp; พบว่า มีความ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; พึงพอใจต่อการปฏิรูปการศึกษาของโรงเรียน ในด้านการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542&nbsp;&nbsp; รวม 7 ด้าน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก</p>\n', created = 1719812351, expire = 1719898751, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:00372eb5069799f07ce72e43f3bd64eb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงานการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542

ชื่อเรื่องวิจัย   รายงานการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542


                     โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม


ผู้วิจัย             พัชรวัฒน์  พรหมอนุมัติ


ปีที่ทำวิจัย      2556


บทคัดย่อ


 


            การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน)  2) ศึกษาผลของการดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน)  3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกับการจัดการศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดควนขัน)  ต่อการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม   ประชากร คือ นักเรียนในปีการศึกษา 2556 จำนวน 277  คน  ผู้ปกครอง 243 คน คณะกรรมการสถานศึกษา  15  คน  บุคลากรโรงเรียน  25  คน รวมทั้งสิ้น 560  คน กลุ่มตัวอย่าง ผู้ให้ข้อมูลมี 347 คน เป็นผู้ปกครอง 149 คน นักเรียน 161  คน  กรรมการสถานศึกษา  12 คน  บุคลากรโรงเรียน  25  คน  เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) กลุ่มผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย มีผู้ปกครอง 24 คน คัดเลือกแบบเจาะจงจากตัวแทนเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนประจำห้องเรียน 12 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 2 คน กรรมการสถานศึกษา 12 คน  คัดเลือกแบบเจาะจงจากกรรมการสถานศึกษาที่ไม่ใช่บุคลากรโรงเรียน และบุคลากรโรงเรียน 25 คน รวมทั้งสิ้น 61 คน  2) เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลมี 11 ฉบับ ประกอบด้วย (1) แบบสัมภาษณ์ 7 ฉบับ  (2) แบบสอบถาม  2 ฉบับ  (3) แบบบันทึก 1 ฉบับ   และ (4) แบบสังเกต 1 ฉบับ  ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยหาค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามแต่ละข้อกับวัตถุประสงค์ หรือ เนื้อหา (Index  of Item Objective Congruence หรือ IOC) อยู่ในเกณฑ์ที่ใช้ได้ คือ มากกว่า 0.5 ขึ้นไป  และตรวจสอบหาค่าความเชื่อมั่นด้วยวิธีการของครอนบาค (Cronbach) หรือหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coefficient) ได้ค่าอัลฟ่าทั้งฉบับอยู่ระหว่าง 0.807 - 0.954   เมื่อเก็บข้อมูลมาแล้วได้ตรวจสอบคุณภาพข้อมูล โดยวิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า(Triangulation Technique) สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  


 


 


ผลการวิจัยพบว่า


1) รูปแบบการวิจัย ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR) ประกอบด้วยขั้นตอนการวางแผน (Planning)  การปฏิบัติ (Action)  การสังเกตตรวจสอบ (Observation ) และการสะท้อนผล (Reflection) จำนวน 2 วงรอบ  โดย การพัฒนาในวงจรรอบที่ 1 เมื่อดำเนินการปฎิบัติครบทุกกิจกรรมแล้ว พบว่ากลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจแต่ยังมีปัญหาที่จะต้องพัฒนาเพิ่มเติม  คือ  (1) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน


เป็นสำคัญ   (2) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน   (3) อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในชั้นเรียน (4) อบรมเชิงปฏิบัติการการวัดผลประเมินผลที่เน้นเรียนเป็นสำคัญ (5) ประชุมปฏิบัติการนิเทศสนับสนุนการเรียนการสอน  ซึ่งก็ได้นำผลสะท้อนการปฏิบัติดังกล่าวไปสู่การพัฒนาในวงรอบที่ 2   โดยเมื่อพัฒนาเสร็จแล้วพบว่า การดำเนินงานปฏิรูปการเรียนรู้ทุกด้านบรรลุตามเป้าหมายของกิจกรรม


2) ผลการดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยใช้เทคนิคกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม  อยู่ในระดับมาก โดยมีผลการดำเนินงานรายด้าน ดังนี้ (1) ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (2) ด้านสื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้  มีการพัฒนาการใช้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้ของโรงเรียน อยู่ในระดับมาก  (3) ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ 


ผลปรากฏว่าครูทำการประเมินผลตามแนวปฏิรูปการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก (4) ด้านการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้เหมาะสมกับความต้องการของสังคมและท้องถิ่น สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด  (5) ด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา  โรงเรียนได้สร้างความสัมพันธ์กับชุมชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (6) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้  มีการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในโรงเรียนอยู่ในระดับมาก  (7) ด้านการพัฒนาบุคลากร  มีการพัฒนาครูผู้สอนอย่างหลากหลายและต่อเนื่อง อยู่ในระดับมากที่สุด


3) ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน  พบว่า มีความ       พึงพอใจต่อการปฏิรูปการศึกษาของโรงเรียน ในด้านการปฏิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542   รวม 7 ด้าน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 790 คน กำลังออนไลน์