• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f1d3a6e362055b9ed8cb4b15a67e5c5f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"600\" height=\"200\">\n <param name=\"width\" value=\"600\" />\n <param name=\"height\" value=\"200\" />\n <param name=\"src\" value=\"/files/u49454/head.swf\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"600\" height=\"200\" src=\"/files/u49454/head.swf\"></embed>\n</object></div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<b><span style=\"color: #0000ff\">สถิติแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ</span></b>\n<p>* <span style=\"color: #0000ff\"><b>สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)</b></span> เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งที่ต้องการศึกษาในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง วิธีการทางสถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น<br />\no การจัดกระทำกับข้อมูลโดยนำเสนอในรูปของตารางหรือรูปภาพ<br />\no การแปลงคะแนนให้อยู่ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น เปอร์เซ็นต์ไทล์ คะแนนมาตรฐาน ฯ<br />\no การคำนวณหาค่าเฉลี่ยหรือการกระจายของข้อมูล เช่น มัชฌิมเลขคณิต มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย ฯ\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u49454/EQ1.jpg\" width=\"600\" height=\"453\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.oknation.net/blog/akom/2007/05/17/entry-2\" title=\"http://www.oknation.net/blog/akom/2007/05/17/entry-2\">http://www.oknation.net/blog/akom/2007/05/17/entry-2</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n* <span style=\"color: #0000ff\"><b>สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics)</b></span> เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษาในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แล้วสามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น ๆ ได้ โดยกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ตัวแทนที่ดีของประชากรได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง และตัวแทนที่ดีของประชากรจะเรียกว่า &quot;กลุ่มตัวอย่าง&quot; สถิติอ้างอิงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ<br />\no <b><span style=\"color: #0000ff\">สถิติมีพารามิเตอร์ (Parametric Statistics) </span></b>เป็นวิธีการทางสถิติที่จะต้องเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น 3 ประการ ดังนี้<br />\n+ ตัวแปรที่ต้องการวัดจะต้องอยู่ในมาตราการวัดระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)<br />\n+ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างจะต้องมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ<br />\n+ กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน <br />\nสถิติมีพารามิเตอร์ เช่น t-test, ANOVA, Regression Analysis ฯลฯ<br />\no <span style=\"color: #0000ff\"><b>สถิติไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)</b></span> เป็นวิธีการทางสถิติที่ไม่มีข้อจำกัดใด ๆ นั่นก็คือ<br />\n+ ตัวแปรที่ต้องการวัดอยู่ในมาตราการวัดระดับใดก็ได้ (Norminal Scale, Ordinal Scale, Interval Scale, Ratio Scale)<br />\n+ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างมีการแจกแจงแบบใดก็ได้ (Free Distribution)<br />\n+ กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาไม่จำเป็นต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน <br />\nสถิติไร้พารามิเตอร์ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ \n<p>โดยปกติแล้วนักวิจัยมักนิยมใช้สถิติมี พารามิเตอร์ทั้งนี้เพราะผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้สถิติมีพารามิเตอร์มีอำนาจ การทดสอบ (Power of Test) สูงกว่าการใช้สถิติไร้พารามิเตอร์ ดังนั้นเมื่อข้อมูลมีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้นสามประการใน การใช้สถิติมีพารามิเตอร์ จึงไม่มีผู้ใดคิดที่จะใช้สถิติไร้พารามิเตอร์ในการทดสอบสมมติฐาน\n</p></div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<hr width=\"100%\" size=\"2\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/91913\"><img src=\"/files/u49454/back2.jpg\" width=\"183\" height=\"66\" /></a>   <a href=\"/node/91927\"><img src=\"/files/u49454/back.jpg\" width=\"183\" height=\"66\" /></a>   <a href=\"/node/91915\"><img src=\"/files/u49454/next.jpg\" width=\"183\" height=\"66\" /></a>\n</div>\n', created = 1715434704, expire = 1715521104, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f1d3a6e362055b9ed8cb4b15a67e5c5f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สถิติ-----------> ประเภทของสถิติ

สถิติแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ

* สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งที่ต้องการศึกษาในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง วิธีการทางสถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น
o การจัดกระทำกับข้อมูลโดยนำเสนอในรูปของตารางหรือรูปภาพ
o การแปลงคะแนนให้อยู่ในรูปแบบอื่น ๆ เช่น เปอร์เซ็นต์ไทล์ คะแนนมาตรฐาน ฯ
o การคำนวณหาค่าเฉลี่ยหรือการกระจายของข้อมูล เช่น มัชฌิมเลขคณิต มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พิสัย ฯ

ที่มารูปภาพ : http://www.oknation.net/blog/akom/2007/05/17/entry-2
* สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นสถิติที่ใช้อธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ต้องการศึกษาในกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แล้วสามารถอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น ๆ ได้ โดยกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องเป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ตัวแทนที่ดีของประชากรได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่าง และตัวแทนที่ดีของประชากรจะเรียกว่า "กลุ่มตัวอย่าง" สถิติอ้างอิงสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ
o สถิติมีพารามิเตอร์ (Parametric Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่จะต้องเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น 3 ประการ ดังนี้
+ ตัวแปรที่ต้องการวัดจะต้องอยู่ในมาตราการวัดระดับช่วงขึ้นไป (Interval Scale)
+ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างจะต้องมีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ
+ กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน
สถิติมีพารามิเตอร์ เช่น t-test, ANOVA, Regression Analysis ฯลฯ
o สถิติไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่ไม่มีข้อจำกัดใด ๆ นั่นก็คือ
+ ตัวแปรที่ต้องการวัดอยู่ในมาตราการวัดระดับใดก็ได้ (Norminal Scale, Ordinal Scale, Interval Scale, Ratio Scale)
+ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างมีการแจกแจงแบบใดก็ได้ (Free Distribution)
+ กลุ่มประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาไม่จำเป็นต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน
สถิติไร้พารามิเตอร์ เช่น ไคสแควร์, Median Test, Sign test ฯลฯ

โดยปกติแล้วนักวิจัยมักนิยมใช้สถิติมี พารามิเตอร์ทั้งนี้เพราะผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้สถิติมีพารามิเตอร์มีอำนาจ การทดสอบ (Power of Test) สูงกว่าการใช้สถิติไร้พารามิเตอร์ ดังนั้นเมื่อข้อมูลมีคุณสมบัติที่สอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้นสามประการใน การใช้สถิติมีพารามิเตอร์ จึงไม่มีผู้ใดคิดที่จะใช้สถิติไร้พารามิเตอร์ในการทดสอบสมมติฐาน


   
สร้างโดย: 
สิริลัคน์&นรินทร์โชติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 359 คน กำลังออนไลน์