• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d462f34ffd122a0691d9d1f7c37cc963' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"209\" width=\"600\" src=\"/files/u30660/chanidkongpayok.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/83368\" title=\"ธรรมชาติของภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/tummachasd_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88500\" title=\"ชนิดของคำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanidkongkum_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83482\" title=\"อักษรควบกล้ำ\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonkubgum_3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/89131\" title=\"ชนิดของประโยค\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/chanid_1.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/83972\" title=\"ระดับภาษา\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/labab_1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83480\" title=\"เสียงในภาษาไทย\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengnai.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83976\" title=\"อักษรคู่ - อักษรเดี่ยว\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/aksonku-ff_0.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83379\" title=\"คำมูล - คำประสม\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kummoon.jpg\" border=\"0\" /></a>  </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span><span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"> <a href=\"/node/89520\" title=\"คำซ้ำ - คำซ้อน\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/kumsum-kumson.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83478\" title=\"พยางค์และมาตราตัวสะกด\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/payang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83971\" title=\"ไตรยางศ์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/taiyang.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83374\" title=\"เสียงวรรณยุกต์\"><img height=\"30\" width=\"100\" src=\"/files/u40864/sengwan.jpg\" border=\"0\" /></a> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"248\" width=\"203\" src=\"/files/u40864/44_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 193px; height: 205px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><strong>แหล่งที่มาของภาพ</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRe8fOzuUWbPSA61A5Lz7XgO8QCk83ocq6wADlxxdtkfscUjxnrOg</span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\">รูปของประโยค</span></strong></span><br />\n  <span style=\"color: #ff00ff\">   <span style=\"color: #cc99ff\">  <span style=\"color: #ff00ff\">เราสามารถแบ่งรูปประโยคได้หลายชนิด ดังนี้</span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n           <strong> </strong><span style=\"color: #ff6600\"><strong> </strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong>1. ประโยคบอกเล่า</strong><span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"> คือประโยคที่มีใจความเพื่อบอกให้ทราบ ว่าใครทำอะไร ทำที่ไหน ทำอย่างไร เป็นการเเจ้งเรื่องราวให้ทราบ หรือบอกเรื่องราวต่างๆ เช่น ฉันเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, พ่อของฉันเป็นชาวนา</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"></span></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n         <strong>   </strong><span style=\"color: #ff6600\"><strong> </strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong>2. ประโยคปฏิเสธ</strong><span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><strong> </strong>คือประโยคที่มีใจความไม่ตอบรับ มีเนื้อความตรงกันข้ามกับประโยคบอกเล่า มักใช้คำว่า ไม่ ไม่ได้ ไม่ใช่ มิได้ประกอบ เช่น ฉันไม่ได้ลอกการบ้านเพื่อน ปากกาด้ามนั้นไม่ใช่ของฉัน</span><span style=\"background-color: #ffffff\"><strong> </strong></span></span></span>  \n</p>\n<p>           <span style=\"color: #ff6600\"><strong>  <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\">3. ประโยคคำถาม</span></strong></span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"> </span> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">คือประโยคที่มีใจความเป็นคำถาม เพื่อต้องการคำตอบ คำที่เป็นคำถามจะอยู่ต้นประโยค หรือท้ายประโยคก็ได้ ประโยคคำถามมี <span style=\"color: #ff00ff\">2</span> ลักษณะดังนี้</span></span> </span><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n                 <span style=\"color: #99cc00\">  <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong>1.ประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบรับหรือปฏิเสธ</strong><span style=\"background-color: #ffffff\"><strong> </strong><span style=\"color: #ff00ff\">มักมีคำที่ใช้ถามว่า หรือ หรือไม่ ไหน อยู่ท้ายประโยคคำถามเช่น</span></span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\">          </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ถามว่า เธอชอบอากาศหนาวมากกว่าอากาศร้อนหรือ</span>   </span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">       คำตอบคือ ครับผมชอบอากาศหนาวมากกว่าอากาศร้อน</span>        </span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"><br />\n                       </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span><span style=\"color: #cc99ff\">                  <span style=\"color: #99cc00\"> <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong>2.ประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบเป็นเนื้อความใหม่</strong><span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><strong> </strong>มักมีคำที่ใช้ถามว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร เหตุใด เท่าใด คำเหล่านี้จะอยู้ต้นประโยคหรือท้ายประโยคก็ได้ เช่น</span></span></span><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">ถามว่า ใครเป็นเวรทำความสะอาดห้องเรียนในวันนี้</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">คำตอบคือ สมบัติเป็นเวรทำความสะอาดห้องเรียนวันนี้ครับ</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n               <span style=\"color: #ff6600\"><strong>   <span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"> 3. ประโยคขอร้อง</span></strong></span> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #cc99ff\"> <span style=\"color: #ff00ff\">คือประโยคที่มีข้อความแสดงความต้องการให้ช่วยเหลือในลักษณะต่าง ๆ มักจะมีคำว่า  โปรด  กรุณา  ช่วย  วาน  อยู่หน้าประโยค และมักจะมีคำว่า  หน่อย  ซิ  นะ  อยู่ท้ายประโยค เช่น โปรดมานั่งข้างหน้าให้เต็มก่อน  กรุณาอย่าจอดรถขวางประตู  วานลบกระดานดำให้ครูหน่อย</span></span><span style=\"color: #ff00ff\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #cc99ff\"></span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n              <span style=\"color: #ff6600\"><strong>     </strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>4</strong></span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><strong><span style=\"background-color: #ccffff\">. ประโยค</span>คำสั่ง</strong><span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"> คือประโยคที่บอกให้บุคคลอื่นทำ หรือไม่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะละประธานไว้ เช่น ห้ามเดินลัดสนาม อย่าคุยกันในห้องเรียน</span></span></span></span>  \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"><br />\n                  <span style=\"color: #ff6600\"><strong> <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\">5</span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\">.</span> ประโยคแสดงความต้องการ</span></span></strong></span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #0000ff\"> </span> <span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">คือประโยคที่แสดงความอยากได้  อยากมี  อยากเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักมีคำว่า  อยาก  ต้องการ  ปรารถนา  ประสงค์  อยู่ในประโยค  เช่น  พ่อต้องการให้ฉันเป็นทหาร  ฉันอยากเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา  พี่ปรารถนาจะให้น้องเรียนหนังสือเก่ง  ครูประสงค์จะให้นักเรียนลายมืองาม </span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc99ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong>     <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; background: #ccffff; color: #2b3220; font-size: 11pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/81942\" title=\"HOME\"><img height=\"82\" width=\"108\" src=\"/files/u40864/aa70.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" style=\"width: 112px; height: 89px\" /></a><a href=\"/node/83378\" title=\"กลับสู่หัวข้อหลัก\"><img height=\"160\" width=\"147\" src=\"/files/u40864/th_bgns864.gif\" border=\"0\" style=\"width: 58px; height: 48px\" /></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span> </strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong></strong></span></span></span></span></p>\n', created = 1727530640, expire = 1727617040, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d462f34ffd122a0691d9d1f7c37cc963' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ชนิดของประโยค

  
  
แหล่งที่มาของภาพ
http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRe8fOzuUWbPSA61A5Lz7XgO8QCk83ocq6wADlxxdtkfscUjxnrOg

รูปของประโยค
       เราสามารถแบ่งรูปประโยคได้หลายชนิด ดังนี้ 


             1. ประโยคบอกเล่า คือประโยคที่มีใจความเพื่อบอกให้ทราบ ว่าใครทำอะไร ทำที่ไหน ทำอย่างไร เป็นการเเจ้งเรื่องราวให้ทราบ หรือบอกเรื่องราวต่างๆ เช่น ฉันเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6, พ่อของฉันเป็นชาวนา


             2. ประโยคปฏิเสธ คือประโยคที่มีใจความไม่ตอบรับ มีเนื้อความตรงกันข้ามกับประโยคบอกเล่า มักใช้คำว่า ไม่ ไม่ได้ ไม่ใช่ มิได้ประกอบ เช่น ฉันไม่ได้ลอกการบ้านเพื่อน ปากกาด้ามนั้นไม่ใช่ของฉัน   

             3. ประโยคคำถาม  คือประโยคที่มีใจความเป็นคำถาม เพื่อต้องการคำตอบ คำที่เป็นคำถามจะอยู่ต้นประโยค หรือท้ายประโยคก็ได้ ประโยคคำถามมี 2 ลักษณะดังนี้


                   1.ประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบรับหรือปฏิเสธ มักมีคำที่ใช้ถามว่า หรือ หรือไม่ ไหน อยู่ท้ายประโยคคำถามเช่น          

ถามว่า เธอชอบอากาศหนาวมากกว่าอากาศร้อนหรือ   

       คำตอบคือ ครับผมชอบอากาศหนาวมากกว่าอากาศร้อน        
                       

                   2.ประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบเป็นเนื้อความใหม่ มักมีคำที่ใช้ถามว่า ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร เหตุใด เท่าใด คำเหล่านี้จะอยู้ต้นประโยคหรือท้ายประโยคก็ได้ เช่น 

ถามว่า ใครเป็นเวรทำความสะอาดห้องเรียนในวันนี้

คำตอบคือ สมบัติเป็นเวรทำความสะอาดห้องเรียนวันนี้ครับ


                   3. ประโยคขอร้อง  คือประโยคที่มีข้อความแสดงความต้องการให้ช่วยเหลือในลักษณะต่าง ๆ มักจะมีคำว่า  โปรด  กรุณา  ช่วย  วาน  อยู่หน้าประโยค และมักจะมีคำว่า  หน่อย  ซิ  นะ  อยู่ท้ายประโยค เช่น โปรดมานั่งข้างหน้าให้เต็มก่อน  กรุณาอย่าจอดรถขวางประตู  วานลบกระดานดำให้ครูหน่อย


                   4. ประโยคคำสั่ง คือประโยคที่บอกให้บุคคลอื่นทำ หรือไม่ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะละประธานไว้ เช่น ห้ามเดินลัดสนาม อย่าคุยกันในห้องเรียน  


                   5. ประโยคแสดงความต้องการ  คือประโยคที่แสดงความอยากได้  อยากมี  อยากเป็นสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักมีคำว่า  อยาก  ต้องการ  ปรารถนา  ประสงค์  อยู่ในประโยค  เช่น  พ่อต้องการให้ฉันเป็นทหาร  ฉันอยากเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษา  พี่ปรารถนาจะให้น้องเรียนหนังสือเก่ง  ครูประสงค์จะให้นักเรียนลายมืองาม

     กลับสู่หน้าหลัก

สร้างโดย: 
ครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค กับนางสาวสุพิรญาณ์ ตั้งกมลเลิศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 328 คน กำลังออนไลน์