• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:573e497f2c3ae853d48513ac626f8241' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p align=\"center\">\n<img height=\"209\" width=\"600\" src=\"/files/u30660/chanidkongpayok.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/83368\" title=\"ธรรมชาติของภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/tummachasd_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88500\" title=\"ชนิดของคำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanidkongkum_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83482\" title=\"อักษรควบกล้ำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonkubgum_3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89131\" title=\"ชนิดของประโยค\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanid_1.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/83972\" title=\"ระดับภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/labab_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83480\" title=\"เสียงในภาษาไทย\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengnai.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83976\" title=\"อักษรคู่ - อักษรเดี่ยว\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonku-ff_0.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83379\" title=\"คำมูล - คำประสม\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kummoon.jpg\" border=\"0\" /></a>  </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/89520\" title=\"คำซ้ำ - คำซ้อน\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kumsum-kumson.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83478\" title=\"พยางค์และมาตราตัวสะกด\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/payang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83971\" title=\"ไตรยางศ์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/taiyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83374\" title=\"เสียงวรรณยุกต์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengwan.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"266\" width=\"300\" src=\"/files/u40864/harvest_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 263px; height: 182px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">แหล่งที่มาของภาพ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #69951d\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">http://www.thaitravelhealth.com/blog/wp-content/uploads/2009/04/harvest.jpg</span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n     <strong><span style=\"color: #ff6600\">  <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\">3. ประโยคความซ้อน</span></span></strong> <span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\">คือประโยคที่มีประโยคความเดียวเป็นประโยคหลัก และมีประโยคย่อยแทรกเข้ามา เพื่อทำให้ข้อความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น <br />\n            ฉันบอกเขาว่าแม่มาหา                           นักเรียนที่ร้องเพลงเพราะได้รับรางวัล<br />\n                ฉันบอกเขา   เป็นประโยคหลัก                นักเรียนได้รับรางวัล  เป็นประโยคหลัก<br />\n                แม่มาหา      เป็นประโยคย่อย                (นักเรียน)ร้องเพลงเพราะ  เป็นประโยคย่อย<br />\n                ว่า               เป็นคำเชื่อม                         ที่                            เป็นคำเชื่อม<br />\n          <br />\n               ฉันเห็นภูเขาซึ่งมีถ้ำอยู่ข้างใต้                 เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน<br />\n               ฉันเห็นภูเขา  เป็นประโยคหลัก               เขานอนตัวสั่น  เป็นประโยคหลัก<br />\n      (ภูเขา)มีถ้ำอยู่ข้างใต้  เป็นประโยคย่อย           (เขา)กลัวเสียงปืน  เป็นประโยคย่อย<br />\n                ซึ่ง               เป็นคำเชื่อม                       เพราะ             เป็นคำเชื่อม<br />\n</span></span> <br />\n      <span style=\"color: #0000ff\"><strong>    <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\">ตำแหน่งต่าง ๆ ในประโยค</span></strong></span><br />\n    <span style=\"color: #cc99ff\">   <span style=\"color: #ff00ff\">ตำแหน่งของประธาน กริยา และกรรม ในประโยคนั้น ตำแหน่งต้นประโยคนับเป็นตำแหน่งที่สำคัญ เมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึงสิ่งใด หรือเหตุการณ์ใด  มักจะกล่าวถึงสิ่งนั้น หรือเหตุการณ์นั้นขึ้นก่อน แล้วจึงกล่าวถึงถ้อยคำขยายความต่อไป เช่น   ตำรวจจับผู้ร้าย           (ประธานอยู่ต้นประโยค)<br />\n            ผู้ร้ายถูกตำรวจจับ       (กรรมอยู่ต้นประโยค)<br />\n            มีระเบิดในกล่อง          (กริยาอยู่ต้นประโยค)<br />\n       ฉะนั้นในเรื่องนี้นักเรียนต้องสังเกตดูให้ดี โดยปกติประโยคในภาษาไทยนั้นจะมีประธานอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นผู้กระทำ โดยจะมีความสัมพันธ์กับกริยาในประโยค เช่น   <br />\n             รถยนต์แล่นบนถนน   ชาวนาเกี่ยวข้าวในนา   ไก่กินข้าวอยู่ในเล้า<br />\n     คำ รถยนต์, ชาวนา, ไก่  ซึ่งอยู่ต้นประโยค  ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค แต่เมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึงเหตุการณ์ก่อนเรื่องอื่น กริยาของประโยคจะอยู่ต้นประโยค  เช่น<br />\n            เกิดน้ำท่วมที่จังหวัดตราด  ปรากฎการทุจริตขึ้นในห้องสอบ   มียาฆ่าแมลงในผักและผลไม้<br />\n     คำ  เกิด  ปรากฏ  มี  ซึ่งอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นกริยาของประโยค และเมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึง ผลของการกระทำหรือผู้ถูกกระทำก่อนเรื่องอื่น  กรรมจะอยู่ต้นประโยค  เช่น<br />\n            พ่อได้รับเชิญให้ไปร่วมในพิธีเปิดอาคารเรียนหลังใหม่<br />\n            บ้านหลังนี้ถูกไฟไหม้เมื่อปีที่แล้ว<br />\n            เขาถูกตำหนิอย่างรุนแรง<br />\n     คำ พ้อ  บ้านหลังนี้  เขา  ซึ่งอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค ในบางประโยคอาจใช้วลีหรือกลุ่มคำบอกสถานที่หรือบอกเวลาอยู่ต้นประโยค เนื่องจากผู้พูดต้องการเน้นเวลาหรือสถานที่  เช่น<br />\n            เวลากลางวันเราจะมองไม่เห็นดวงดาว  (เวลากลางวัน  เป็นกลุ่มคำบอกเวลา)<br />\n            บนทางเท้าไม่ควรตั้งร้านขายของ  (บนทางเท้า  เป็นกลุ่มคำบอกสถานที่)<br />\n</span>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/68048\"></a><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>     <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; background: #ccffff; color: #2b3220; font-size: 11pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/81942\" title=\"HOME\"><img height=\"82\" width=\"108\" src=\"/files/u40864/aa70.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" style=\"width: 112px; height: 89px\" /></a><a href=\"/node/83378\" title=\"กลับสู่หัวข้อหลัก\"><img height=\"160\" width=\"147\" src=\"/files/u40864/th_bgns864.gif\" border=\"0\" style=\"width: 58px; height: 48px\" /></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </strong></span></span></span>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727530377, expire = 1727616777, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:573e497f2c3ae853d48513ac626f8241' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของประโยค

  
  

แหล่งที่มาของภาพ

http://www.thaitravelhealth.com/blog/wp-content/uploads/2009/04/harvest.jpg


       3. ประโยคความซ้อน  คือประโยคที่มีประโยคความเดียวเป็นประโยคหลัก และมีประโยคย่อยแทรกเข้ามา เพื่อทำให้ข้อความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น
            ฉันบอกเขาว่าแม่มาหา                           นักเรียนที่ร้องเพลงเพราะได้รับรางวัล
                ฉันบอกเขา   เป็นประโยคหลัก                นักเรียนได้รับรางวัล  เป็นประโยคหลัก
                แม่มาหา      เป็นประโยคย่อย                (นักเรียน)ร้องเพลงเพราะ  เป็นประโยคย่อย
                ว่า               เป็นคำเชื่อม                         ที่                            เป็นคำเชื่อม
         
               ฉันเห็นภูเขาซึ่งมีถ้ำอยู่ข้างใต้                 เขานอนตัวสั่นเพราะกลัวเสียงปืน
               ฉันเห็นภูเขา  เป็นประโยคหลัก               เขานอนตัวสั่น  เป็นประโยคหลัก
      (ภูเขา)มีถ้ำอยู่ข้างใต้  เป็นประโยคย่อย           (เขา)กลัวเสียงปืน  เป็นประโยคย่อย
                ซึ่ง               เป็นคำเชื่อม                       เพราะ             เป็นคำเชื่อม
 
          ตำแหน่งต่าง ๆ ในประโยค
       ตำแหน่งของประธาน กริยา และกรรม ในประโยคนั้น ตำแหน่งต้นประโยคนับเป็นตำแหน่งที่สำคัญ เมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึงสิ่งใด หรือเหตุการณ์ใด  มักจะกล่าวถึงสิ่งนั้น หรือเหตุการณ์นั้นขึ้นก่อน แล้วจึงกล่าวถึงถ้อยคำขยายความต่อไป เช่น   ตำรวจจับผู้ร้าย           (ประธานอยู่ต้นประโยค)
            ผู้ร้ายถูกตำรวจจับ       (กรรมอยู่ต้นประโยค)
            มีระเบิดในกล่อง          (กริยาอยู่ต้นประโยค)
       ฉะนั้นในเรื่องนี้นักเรียนต้องสังเกตดูให้ดี โดยปกติประโยคในภาษาไทยนั้นจะมีประธานอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นผู้กระทำ โดยจะมีความสัมพันธ์กับกริยาในประโยค เช่น  
             รถยนต์แล่นบนถนน   ชาวนาเกี่ยวข้าวในนา   ไก่กินข้าวอยู่ในเล้า
     คำ รถยนต์, ชาวนา, ไก่  ซึ่งอยู่ต้นประโยค  ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยค แต่เมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึงเหตุการณ์ก่อนเรื่องอื่น กริยาของประโยคจะอยู่ต้นประโยค  เช่น
            เกิดน้ำท่วมที่จังหวัดตราด  ปรากฎการทุจริตขึ้นในห้องสอบ   มียาฆ่าแมลงในผักและผลไม้
     คำ  เกิด  ปรากฏ  มี  ซึ่งอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นกริยาของประโยค และเมื่อผู้พูดต้องการกล่าวถึง ผลของการกระทำหรือผู้ถูกกระทำก่อนเรื่องอื่น  กรรมจะอยู่ต้นประโยค  เช่น
            พ่อได้รับเชิญให้ไปร่วมในพิธีเปิดอาคารเรียนหลังใหม่
            บ้านหลังนี้ถูกไฟไหม้เมื่อปีที่แล้ว
            เขาถูกตำหนิอย่างรุนแรง
     คำ พ้อ  บ้านหลังนี้  เขา  ซึ่งอยู่ต้นประโยค ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค ในบางประโยคอาจใช้วลีหรือกลุ่มคำบอกสถานที่หรือบอกเวลาอยู่ต้นประโยค เนื่องจากผู้พูดต้องการเน้นเวลาหรือสถานที่  เช่น
            เวลากลางวันเราจะมองไม่เห็นดวงดาว  (เวลากลางวัน  เป็นกลุ่มคำบอกเวลา)
            บนทางเท้าไม่ควรตั้งร้านขายของ  (บนทางเท้า  เป็นกลุ่มคำบอกสถานที่)
 

     กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
ครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค กับนางสาวสุพิรญาณ์ ตั้งกมลเลิศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 271 คน กำลังออนไลน์