• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:43543e085a34608ffde553818bcde4c0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/elec.gif\" width=\"600\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82134\"><img src=\"/files/u41071/11.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/83848\"><img src=\"/files/u41071/12.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89208\"><img src=\"/files/u41071/13.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89227\"><img src=\"/files/u41071/14.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89230\"><img src=\"/files/u41071/15.gif\" width=\"73\" height=\"37\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89232\"><img src=\"/files/u41071/16.gif\" width=\"90\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89236\"><img src=\"/files/u41071/17.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89239\"><img src=\"/files/u41071/18.gif\" width=\"90\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89242\"><img src=\"/files/u41071/19.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #666699\"> </span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #666699\">ตัวเก็บประจุ </span></b>เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักทั่วไปว่าสามารถเก็บประจุได้ บางทีเรียกว่า คาปาซิเตอร์ ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า C มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/cap1.jpg\" width=\"211\" height=\"165\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.tube-silicon.com/wp-content/uploads/2009/04/cap1.jpg\" title=\"http://www.tube-silicon.com/wp-content/uploads/2009/04/cap1.jpg\">http://www.tube-silicon.com/wp-content/uploads/2009/04/cap1.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><b>1. ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่</b></span> จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าการเก็บประจุได้ แบ่งได้ 5 ชนิด\n<p><b><span style=\"color: #ff00ff\">ตัวเก็บประจุชนิดกระดาษ</span></b> เป็นตัวเก็บประจุที่ใช้กระดาษชุบไข หรือน้ำมัน (Oil) เป็นฉนวนไดอิเล็กตริก โครงสร้างของตัวเก็บประจุชนิดนี้จะประกอบด้วยแผ่นเพลต 2 แผ่น ที่เป็นแผ่นดีบุกรีดจนบางคั่นกลางด้วยกระดาษชุบไขแล้วนำมาม้วนเข้าเป็น ท่อนกลม จากแผ่นเพลตทั้งสอง แต่ละข้างจะถูกต่อขาที่เป็นลวดตัวนำออกมาใช้งาน ตัวเก็บประจุจะถูกหุ้มห่อด้วยฉนวนไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วแต่บริษัทผู้ผลิต อย่างเช่น ปลอกกระดาษแข็ง กระเบื้องเคลือบ กระดาษอาบน้ำผึ้ง เป็นต้น เพื่อป้องกันความชื้นและฝุ่นละออง ดังแสดงในรูป\n</p></div>\n<div align=\"left\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/30345.jpg\" width=\"297\" height=\"222\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/30/30345.jpg\" title=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/30/30345.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/30/30345.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\nตัวเก็บประจุชนิดกระดาษจะมีค่าความจะไม่สูงมากนัก ซึ่งจะเขียนบอกไว้ที่ข้างๆ ตัวเก็บประจุ คืออยู่ในพิสัยจาก 10 pF ถึง 10mF อัตราทนไฟสูงประมาณ 150 โวลต์ จนถึงหลายพันโวลต์ โดยมากนิยมใช้ในวงจรจ่ายกำลังไฟสูง \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n\n<div style=\"text-align: center\">\nหน้า<a href=\"/node/89239\">  1 </a>,<a href=\"/node/90123\">  2 </a> ,<a href=\"/node/90136\">  3 </a> , <a href=\"/node/90139\">4  </a>,<br />\n<a href=\"/node/90123\"><img src=\"/files/u41071/next.gif\" width=\"103\" height=\"81\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n</div>\n', created = 1719390278, expire = 1719476678, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:43543e085a34608ffde553818bcde4c0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ตัวเก็บประจุ

 

 

ตัวเก็บประจุ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักทั่วไปว่าสามารถเก็บประจุได้ บางทีเรียกว่า คาปาซิเตอร์ ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า C มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) 

แหล่งที่มาของภาพ : http://www.tube-silicon.com/wp-content/uploads/2009/04/cap1.jpg

 

1. ตัวเก็บประจุชนิดค่าคงที่ จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าการเก็บประจุได้ แบ่งได้ 5 ชนิด

ตัวเก็บประจุชนิดกระดาษ เป็นตัวเก็บประจุที่ใช้กระดาษชุบไข หรือน้ำมัน (Oil) เป็นฉนวนไดอิเล็กตริก โครงสร้างของตัวเก็บประจุชนิดนี้จะประกอบด้วยแผ่นเพลต 2 แผ่น ที่เป็นแผ่นดีบุกรีดจนบางคั่นกลางด้วยกระดาษชุบไขแล้วนำมาม้วนเข้าเป็น ท่อนกลม จากแผ่นเพลตทั้งสอง แต่ละข้างจะถูกต่อขาที่เป็นลวดตัวนำออกมาใช้งาน ตัวเก็บประจุจะถูกหุ้มห่อด้วยฉนวนไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วแต่บริษัทผู้ผลิต อย่างเช่น ปลอกกระดาษแข็ง กระเบื้องเคลือบ กระดาษอาบน้ำผึ้ง เป็นต้น เพื่อป้องกันความชื้นและฝุ่นละออง ดังแสดงในรูป

แหล่งที่มาของภาพ : http://www.vcharkarn.com/uploads/30/30345.jpg
 
ตัวเก็บประจุชนิดกระดาษจะมีค่าความจะไม่สูงมากนัก ซึ่งจะเขียนบอกไว้ที่ข้างๆ ตัวเก็บประจุ คืออยู่ในพิสัยจาก 10 pF ถึง 10mF อัตราทนไฟสูงประมาณ 150 โวลต์ จนถึงหลายพันโวลต์ โดยมากนิยมใช้ในวงจรจ่ายกำลังไฟสูง
หน้า  1 ,  2  ,  3  , ,
สร้างโดย: 
นางสาวสุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาวจิรัชญา ตั้งเจตสกาว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 493 คน กำลังออนไลน์