• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5a59af9c44ced9bd4a62f2853032d76f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"209\" width=\"600\" src=\"/files/u30660/chanidkongpayok.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/83368\" title=\"ธรรมชาติของภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/tummachasd_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88500\" title=\"ชนิดของคำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanidkongkum_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83482\" title=\"อักษรควบกล้ำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonkubgum_3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89131\" title=\"ชนิดของประโยค\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanid_1.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/83972\" title=\"ระดับภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/labab_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83480\" title=\"เสียงในภาษาไทย\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengnai.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83976\" title=\"อักษรคู่ - อักษรเดี่ยว\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonku-ff_0.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83379\" title=\"คำมูล - คำประสม\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kummoon.jpg\" border=\"0\" /></a>  </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/89520\" title=\"คำซ้ำ - คำซ้อน\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kumsum-kumson.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83478\" title=\"พยางค์และมาตราตัวสะกด\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/payang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83971\" title=\"ไตรยางศ์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/taiyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83374\" title=\"เสียงวรรณยุกต์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengwan.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"319\" width=\"200\" src=\"/files/u40864/original_img4_1215.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 249px; height: 156px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">แหล่งที่มาของภาพ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">http://learners.in.th/file/sudarat-pen/img4_1215.jpg</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n       <strong><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\">ชนิดของประโยค</span></span></strong><br />\n    <span style=\"color: #cc99ff\">   <span style=\"color: #ff00ff\">เราสามารถแบ่งประโยคที่ใช้ในการสื่อสารออกได้ <span style=\"color: #808000\"><strong>3</strong></span> ประเภท ดังนี้</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"> 1. ประโยคความเดียว</span></strong></span> <span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\">คือประโยคที่มีความหมายอย่างเดียว เช่น<br />\n            ฝนตกในตอนเช้า,   พ่ออ่านหนังสือพิมพ์รายวัน,   ดวงดาวส่องแสงระยิบระยับบนท้องฟ้า</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #ff6600\"><strong>   </strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong>2. ประโยคความรวม</strong><span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"> คือประโยคที่มีข้อความเป็นประโยคความเดียวตั้งแต่ 1 ประโยคขึ้นไปมาเรียงกัน โดยมีสันธานเป็นคำเชื่อมระหว่างประโยค เพื่อให้ข้อความติดต่อเป็นประโยคเดียวกัน ประโยคความรวมมีหลายลักษณะดังนี้</span></span></span>  \n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">           </span><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"> 2.1 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความ<span style=\"color: #339966\"><strong>คล้อยตามกัน</strong></span> เช่น <br />\n                      รัตนาและอารีรดนำต้นไม้   เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้  รัตนารดน้ำต้นไม้,  อารีรดนำต้นไม้  มีสันธาน  และ  เป็นคำเชื่อม<br />\n                      ความคล้อยตามกันนั้นอาจคล้อยตามกันในเรื่องของ  ความเป็นอยู่  เวลา  และ  การกระทำ  ฉะนั้นคำเชื่อมจึงมีคำอื่น ๆ อีก เช่น  ทั้ง...และ,  แล้วก็,  พอ...แล้วก็,  พอ...ก็,  เมื่อ...ก็  ดังตัวอย่าง<br />\n                     ทั้งรัตนาและอารีเป็นนักเรียนชั้นป.6<br />\n                     พอรัตนาเรียนจบชั้นป.6 แล้วก็ไปเรียนต่อชั้นม.1<br />\n                     พอพ่อมาถึงแม่ก็ยกนำมาให้ดื่ม<br />\n            2.2 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความ<strong><span style=\"color: #339966\">ขัดแย้งกัน</span></strong> เช่น<br />\n                      วิชิตเล่นดนตรีแต่วิชัยเล่นกีฬา  เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้  วิชิตเล่นดนตรี , วิชาเล่นกีฬา  มีสันธาน  แต่  เป็นคำเชื่อม<br />\n            2.3 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความ<span style=\"color: #339966\"><strong>เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง</strong></span> เช่น<br />\n                      นักเรียนจะสอบข้อเขียนหรือจะทำรายงาน เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้   นักเรียนจะสอบข้อเขียน,  นักเรียนจะทำรายงาน  มีสันธาน  หรือ  เป็นคำเชื่อม</span></span> </span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; background: #ccffff; color: #2b3220; font-size: 11pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/81942\" title=\"HOME\"><img height=\"82\" width=\"108\" src=\"/files/u40864/aa70.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" style=\"width: 112px; height: 89px\" /></a><a href=\"/node/83378\" title=\"กลับสู่หัวข้อหลัก\"><img height=\"160\" width=\"147\" src=\"/files/u40864/th_bgns864.gif\" border=\"0\" style=\"width: 58px; height: 48px\" /></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><strong> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1727530714, expire = 1727617114, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5a59af9c44ced9bd4a62f2853032d76f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของประโยค

  
  

แหล่งที่มาของภาพ

http://learners.in.th/file/sudarat-pen/img4_1215.jpg


       ชนิดของประโยค
       เราสามารถแบ่งประโยคที่ใช้ในการสื่อสารออกได้ 3 ประเภท ดังนี้


       1. ประโยคความเดียว  คือประโยคที่มีความหมายอย่างเดียว เช่น
            ฝนตกในตอนเช้า,   พ่ออ่านหนังสือพิมพ์รายวัน,   ดวงดาวส่องแสงระยิบระยับบนท้องฟ้า


       2. ประโยคความรวม คือประโยคที่มีข้อความเป็นประโยคความเดียวตั้งแต่ 1 ประโยคขึ้นไปมาเรียงกัน โดยมีสันธานเป็นคำเชื่อมระหว่างประโยค เพื่อให้ข้อความติดต่อเป็นประโยคเดียวกัน ประโยคความรวมมีหลายลักษณะดังนี้  

            2.1 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความคล้อยตามกัน เช่น
                      รัตนาและอารีรดนำต้นไม้   เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้  รัตนารดน้ำต้นไม้,  อารีรดนำต้นไม้  มีสันธาน  และ  เป็นคำเชื่อม
                      ความคล้อยตามกันนั้นอาจคล้อยตามกันในเรื่องของ  ความเป็นอยู่  เวลา  และ  การกระทำ  ฉะนั้นคำเชื่อมจึงมีคำอื่น ๆ อีก เช่น  ทั้ง...และ,  แล้วก็,  พอ...แล้วก็,  พอ...ก็,  เมื่อ...ก็  ดังตัวอย่าง
                     ทั้งรัตนาและอารีเป็นนักเรียนชั้นป.6
                     พอรัตนาเรียนจบชั้นป.6 แล้วก็ไปเรียนต่อชั้นม.1
                     พอพ่อมาถึงแม่ก็ยกนำมาให้ดื่ม
            2.2 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความขัดแย้งกัน เช่น
                      วิชิตเล่นดนตรีแต่วิชัยเล่นกีฬา  เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้  วิชิตเล่นดนตรี , วิชาเล่นกีฬา  มีสันธาน  แต่  เป็นคำเชื่อม
            2.3 ประโยคความรวมที่มีเนื้อความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
                      นักเรียนจะสอบข้อเขียนหรือจะทำรายงาน เป็นประโยคความรวม แยกเป็นประโยคความเดียวได้ 2 ประโยคดังนี้   นักเรียนจะสอบข้อเขียน,  นักเรียนจะทำรายงาน  มีสันธาน  หรือ  เป็นคำเชื่อม

กลับสู่หน้าหลัก 

สร้างโดย: 
ครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค กับนางสาวสุพิรญาณ์ ตั้งกมลเลิศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 319 คน กำลังออนไลน์