• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c9a19dbddb06338f6c87de0ca7431b18' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/elec.gif\" width=\"600\" height=\"150\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82134\"><img src=\"/files/u41071/11.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/83848\"><img src=\"/files/u41071/12.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89208\"><img src=\"/files/u41071/13.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89227\"><img src=\"/files/u41071/14.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89230\"><img src=\"/files/u41071/15.gif\" width=\"73\" height=\"37\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89232\"><img src=\"/files/u41071/16.gif\" width=\"90\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89236\"><img src=\"/files/u41071/17.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89239\"><img src=\"/files/u41071/18.gif\" width=\"90\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89242\"><img src=\"/files/u41071/19.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b> </b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><b>2. อิเล็กโตรสโคปแบบแผ่นทองคำเปลว</b></span><br />\nอิเล็กโตรสโคปแบบนี้ ประกอบด้วยแผ่นทองคำเปลว หรือแผ่นอะลูมิเนียมบางๆ สองแผ่น ติด ห้อยประกบกันที่ปลายแท่งโลหะ AB ปลายบนของแท่งโลหะนี้ เชื่อมติดกับจานโลหะ D ตัวแท่งโลหะ สอดติดแน่นอยู่ในฉนวนไฟฟ้าท่อนหนึ่ง (ระบายทึบในรูป) ซึ่ง อาจเป็นแท่งอิโบไนต์ก็ได้ ตัวท่อนฉนวน เสียบแน่นอยู่กับปลั๊กยาง P ซึ่งสอดแนบสนิท กับฝาบนของกล่องโลหะ C ด้านหน้า และด้านหลังของโลหะ จะตัดออก และกรุไว้ด้วยแผ่นกระจก เพื่อให้มองเห็นแผ่นทองคำเปลวได้สะดวก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/0002.jpg\" width=\"185\" height=\"207\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold.jpg\" title=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\nเนื่องจากตัวกล่องโลหะ และวางอยู่บนพื้น ก็เท่ากับถูกเออร์ทอยู่ตลอดเวลา ศักย์ไฟฟ้าของตัวกล่องโลหะ จึงเป็นศูนย์เท่ากับ ศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่เสมอ แผ่นทองคำเปลวทั้งสอง จะกางออกจากกันได้ เพราะเกิดความต่างศักย์ ระหว่างแผ่นทองคำ กับตัวกล่องโลหะ เมื่อนำอิเล็กโตรสโคปตั้งบนพื้นโต๊ะ ตัวกล่องโลหะถูกเออร์ท ย่อมมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ เท่ากับศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่ตลอดเวลา เมื่อให้ประจุไฟฟ้าแก่จานโลหะ จะเป็นประจุชนิดใดก็ได้ การทำเช่นนี้ ประจุไฟฟ้าที่ให้จะกระจายไปทั่วจานโลหะ ก้านโลหะและแผ่น ทองคำเปลวทั้งสอง และทั้งสามสิ่งนี้ จะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันโดยตลอด ขณะนี้จะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างแผ่นทองคำเปลวกับกระป๋องโลหะทันที แผ่น ทองคำเปลวจะกางออกจากกัน (ดังรูป ก.) ส่วนรูป ข. แสดงการให้ประจุไฟฟ้าลบอิสระแก่จานโลหะ ดังนั้น แผ่นทองคำเปลว จึงปรากฏมีประจุไฟฟ้าลบ จึงย่อมมีศักย์ไฟฟ้าลบ ส่วยผิวในของกล่องโลหะ มีประจุไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดบวกแต่ศักย์ไฟฟ้าศูนย์ จึง เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างแผ่นทองคำกับกล่องโลหะ แผ่นทองคำจึงอ้าออก \n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/gold1.jpg\" width=\"286\" height=\"207\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold1.jpg\" title=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold1.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold1.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p><b><u><span style=\"color: #3366ff\">การเหนี่ยวนำ</span></u></b> หรือ การเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต (Induction) เป็นวิธีการทำให้ตัวนำมีประจุไฟฟ้าโดยใช้ประจุไฟฟ้าจากวัตถุอื่น ซึ่งไม่แตะกัน ปกติแล้วประจุไฟฟ้าจะถูกเหนี่ยวนำตามส่วนต่างๆของวัตถุเนื่องจากการดึงดูด และผลักกัน ถ้าเคลื่อนประจุชนิดหนึ่งออกไป วัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้าม<br />\nคงอยู่อย่างถาวร</p>\n<div align=\"center\">\nแผ่นประจุ(Proof plane) เป็นแผ่นตัวนำเล็กๆมีด้ามถือทำด้วยฉนวน ใช้สำหรับถ่ายโอนประจุไฟฟ้าระหว่างวัตถุต่างๆ\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/Scanned-01.jpg\" width=\"340\" height=\"213\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ :  <a href=\"http://www.damrong.ac.th/pittaya/webstudy/Physics/image/physicsphoto/Scanned-01.jpg\" title=\"http://www.damrong.ac.th/pittaya/webstudy/Physics/image/physicsphoto/Scanned-01.jpg\">http://www.damrong.ac.th/pittaya/webstudy/Physics/image/physicsphoto/Sca...</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/89227\"><img src=\"/files/u41071/back.gif\" width=\"104\" height=\"80\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719395646, expire = 1719482046, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c9a19dbddb06338f6c87de0ca7431b18' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

electroscope1

 

 

2. อิเล็กโตรสโคปแบบแผ่นทองคำเปลว
อิเล็กโตรสโคปแบบนี้ ประกอบด้วยแผ่นทองคำเปลว หรือแผ่นอะลูมิเนียมบางๆ สองแผ่น ติด ห้อยประกบกันที่ปลายแท่งโลหะ AB ปลายบนของแท่งโลหะนี้ เชื่อมติดกับจานโลหะ D ตัวแท่งโลหะ สอดติดแน่นอยู่ในฉนวนไฟฟ้าท่อนหนึ่ง (ระบายทึบในรูป) ซึ่ง อาจเป็นแท่งอิโบไนต์ก็ได้ ตัวท่อนฉนวน เสียบแน่นอยู่กับปลั๊กยาง P ซึ่งสอดแนบสนิท กับฝาบนของกล่องโลหะ C ด้านหน้า และด้านหลังของโลหะ จะตัดออก และกรุไว้ด้วยแผ่นกระจก เพื่อให้มองเห็นแผ่นทองคำเปลวได้สะดวก

 

แหล่งที่มาของภาพ : http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold.jpg
 
เนื่องจากตัวกล่องโลหะ และวางอยู่บนพื้น ก็เท่ากับถูกเออร์ทอยู่ตลอดเวลา ศักย์ไฟฟ้าของตัวกล่องโลหะ จึงเป็นศูนย์เท่ากับ ศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่เสมอ แผ่นทองคำเปลวทั้งสอง จะกางออกจากกันได้ เพราะเกิดความต่างศักย์ ระหว่างแผ่นทองคำ กับตัวกล่องโลหะ เมื่อนำอิเล็กโตรสโคปตั้งบนพื้นโต๊ะ ตัวกล่องโลหะถูกเออร์ท ย่อมมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ เท่ากับศักย์ไฟฟ้า ของโลกอยู่ตลอดเวลา เมื่อให้ประจุไฟฟ้าแก่จานโลหะ จะเป็นประจุชนิดใดก็ได้ การทำเช่นนี้ ประจุไฟฟ้าที่ให้จะกระจายไปทั่วจานโลหะ ก้านโลหะและแผ่น ทองคำเปลวทั้งสอง และทั้งสามสิ่งนี้ จะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันโดยตลอด ขณะนี้จะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ระหว่างแผ่นทองคำเปลวกับกระป๋องโลหะทันที แผ่น ทองคำเปลวจะกางออกจากกัน (ดังรูป ก.) ส่วนรูป ข. แสดงการให้ประจุไฟฟ้าลบอิสระแก่จานโลหะ ดังนั้น แผ่นทองคำเปลว จึงปรากฏมีประจุไฟฟ้าลบ จึงย่อมมีศักย์ไฟฟ้าลบ ส่วยผิวในของกล่องโลหะ มีประจุไฟฟ้าเหนี่ยวนำชนิดบวกแต่ศักย์ไฟฟ้าศูนย์ จึง เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างแผ่นทองคำกับกล่องโลหะ แผ่นทองคำจึงอ้าออก 
แหล่งที่มาของภาพ : http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/gold1.jpg
 
 

การเหนี่ยวนำ หรือ การเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต (Induction) เป็นวิธีการทำให้ตัวนำมีประจุไฟฟ้าโดยใช้ประจุไฟฟ้าจากวัตถุอื่น ซึ่งไม่แตะกัน ปกติแล้วประจุไฟฟ้าจะถูกเหนี่ยวนำตามส่วนต่างๆของวัตถุเนื่องจากการดึงดูด และผลักกัน ถ้าเคลื่อนประจุชนิดหนึ่งออกไป วัตถุนั้นจะมีประจุไฟฟ้าชนิดตรงข้าม
คงอยู่อย่างถาวร

แผ่นประจุ(Proof plane) เป็นแผ่นตัวนำเล็กๆมีด้ามถือทำด้วยฉนวน ใช้สำหรับถ่ายโอนประจุไฟฟ้าระหว่างวัตถุต่างๆ
 
 
แหล่งที่มาของภาพ :  http://www.damrong.ac.th/pittaya/webstudy/Physics/image/physicsphoto/Sca...
 
 

 

สร้างโดย: 
นางสาวสุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาวจิรัชญา ตั้งเจตสกาว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 462 คน กำลังออนไลน์