• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6854a93499944b12ae58aed79d7bc2ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เริ่มหน้า 7 </p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">บทที่ 7<br />\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">7.1ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์<br />\nธรรมชาติของมนุษย์จำเป็นต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทำงานสร้างสรรสังคมเพื่อให้ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทำงาน ตลอดจนสังคมและการเมือง ทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน<br />\nเมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน พัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบรวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรียบเสมือนเป็นสถานีปลายทางที่เรียกใช้ทรัพยากรการคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อการทำงานนั้น<br />\nต่อมาเมื่อมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคลจนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี (Personal Computer : PC) ก็ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลายอย่างรวดเร็ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อมีการใช้งานกันมาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิธีการหนึ่ง และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทำให้ตอบสนองตรงตามความต้องการที่จะต้องติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน<br />\nเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ได้แก่ เมนแฟรม มินิคอมพิวเตอร์มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทำงานได้มากขึ้น จนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ นำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการหรือที่เรียกว่า เครื่องให้บริการ (Server) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตามหน่วยงานต่าง ๆ เป็นเครื่องใช้บริการ (Client) โดยมีเครือข่าย (network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จากจุดต่าง ๆ ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมเป็นแบบรวมศูนย์ได้<br />\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสำคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกำลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูง เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นสถานีบริการที่ทำให้การใช้งานข้อมูลรวมกันได้ เมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้คอมพิวเตอร์โดยเพิ่มจำนวนเครื่อง หรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับ<br />\nในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทำๆได้ดีเหมือนเช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจำนวนมาก เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้<br />\n1. ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถทำงานพร้อมกัน<br />\n2. ให้สามารถใช้ข้อมูลต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น<br />\n3. ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช่เคื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ที่มีราคแพงร่วมกัน<br />\n4.ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">7.2 ชนิดของเครือข่าย<br />\nเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื่อโยงได้เป็น 2 ชนิดคือ เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) และเครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAn)<br />\n7.2.1เครือข่ายแลน หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่นบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์กรที่มีระยะทางไมาไกลมากนัก เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลนมีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนถึงเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ<br />\nลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน คือ อุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถส่งรับสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่สามสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูงทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้<br />\nเครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญในการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ และมีแนวโน้มที่จะทำให้ทรัพยากรการประมวลผลในองค์การเชื่อมโยงเป็นระบบเดียวทำให้ใช้งานร่วมกันได้ทั้งองค์การ<br />\n7.2.2เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องพึ่งพาระบบบริการข่ายสาธารณะ เช่น ใช้สายวงจรเช่าจากโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาแห่งไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาทั่วประเทศ มีบริการรับฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม<br />\nเครือข่ายแวนเชื่อมระยะทางไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากจะมีรสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อมผิดพลาดของการรับส่งข้อมูล<br />\nเครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลาย ๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่งของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้น ๆ และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลขของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวกันด้วยเครือข่ายแวน<br />\nในอนาคตอันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัท ทุกองค์การ ทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และการทำงานร่วมกันในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน<br />\nเทคโนโลยีที่ใช้ในเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนำแสง คลื่อนไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิลทั้งที่วางไปตามถนนและวางใต้น้ำ เทคโนโลยีของการเชื่อมโยงได้รับการพัฒนาไปมาก แต่ก็ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">7.3 เทคโนโลยีเครือข่ายแลน<br />\nการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมด หากนำเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองนั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ ครั้นจะนำเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อร่วมด้วย เริ่มจะมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น และถ้ายิ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเอตร์เป็นจำนวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารถึงกันได้<br />\nด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีากรและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบต่าง ๆ เพื่อลดข้อยุ่งยากในเรื่องการเชื่อมโยงสายสัญญาณ โดยใช้จำนวนสายสัญญาณน้อยและเหมาะกับการนำไปใช้งานได้ ทั้งนี้เพราะข้อจำกัดของการใช้สายสัญญาณเป็นเรื่องสำคัญมาก<br />\nบริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธีและใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลนออกมาหลายระบบ ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งเป็นมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น อีเทอร์เน็ต (ethernet) โทเก็นริง (Token ring) และสวิตชิง (Switching)<br />\n7.3.1 อีเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส (bus) คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต่อเชื่อมเข้ากับสายสัญญาณเช่นเดียวกัน การสื่อสารข้อมูลสามารถสื่อสารจากเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องใดก็ได้โดยสื่อสารผ่านบัสนี้<br />\nการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่ซ้ำกัน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ A ต้องการส่งสัญญษณข้อมูลให้เครื่องคอมพิวเตอร์ D ก็จะส่งข้อมูลหนึ่งชุดแล้วหยุด หลังจากนั้นเครื่งอื่นจะทำการรับส่งบ้างก็ได้ แต่หากมีสัญญาณข้อมูลที่ส่งมาพร้อมกันมากกว่าหนึ่งสถานี ข้อมูลชุดทีส่งช้ากว่าจะได้รับการยกเลิกและจะต้องหาเวลาส่งกันใหม่<br />\nการเชื่อมต่อแบบอีเทอร์เน็ตในยุคเริ่มแรกใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วมที่เรียกว่าสายโคแอกเชียล (coaxial cable) เป็นสายสัญญาณที่รับส่งข้อมูลได้ดี ต่อมามีผู้พัฒนาระบบรับส่งสัญญาณผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่าฮับ (hub) และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กและราคาถูกเรียกว่า สายคู้บิตเกลียวชนิดไม่หุ่มฉนวน (unshielded twisted pair : UTP) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบนี้จึงมีลักษณะเป็นแบบดาว<br />\nภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮับและบัสจึงมีระบบการส่งข้อมูลแบบเดียวกัน และมีการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน กำหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็วของการรับส่งสัญญาณตามมาตรฐานนี้กำหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อวินาที และกำลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที<br />\n7.3.2 โทเก็นริง เป็นเครือข่ายคอมพิมเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในรูปแบบการเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณ และอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านไปในเส้นทางวงแหวนนั้น<br />\nเครือข่ายโทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูลจะไม่ชนกันพคราะมีการรับส่งที่แน่นอน ข้อมูลที่รับส่งจะมีลักษณะเป็นชุด ๆ แต่ละชุดมีการกำหนดตำแหน่งที่แน่นอนว่ามาจากสถานีใด จะไปส่งยังสถานีปลายทางที่ใด ดังนั้นถ้าสถานีใดพบข้อมูลที่มีการระบุตำแหน่งปลายทางมาเป็นของตัวเอง ก็สามารถคัดลอกข้อมูลนั้นเข้าไปได้ และตอบรับการได้รับข้อมูลนั้นแล้ว<br />\n7.3.3 สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้รับส่งข้อมูลระหว่างสถานีได้เร็วยิ่งขึ้น การคัดเลือกชึดข้อมูลที่ส่งมาและส่งกลับไปยังสถานีปลายทางจะกรทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า สวิตชิง ดังนั้นรูปแบบของเครือข่ายจึงมีรูปโครงแบบดาว<br />\nอีเทอร์เน็ตสวิตช์เป็นการสลับสายสัญญาณในเครือข่าย โดยรูปแบบสัญญาณเป็นแบบอีเทอร์เน็ต การสวิตซ์ชิงนี้แตกต่างจากแบบฮับ เพราะแบบฮับมีโครงสร้างเหมือนเป็นจุดร่วมของสายสัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตซ์ชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น อีเทอร์เน็ตสวิตช์จึงมีข้อดีกว่าฮับ เพราะแต่ละสายสัญญาณมีความเป็นอิสระต่อกันมาก ทำให้การรับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล อีเทอร์เน็ตสวิตช์ยังใช้มาตรฐานความเร็วเหมือนกับอีเทอร์เน็ตธรรมดา คือความเร็วในการรับส่งสัญญาณตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที<br />\nเอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า เซล มีขนาดจำกัด การสวิตซ์ชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว<br />\nการที่เอทีเอ็มสวิตช์มีความเร็วในการสลับสัญญาณสูง จึงเป็นเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความสนใจ และมีแนวโน้มจะได้รับความน้ยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่างต้องการความเร็วสูง เช่นการเชื่อมโยงสื่อสารแบบหลายสื่อทีรวมทั้ง ข้อความ รูปภาพ เสียงและวีดีโอ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">7.4 การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ <br />\nเครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่ากลุ่มงาน (Workgroup) แต่มีการเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์การและถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์การผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น<br />\nการประยุกต์บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปได้อย่างกว้างขวาง และใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และสื่องสารข้อมูลกันได้<br />\nตัวอย่างของการใช้งานเครือข่ายมีดังนี้<br />\n7.4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน บนเครือข่ายมีสถานีที่เป็นเครื่องให้บริการ ซึ่งเป็นที่เก็บข้อมูลข่าวสารหรือข้อมูลใช้งาน และให้ผู้ใช้ซึ่งเป็นเครื่องรับขอใช้บริการเรียกใช้ข้อมูล การเรัยกใช้ฐานข้อมูลร่วมกันทำให้การปรับปรุงข้อมูล การขอดู และการเรียกค้นกระทำได้ทันที เช่น เมื่อฝ่ายขายขายสินค้า ก็มีการลดสินค้าออกจากบัญชีสินค้าคงคลัง เมื่อฝ่ายผลิตขอดูข้อมูลก้ได้ทราบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้ทันทีว่ามีสินค้าเหลือเท่าไร นอกจากการใช้งานในเรื่องการใช้ฐานข้อมูลร่วมกันแล้ว ยังทำให้มีการใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์<br />\n7.4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานหรือเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สามารถส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้<br />\n7.4.3 สำนักงานอัตโนมัติ แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่คือลดการใช้กระดาษโดยหันมาใช้ระบบการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด ปัจจุบันสำนักงานส่วนใหญ่ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำพิมพ์เอกสาร ดังนั้นถ้ามีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์การ การสื่อสารส่งงานระหว่างกันที่เป็นกระดาษก็สามารถใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์แทนได้ ระบบสำนักงานอัตโนมัติจึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือนโต๊ะทำงาน การทำงานแบบสำนักงานอัตโนมัติทำให้เกิดความคล่องตัวและรวดเร็ว<br />\nการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยังมีอีกมาก มีการประยุกต์ใช้กันหลายอย่างตั้งแต่การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน การทำงานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมาย การส่งงาน แม้แต่ในสถานการศึกษาก็ใช้เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งความรู้ให้เรียกค้นข้อมูล เป็นต้น </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">7.5 ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์<br />\nเมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้ามากขึ้น โดยเฉพาะมีการประยุกต์เครือข่ายกันอย่างกว้างขวาง จนสามารถทำเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกันเรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในแต่ละองค์การก็ได้พัฒนาเครือข่ายของตนเองและการประยุกต์ใช้งานเฉพาะในองค์การเราเรียกเครือข่ายที่ประยุกต์ใช้เฉพาะขององค์การว่า อินทราเน็ต อินทราเน็ตจึงแตกต่างจากอินเตอร์เน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง แต่มาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายยังคงใช้มาตรฐานเดียวกัน<br />\n7.5.1 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีพัฒนาการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐอเมริกา เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัยร่วมกัน งานวิจัยเกี่ยวกับดารเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต และมีการเปลี่ยนชื่อมาใช้อินเทอร์เน็ตในภายหลัง<br />\nเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือได้ว่ามีพัฒนาการตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 และมีรการขยายตัวการใช้งานอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาทุกแห่งเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายนี้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน มาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) หลังจากนั้นต่อมามีผู้เห็นความสำคัญมากขึ้น จึงได้เชื่อมเครือข่ายออกมายังองค์การเอกชน และแพร่ขยายออกนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนในที่สุดมีการกระจายการเชื่อมโยงไปทั่วโลก<br />\nสำหรับในประเทศไทยเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วเช่นกัน ปัจจุบันมีหน่วยงานระดับองค์การกว่าสองร้อยองค์การเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตนี้ และกำลังขยายตัวเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เชื่อแนว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้าอินเทอร์เน็ตนี้จะเชื่อมต่อกระจายไปถึงโรงเรียนทุกแห่ง<br />\nเครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หมายความว่าในองค์การได้สร้างเครือข่ายภายในองค์การของตนเอง และเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสากลอินเทอร์เน็ตนี้ ปกติมีการกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ในกรณีของอินเทอร์เน็ตมีการกำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือว่าเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นให้เป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครือจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันได้ 158.108.2.71<br />\nเพื่อให้จดจำได้ง่ายขึ้นจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เรียกชื่อนี้ว่าโดเมน เช่น โดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ก็ใช้ชื่อว่า Ku.ac.th โดยที่ th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ Ku หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และหากมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่องก็ให้ตั้งชื่อเครื่อง เช่น nontri และเมื่อรวมกันเรียกชื่อเป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานได้ง่ายกว่าตัวเลข สามารถจดจำและอ้างอิงได้ทั่วโลก สำหรับอพีแอดเดรสของสถาบันการส่งเสริมการสอนวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี คือ 203.154.2.2 ใช้ชื่อว่า ipst.ac.th<br />\nเมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงติดต่อถึงกันได้หมด และเป็นเครือข่ายของโลก ดังนั้นจึงมีผู้ใช้งานบนเครือข่ายอย่างมากมาย การใช้งานเหล่านี้เป็นสิ่งที่กำลังได้รับการกล่าวถึงกันทั่วไป เพราะการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทำให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างทีแพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น ยังมีการประยุกต์งานอื่นที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาใหม่ตลอดเวลา<br />\n1) การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าต้องการส่งข้อมูลถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่าแอดเดรส ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว ลักาณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้และชื่อเครื่องประกอบกัน เช่น </span></span><a href=\"mailto:sombat@nontri.ku.ac.th\"><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\">sombat@nontri.ku.ac.th</span></span></a><span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"> การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ ระบบจะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนำส่งไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างพร่หลาย<br />\n2) การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมู,ระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการเก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ และให้บริการผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดลอกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้<br />\n3) การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทำให้เราสามารถเรียกเขาหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสภานีบริการในที่ห่างไกลได้ ในที่ห่างไกลได้ ถ้าสถานีบริการนั้นยินยอมให้เราใช้ ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง<br />\n4) การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถเรียกอ่าน หรือนำมาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่ายที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูลในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก (World Wide Web : www)<br />\n5) การอ่านจากกลุ่มข่าง ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่างอนุญาติให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว<br />\n6) การสนทนาบนเครือข่าย เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก ผู้ใช้จะสามารถใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนากันแบบตัวหนังสือ เพื่อโต้ตอบกันแบบทันทีทันใดบนจอภาพ ต่อมามีผู้พัฒนาให้ใช้เสียงได้ จนถึงปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารข้อมูลมีความเร็วพอ ก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันบนจอภาพได้<br />\n7) การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย เป็นการประยุกต์เพื่อให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ปัจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานีที่ต้องการและได้ยินเหมือนการเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดีโอบนเครือข่ายด้วย แต่ปัญหายังอยู่ที่ความเร็วของเครือข่ายที่ยังไม่สามารถรองรับการส่งข้อมูลจำนวนมาก ทำให้คุรภาพของภาพวีดีโอยังไม่ดีเท่าที่ควร<br />\n7.5.2 อินทราเน็ต เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลายจึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์การ โดยนำวิธีการประยุกต์ที่มีให้ใช้ในอินเทอรืเน็ตมาใช้ในเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต <br />\nการประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินทราเน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การใช้งานมากนัก เครือข่ายอินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเป้าหมายของทุกองค์การที่พร้อมจะพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: x-small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span>\n</p>\n<p>หมดหน้า 7 </p>\n', created = 1715466525, expire = 1715552925, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6854a93499944b12ae58aed79d7bc2ad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คอมพิวเตอร์สารสนเทศ

เริ่มหน้า 7


บทที่ 7
เครือข่ายคอมพิวเตอร์

7.1ความสำคัญของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ธรรมชาติของมนุษย์จำเป็นต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ร่วมกันทำงานสร้างสรรสังคมเพื่อให้ความเป็นอยู่โดยรวมดีขึ้น จากการดำเนินชีวิตร่วมกันทั้งในด้านครอบครัว การทำงาน ตลอดจนสังคมและการเมือง ทำให้ต้องมีการพบปะแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
เมื่อมนุษย์มีความจำเป็นที่จะติดต่อสื่อสารระหว่างกัน พัฒนาการทางด้านคอมพิวเตอร์จึงต้องตอบสนองเพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ แรกเริ่มมีการพัฒนาคอมพิวเตอร์แบบรวมศูนย์ เช่น มินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม โดยให้ผู้ใช้งานใช้พร้อมกันได้หลายคน แต่ละคนเปรียบเสมือนเป็นสถานีปลายทางที่เรียกใช้ทรัพยากรการคำนวณจากศูนย์คอมพิวเตอร์และให้คอมพิวเตอร์ตอบสนองต่อการทำงานนั้น
ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์ที่ทำให้สะดวกต่อการใช้งานส่วนบุคคลจนมีการเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ว่า พีซี (Personal Computer : PC) ก็ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์แพร่หลายอย่างรวดเร็ว เพราะใช้งานง่าย ราคาไม่สูงมาก สามารถจัดหามาใช้ได้ไม่ยาก เมื่อมีการใช้งานกันมาก บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ต่างๆก็ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีให้ตอบสนองความต้องการที่จะทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงเป็นวิธีการหนึ่ง และกำลังได้รับความนิยมสูงมาก เพราะทำให้ตอบสนองตรงตามความต้องการที่จะต้องติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ได้แก่ เมนแฟรม มินิคอมพิวเตอร์มาเป็นไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กลงแต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้รับการพัฒนาให้มีขีดความสามารถและทำงานได้มากขึ้น จนกระทั่งคอมพิวเตอร์สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ทำงานในรูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ นำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการหรือที่เรียกว่า เครื่องให้บริการ (Server) และให้ไมโครคอมพิวเตอร์ตามหน่วยงานต่าง ๆ เป็นเครื่องใช้บริการ (Client) โดยมีเครือข่าย (network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จากจุดต่าง ๆ ในที่สุดระบบเครือข่ายก็จะเข้ามาแทนระบบคอมพิวเตอร์เดิมเป็นแบบรวมศูนย์ได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทวีความสำคัญและได้รับความนิยมมากขึ้น เพราะสามารถสร้างระบบคอมพิวเตอร์ให้พอเหมาะกับงาน ในธุรกิจขนาดเล็กที่ไม่มีกำลังในการลงทุนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูง เช่น มินิคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้ไมโครคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย โดยให้ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งเป็นสถานีบริการที่ทำให้การใช้งานข้อมูลรวมกันได้ เมื่อกิจการเจริญก้าวหน้าขึ้นก็สามารถขยายเครือข่ายการใช้คอมพิวเตอร์โดยเพิ่มจำนวนเครื่อง หรือขยายความจุข้อมูลให้พอเหมาะกับ
ในปัจจุบันองค์การขนาดใหญ่ก็สามารถลดการลงทุนลงได้ โดยใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงจากกลุ่มเล็ก ๆ หลาย ๆ กลุ่มรวมกันเป็นเครือข่ายขององค์การ โดยสภาพการใช้ข้อมูลสามารถทำๆได้ดีเหมือนเช่นในอดีตที่ต้องลงทุนจำนวนมาก เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาทที่สำคัญต่อหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้
1. ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและสามารถทำงานพร้อมกัน
2. ให้สามารถใช้ข้อมูลต่าง ๆ ร่วมกัน ซึ่งทำให้องค์การได้รับประโยชน์มากขึ้น
3. ทำให้สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่า เช่น ใช่เคื่องประมวลผลร่วมกัน แบ่งกันใช้แฟ้มข้อมูล ใช้เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ที่มีราคแพงร่วมกัน
4.ทำให้ลดต้นทุน เพราะการลงทุนสามารถลงทุนให้เหมาะสมกับหน่วยงานได้

7.2 ชนิดของเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื่อโยงได้เป็น 2 ชนิดคือ เครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN) และเครือข่ายแวน (Wide Area Network : WAn)
7.2.1เครือข่ายแลน หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่นบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์กรที่มีระยะทางไมาไกลมากนัก เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะขององค์การ การสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคารหรือภายในพื้นที่ของตนเอง เครือข่ายแลนมีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายในห้องเดียวกันจนถึงเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัย มีการวางเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดยองค์การที่เป็นเจ้าของ
ลักษณะสำคัญของเครือข่ายแลน คือ อุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถส่งรับสัญญาณกันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่สามสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิตต่อวินาที การสื่อสารในระยะใกล้จะมีความเร็วในการสื่อสารสูงทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาดน้อยและสามารถรับส่งข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้
เครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญในการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในองค์การ และมีแนวโน้มที่จะทำให้ทรัพยากรการประมวลผลในองค์การเชื่อมโยงเป็นระบบเดียวทำให้ใช้งานร่วมกันได้ทั้งองค์การ
7.2.2เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ การสร้างเครือข่ายระยะไกลจึงต้องพึ่งพาระบบบริการข่ายสาธารณะ เช่น ใช้สายวงจรเช่าจากโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจที่มีให้บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาแห่งไกลและต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร มีสาขาทั่วประเทศ มีบริการรับฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม
เครือข่ายแวนเชื่อมระยะทางไกลมาก จึงมีความเร็วในการสื่อสารไม่สูง เนื่องจากจะมีรสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิคพิเศษในการลดปัญหาข้อมผิดพลาดของการรับส่งข้อมูล
เครือข่ายแวน เป็นเครือข่ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลาย ๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่งของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้น ๆ และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลขของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวกันด้วยเครือข่ายแวน
ในอนาคตอันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัท ทุกองค์การ ทุกหน่วยงานเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน และการทำงานร่วมกันในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกัน
เทคโนโลยีที่ใช้ในเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มีการเชื่อมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใยนำแสง คลื่อนไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ สายเคเบิลทั้งที่วางไปตามถนนและวางใต้น้ำ เทคโนโลยีของการเชื่อมโยงได้รับการพัฒนาไปมาก แต่ก็ยังไม่พอเพียงกับความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว

7.3 เทคโนโลยีเครือข่ายแลน
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่ายแลนนั้น มีจุดมุ่งหมายที่จะให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ทั้งหมด หากนำเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่องต่อสายสัญญาณเข้าหากันจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองนั้นส่งข้อมูลถึงกันได้ ครั้นจะนำเอาคอมพิวเตอร์เครื่องที่สามต่อร่วมด้วย เริ่มจะมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น และถ้ายิ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากเพิ่มขึ้น และยิ่งถ้ามีเครื่องคอมพิวเอตร์เป็นจำนวนมาก ก็ยิ่งมีข้อยุ่งยากที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดสื่อสารถึงกันได้
ด้วยเหตุนี้ผู้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จึงต้องหาวิธีากรและเทคนิคในการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบต่าง ๆ เพื่อลดข้อยุ่งยากในเรื่องการเชื่อมโยงสายสัญญาณ โดยใช้จำนวนสายสัญญาณน้อยและเหมาะกับการนำไปใช้งานได้ ทั้งนี้เพราะข้อจำกัดของการใช้สายสัญญาณเป็นเรื่องสำคัญมาก
บริษัทผู้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้พยายามคิดหาวิธีและใช้เทคโนโลยีในการรับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลนออกมาหลายระบบ ระบบใดได้รับการยอมรับก็มีการตั้งเป็นมาตรฐานกลาง เพื่อว่าจะได้มีผู้ผลิตที่สนใจการผลิตเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่าย เทคโนโลยีเครือข่ายแลนจึงมีหลากหลาย เครือข่ายแลนที่น่าสนใจ เช่น อีเทอร์เน็ต (ethernet) โทเก็นริง (Token ring) และสวิตชิง (Switching)
7.3.1 อีเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วมที่เรียกว่า บัส (bus) คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต่อเชื่อมเข้ากับสายสัญญาณเช่นเดียวกัน การสื่อสารข้อมูลสามารถสื่อสารจากเครื่องหนึ่งไปยังเครื่องใดก็ได้โดยสื่อสารผ่านบัสนี้
การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่ซ้ำกัน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ A ต้องการส่งสัญญษณข้อมูลให้เครื่องคอมพิวเตอร์ D ก็จะส่งข้อมูลหนึ่งชุดแล้วหยุด หลังจากนั้นเครื่งอื่นจะทำการรับส่งบ้างก็ได้ แต่หากมีสัญญาณข้อมูลที่ส่งมาพร้อมกันมากกว่าหนึ่งสถานี ข้อมูลชุดทีส่งช้ากว่าจะได้รับการยกเลิกและจะต้องหาเวลาส่งกันใหม่
การเชื่อมต่อแบบอีเทอร์เน็ตในยุคเริ่มแรกใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วมที่เรียกว่าสายโคแอกเชียล (coaxial cable) เป็นสายสัญญาณที่รับส่งข้อมูลได้ดี ต่อมามีผู้พัฒนาระบบรับส่งสัญญาณผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่าฮับ (hub) และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที (10 base t) โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กและราคาถูกเรียกว่า สายคู้บิตเกลียวชนิดไม่หุ่มฉนวน (unshielded twisted pair : UTP) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบนี้จึงมีลักษณะเป็นแบบดาว
ภายในฮับมีลักษณะเป็นบัสที่เชื่อมสายทุกเส้นเข้าด้วยกัน ดังนั้นการใช้ฮับและบัสจึงมีระบบการส่งข้อมูลแบบเดียวกัน และมีการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน กำหนดชื่อมาตรฐานนี้ว่า 802.3 ความเร็วของการรับส่งสัญญาณตามมาตรฐานนี้กำหนดไว้ที่ 10 ล้านบิตต่อวินาที และกำลังมีมาตรฐานใหม่ให้สามารถรับส่งสัญญาณได้ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที
7.3.2 โทเก็นริง เป็นเครือข่ายคอมพิมเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในรูปแบบการเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณ และอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณ การเชื่อมต่อแบบนี้ทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ โดยผ่านไปในเส้นทางวงแหวนนั้น
เครือข่ายโทเก็นริงที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้มีความเร็วในการรับส่งสัญญาณได้ 16 ล้านบิตต่อวินาที ข้อมูลจะไม่ชนกันพคราะมีการรับส่งที่แน่นอน ข้อมูลที่รับส่งจะมีลักษณะเป็นชุด ๆ แต่ละชุดมีการกำหนดตำแหน่งที่แน่นอนว่ามาจากสถานีใด จะไปส่งยังสถานีปลายทางที่ใด ดังนั้นถ้าสถานีใดพบข้อมูลที่มีการระบุตำแหน่งปลายทางมาเป็นของตัวเอง ก็สามารถคัดลอกข้อมูลนั้นเข้าไปได้ และตอบรับการได้รับข้อมูลนั้นแล้ว
7.3.3 สวิตชิง เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับการพัฒนาเพื่อให้รับส่งข้อมูลระหว่างสถานีได้เร็วยิ่งขึ้น การคัดเลือกชึดข้อมูลที่ส่งมาและส่งกลับไปยังสถานีปลายทางจะกรทำที่ชุมสายกลางที่เรียกว่า สวิตชิง ดังนั้นรูปแบบของเครือข่ายจึงมีรูปโครงแบบดาว
อีเทอร์เน็ตสวิตช์เป็นการสลับสายสัญญาณในเครือข่าย โดยรูปแบบสัญญาณเป็นแบบอีเทอร์เน็ต การสวิตซ์ชิงนี้แตกต่างจากแบบฮับ เพราะแบบฮับมีโครงสร้างเหมือนเป็นจุดร่วมของสายสัญญาณที่จะต่อกระจายไปยังทุกสาย แต่สวิตซ์ชิงจะเลือกการสลับสัญญาณไปตำแหน่งที่ต้องการเท่านั้น อีเทอร์เน็ตสวิตช์จึงมีข้อดีกว่าฮับ เพราะแต่ละสายสัญญาณมีความเป็นอิสระต่อกันมาก ทำให้การรับส่งสัญญาณไม่มีปัญหาเรื่องการชนกันของข้อมูล อีเทอร์เน็ตสวิตช์ยังใช้มาตรฐานความเร็วเหมือนกับอีเทอร์เน็ตธรรมดา คือความเร็วในการรับส่งสัญญาณตั้งแต่ 10 ถึง 100 ล้านบิตต่อวินาที
เอทีเอ็มสวิตซ์เป็นอุปกรณ์การสลับสายสัญญาณในการรับส่งข้อมูลที่มีการรับส่งกันเป็นชุด ๆ ข้อมูลแต่ละชุดเรียกว่า เซล มีขนาดจำกัด การสวิตซ์ชิงแบบเอทีเอ็มทำให้ข้อมูลจากสถานีหนึ่งไปยังสถานีหนึ่งดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
การที่เอทีเอ็มสวิตช์มีความเร็วในการสลับสัญญาณสูง จึงเป็นเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความสนใจ และมีแนวโน้มจะได้รับความน้ยมมากขึ้น ทั้งนี้เพราะการประยุกต์งานสมัยใหม่หลายอย่างต้องการความเร็วสูง เช่นการเชื่อมโยงสื่อสารแบบหลายสื่อทีรวมทั้ง ข้อความ รูปภาพ เสียงและวีดีโอ

7.4 การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายแลนหนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ที่เรียกว่ากลุ่มงาน (Workgroup) แต่มีการเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกันก็จะเป็นเครือข่ายขององค์การและถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์การผ่านเครือข่ายแวน ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้น
การประยุกต์บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นไปได้อย่างกว้างขวาง และใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งนี้เพราะเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้เกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน และสื่องสารข้อมูลกันได้
ตัวอย่างของการใช้งานเครือข่ายมีดังนี้
7.4.1 การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน บนเครือข่ายมีสถานีที่เป็นเครื่องให้บริการ ซึ่งเป็นที่เก็บข้อมูลข่าวสารหรือข้อมูลใช้งาน และให้ผู้ใช้ซึ่งเป็นเครื่องรับขอใช้บริการเรียกใช้ข้อมูล การเรัยกใช้ฐานข้อมูลร่วมกันทำให้การปรับปรุงข้อมูล การขอดู และการเรียกค้นกระทำได้ทันที เช่น เมื่อฝ่ายขายขายสินค้า ก็มีการลดสินค้าออกจากบัญชีสินค้าคงคลัง เมื่อฝ่ายผลิตขอดูข้อมูลก้ได้ทราบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้ทันทีว่ามีสินค้าเหลือเท่าไร นอกจากการใช้งานในเรื่องการใช้ฐานข้อมูลร่วมกันแล้ว ยังทำให้มีการใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกันได้ เช่น เครื่องพิมพ์
7.4.2 การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเชื่อมโยงสถานีงานหรือเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนที่อยู่บนเครือข่าย จะสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสารระหว่างกัน สามารถส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกันตลอดจนสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้
7.4.3 สำนักงานอัตโนมัติ แนวคิดของสำนักงานสมัยใหม่คือลดการใช้กระดาษโดยหันมาใช้ระบบการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ทันทีทันใด ปัจจุบันสำนักงานส่วนใหญ่ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำพิมพ์เอกสาร ดังนั้นถ้ามีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์การ การสื่อสารส่งงานระหว่างกันที่เป็นกระดาษก็สามารถใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์แทนได้ ระบบสำนักงานอัตโนมัติจึงเป็นระบบการทำงานที่ทุกสถานีงานเปรียบเสมือนโต๊ะทำงาน การทำงานแบบสำนักงานอัตโนมัติทำให้เกิดความคล่องตัวและรวดเร็ว
การใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยังมีอีกมาก มีการประยุกต์ใช้กันหลายอย่างตั้งแต่การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน การทำงานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมาย การส่งงาน แม้แต่ในสถานการศึกษาก็ใช้เครือข่ายเพื่อการเรียนการสอน ใช้เป็นแหล่งความรู้ให้เรียกค้นข้อมูล เป็นต้น

7.5 ตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เมื่อเทคโนโลยีเครือข่ายได้รับการพัฒนาให้ก้าวหน้ามากขึ้น โดยเฉพาะมีการประยุกต์เครือข่ายกันอย่างกว้างขวาง จนสามารถทำเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเดียวกันเรียกว่า อินเทอร์เน็ต ขณะเดียวกันในแต่ละองค์การก็ได้พัฒนาเครือข่ายของตนเองและการประยุกต์ใช้งานเฉพาะในองค์การเราเรียกเครือข่ายที่ประยุกต์ใช้เฉพาะขององค์การว่า อินทราเน็ต อินทราเน็ตจึงแตกต่างจากอินเตอร์เน็ตตรงที่ขอบเขตของการเชื่อมโยง แต่มาตรฐานและวิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายยังคงใช้มาตรฐานเดียวกัน
7.5.1 อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีพัฒนาการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2512 โดยกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกาให้ทุนการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐอเมริกา เพื่อเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นเครือข่าย และใช้ทรัพยากรเพื่อทำงานวิจัยร่วมกัน งานวิจัยเกี่ยวกับดารเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์สมัยแรกใช้ชื่อว่า อาร์ปาเน็ต และมีการเปลี่ยนชื่อมาใช้อินเทอร์เน็ตในภายหลัง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือได้ว่ามีพัฒนาการตั้งแต่ปี พ.ศ.2524 และมีรการขยายตัวการใช้งานอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาทุกแห่งเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายนี้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนาให้เป็นมาตรฐาน มาตรฐานการรับส่งข้อมูลมีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) หลังจากนั้นต่อมามีผู้เห็นความสำคัญมากขึ้น จึงได้เชื่อมเครือข่ายออกมายังองค์การเอกชน และแพร่ขยายออกนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จนในที่สุดมีการกระจายการเชื่อมโยงไปทั่วโลก
สำหรับในประเทศไทยเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็ได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วเช่นกัน ปัจจุบันมีหน่วยงานระดับองค์การกว่าสองร้อยองค์การเชื่อมโยงเข้าสู่เครือข่ายอินเทอร์เน็ตนี้ และกำลังขยายตัวเพิ่มขึ้นตลอดเวลา เชื่อแนว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้าอินเทอร์เน็ตนี้จะเชื่อมต่อกระจายไปถึงโรงเรียนทุกแห่ง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตถือเป็นเครือข่ายของเครือข่าย หมายความว่าในองค์การได้สร้างเครือข่ายภายในองค์การของตนเอง และเชื่อมต่อเข้าสู่เครือข่ายสากลอินเทอร์เน็ตนี้ ปกติมีการกำหนดตำแหน่งอุปกรณ์ด้วยรหัสหมายเลขที่เรียกว่า แอดเดรส ในกรณีของอินเทอร์เน็ตมีการกำหนดรหัสแอดเดรสเรียกว่า ไอพีแอดเดรส และถือว่าเป็นรหัสสากลที่ไม่ซ้ำกันเลย ไอพีแอดเดรสจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด โดยเน้นให้เป็นรหัสของเครือข่ายและรหัสของอุปกรณ์ เช่น รหัสแทนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 ส่วนรหัสของเครือจะมีอีกสองพิกัดตามมา เช่น 2.71 เมื่อเขียนรวมกันได้ 158.108.2.71
เพื่อให้จดจำได้ง่ายขึ้นจึงมีการตั้งชื่อคู่กับหมายเลข เรียกชื่อนี้ว่าโดเมน เช่น โดเมนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ก็ใช้ชื่อว่า Ku.ac.th โดยที่ th หมายถึงประเทศไทย ac หมายถึงสถาบันการศึกษา และ Ku หมายถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และหากมีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ในเครือข่ายหลายเครื่องก็ให้ตั้งชื่อเครื่อง เช่น nontri และเมื่อรวมกันเรียกชื่อเป็น nontri.ku.ac.th การใช้ชื่อนี้ทำให้ใช้งานได้ง่ายกว่าตัวเลข สามารถจดจำและอ้างอิงได้ทั่วโลก สำหรับอพีแอดเดรสของสถาบันการส่งเสริมการสอนวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี คือ 203.154.2.2 ใช้ชื่อว่า ipst.ac.th
เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงติดต่อถึงกันได้หมด และเป็นเครือข่ายของโลก ดังนั้นจึงมีผู้ใช้งานบนเครือข่ายอย่างมากมาย การใช้งานเหล่านี้เป็นสิ่งที่กำลังได้รับการกล่าวถึงกันทั่วไป เพราะการเชื่อมโยงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทำให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สามารถสื่อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์เน็ตที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างทีแพร่หลายและใช้กันมากเท่านั้น ยังมีการประยุกต์งานอื่นที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาใหม่ตลอดเวลา
1) การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบการสื่อสารทางจดหมายผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าต้องการส่งข้อมูลถึงใครก็สามารถเขียนเป็นเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองที่อยู่ของผู้รับที่เรียกว่าแอดเดรส ระบบจะนำส่งให้ทันทีอย่างรวดเร็ว ลักาณะของแอดเดรสจะเป็นชื่อรหัสผู้ใช้และชื่อเครื่องประกอบกัน เช่น
sombat@nontri.ku.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์เน็ตนี้ ระบบจะหาตำแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และนำส่งไปยังปลายทางได้อย่างถูกต้อง การรับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (email) กำลังเป็นที่นิยมกันอย่างพร่หลาย
2) การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกัน เป็นระบบที่ทำให้ผู้ใช้สามารถรับส่งแฟ้มข้อมู,ระหว่างกันหรือมีสถานีให้บริการเก็บแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในที่ต่าง ๆ และให้บริการผู้ใช้สามารถเข้าไปคัดลอกนำแฟ้มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้
3) การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกล การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ทำให้เราสามารถเรียกเขาหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นสภานีบริการในที่ห่างไกลได้ ในที่ห่างไกลได้ ถ้าสถานีบริการนั้นยินยอมให้เราใช้ ผู้ใช้สามารถนำข้อมูลไปประมวลผลยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย โดยไม่ต้องเดินทางไปเอง
4) การเรียกค้นข้อมูลข่าวสาร ปัจจุบันมีฐานข้อมูลข่าวสารที่เก็บไว้ให้ใช้งานจำนวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรูปสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้สามารถเรียกอ่าน หรือนำมาพิมพ์ ลักษณะการเรียกค้นนี้จึงมีลักษณะเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่อยู่ภายในเครือข่ายที่สามารถค้นหาข้อมูลใด ๆ ก็ได้ ฐานข้อมูลในลักษณะนี้เรียกว่า เครือข่ายใยแมงมุมครอบคลุมทั่วโลก (World Wide Web : www)
5) การอ่านจากกลุ่มข่าง ภายในอินเทอร์เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามความสนใจ แต่ละกลุ่มข่างอนุญาติให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่งข้อความลงไปได้ และหากมีผู้ต้องการเขียนโต้ตอบก็สามารถเขียนตอบได้ กลุ่มข่าวนี้จึงแพร่หลายกระจายข่าวได้รวดเร็ว
6) การสนทนาบนเครือข่าย เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อถึงกันได้ทั่วโลก ผู้ใช้จะสามารถใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นตัวกลางในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วิธีการสนทนากันแบบตัวหนังสือ เพื่อโต้ตอบกันแบบทันทีทันใดบนจอภาพ ต่อมามีผู้พัฒนาให้ใช้เสียงได้ จนถึงปัจจุบันถ้าระบบสื่อสารข้อมูลมีความเร็วพอ ก็สามารถสนทนาโดยที่เห็นหน้ากันบนจอภาพได้
7) การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์บนเครือข่าย เป็นการประยุกต์เพื่อให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ ปัจุบันมีผู้ตั้งสถานีวิทยุบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลายร้อยสถานี ผู้ใช้สามารถเลือกสถานีที่ต้องการและได้ยินเหมือนการเปิดฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่งกระจายภาพวีดีโอบนเครือข่ายด้วย แต่ปัญหายังอยู่ที่ความเร็วของเครือข่ายที่ยังไม่สามารถรองรับการส่งข้อมูลจำนวนมาก ทำให้คุรภาพของภาพวีดีโอยังไม่ดีเท่าที่ควร
7.5.2 อินทราเน็ต เมื่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้รับการพัฒนามาจนเป็นที่ยอมรับและแพร่หลายจึงมีผู้ต้องการสร้างเครือข่ายใช้งานเฉพาะในองค์การ โดยนำวิธีการประยุกต์ที่มีให้ใช้ในอินเทอรืเน็ตมาใช้ในเครือข่ายของตนเอง เครือข่ายที่ใช้งานเฉพาะในองค์การนี้จึงเรียกว่า เครือข่ายอินทราเน็ต
การประยุกต์ใช้บนเครือข่ายอินทราเน็ตใช้หลักการที่มีสถานีให้บริการ และสถานีผู้ใช้บริการ สถานีผู้ใช้บริการมีโปรแกรมเชื่อมต่อที่ทำให้ใช้งานระบบฐานข้อมูลได้ง่าย อินทราเน็ตจึงใช้วิธีการเดียวกันนี้ เพราะทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้การใช้งานมากนัก เครือข่ายอินทราเน็ตจึงเป็นเครือข่ายเป้าหมายของทุกองค์การที่พร้อมจะพัฒนาขึ้น และพร้อมที่จะเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต

หมดหน้า 7

สร้างโดย: 
นายพนมยงค์ นวลพรหม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 258 คน กำลังออนไลน์