• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:44c230b98cf144c16f31ef1a5870feec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/elec.gif\" width=\"600\" height=\"150\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/82134\"><img src=\"/files/u41071/11.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/83848\"><img src=\"/files/u41071/12.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89208\"><img src=\"/files/u41071/13.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89227\"><img src=\"/files/u41071/14.gif\" width=\"72\" height=\"37\" /></a><a href=\"/node/89230\"><img src=\"/files/u41071/15.gif\" width=\"73\" height=\"37\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/89232\"><img src=\"/files/u41071/16.gif\" width=\"89\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89236\"><img src=\"/files/u41071/17.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89239\"><img src=\"/files/u41071/18.gif\" width=\"90\" height=\"43\" /></a><a href=\"/node/89242\"><img src=\"/files/u41071/19.gif\" width=\"91\" height=\"43\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\nไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้\n<p>ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำ</p>\n<p>จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไป ยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์</p>\n<p>\nหากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัส</p>\n<p>ผลลัพธ์ที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผม\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<u><b>การส่งผ่านประจุไฟฟ้า</b></u>\n<p>\nหากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัส\n</p></div>\n<div align=\"center\">\n<br />\nผลลัพธ์ที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผม \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/5-2.jpg\" width=\"237\" height=\"371\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/static-electric/5-2.jpg\" title=\"http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/static-electric/5-2.jpg\">http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/static-electric/5-2.jpg</a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nอิเล็กตรอนในไฟฟ้าสถิตทำให้เกิดประจุ ไฟฟ้าหยุดนิ่งตัวอย่างเช่น เมื่อถูลูกโป่งเข้ากับเส้นผมอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่บนเส้นผมจะเปลี่ยนมาอยู่ บนลูกโป่งแทน และทำให้วัตถุที่เสียอิเล็กตรอน (เส้นผมของเรา) กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่ประจุบวกรับอิเล็กตรอน (ลูกโป่ง) กลายเป็นประจุลบ และดึงดูดกับประจุบวกที่อยู่บนฝาผนังทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่ได้ ลักษณะเช่นเดียวกันนี้เกิดขึ้น เมื่อเราเดินผ่านพรมแล้วมาสัมผัสกับลูกบิดโลหะ อิเล็กตรอนที่เกาะกันอย่างหลวมๆ บนพรมจะกระโดดมาอยู่ที่ตัวของเราทำให้เกิดเป็นขั้วของไฟฟ้า แต่เราจะไม่ทราบจนกระทั่งได้สัมผัสกับลูกบิดประตูโลหะ เพราะ ประจุลบจากตัวเราจะวิ่งผ่านมือไปยังลูกบิด ทำให้เรารู้สึกเหมือนโดยไฟฟ้าช็อตที่เกิดขึ้นด้วย\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<u><b>ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า</b></u><br />\n<span style=\"color: #ff9900\"><br />\n<b>ตัวนำไฟฟ้า</b></span><br />\nตัวนำ (Conductor) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย หรือวัตถุที่มีความต้านทานต่ำ ได้แก่ ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน ซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีที่สุด แต่ในสายไฟทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวนำ เพราะตัวนำที่ทำจากจะเงินมีราคาแพง<br />\n<b><span style=\"color: #ff9900\"><br />\nฉนวนไฟฟ้า</span></b><br />\nฉนวน (Insulator) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่ไม่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือ ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าไม่ให้ผ่านไปได้ ได้แก่ ไม้แห้ง พลาสติก, ยาง, แก้ว และกระดาษแห้ง เป็นต้น \n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41071/conduct-1.gif\" width=\"320\" height=\"166\" /><img src=\"/files/u41071/Insulat-.gif\" width=\"319\" height=\"166\" />\n</div>\n<div>\n<p align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/conduct-1.gif\" title=\"http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/conduct-1.gif\">http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/conduct-1...</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/Insulat-.gif\" title=\"http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/Insulat-.gif\">http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/Insulat-....</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><u>สารกึ่งตัวนำ</u></b></p>\n<p>สารกึ่งตัวนำเป็นสารที่มีคุณสมบัติอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เช่น ซิลิกอน เยอรมันเนียม เทลลูเนียมเป็นต้น สารดังกล่าวเหล่านี้มีคุณสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ คือมีจำนวนอิเล็กตรอนอิสระอยู่น้อยจึงไม่สามารถให้กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวน มาก ฉะนั้นลำพังสารนี้อย่างเดียวแล้วไม่สามารถทำประโยชน์อะไรได้มากนัก ดังนั้น เพื่อที่จะให้ได้กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมากเราจึงต้องมีการปรุงแต่งโดยการ เจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในเนื้อสารเนื้อเดียวเหล่านี้ หรือเอาอะตอมของธาตุบางชนิดมาทำปฏิกิริยากันให้ได้สารประกอบที่มีคุณสมบัติ ตามที่ต้องการ สารกึ่งตัวนำที่สร้างขึ้นโดยวิธีดังกล่าวนี้เรียกว่า สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ หรือสารกึ่งตัวนำแบบสารประกอบตามลำดับ ซึ่งจะเป็นสารที่ใช้ทำทรานซิสเตอร์ และไดโอดชนิดต่าง ๆ \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/83848\"><img src=\"/files/u41071/back.gif\" width=\"107\" height=\"83\" /></a>\n</p>\n</div>\n', created = 1727169097, expire = 1727255497, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:44c230b98cf144c16f31ef1a5870feec' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประจุไฟฟ้า1

 
 
 
 
 
 
ไฟฟ้าสถิตเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่คุ้นเคยสำหรับประเทศที่มีอากาศหนาว ในฤดูหนาวสำหรับประเทศเหล่านี้

ความชื้นในอากาศจะต่ำมาก การเกิดไฟฟ้าสถิตบนผิวหนังจะเกิดขึ้นง่ายมาก ดังนั้นเมื่อเกิดการสัมผัสกับวัสดุประเภทตัวนำ

จะทำให้เกิดการถ่ายเทประจุไป ยังตัวนำอย่างรวดเร็วทำให้เกิดอาการสะดุ้งได้ และนอกจากนั้นยังสามารถทำความเสียหายให้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

หากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัส

ผลลัพธ์ที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผม

 
 

การส่งผ่านประจุไฟฟ้า

หากเราเคยถูกไฟช็อตหลังจากเดินผ่านพรมหนาๆ แล้วมาสัมผัสลูกบิดที่เป็นโลหะ แสดงว่าเราเคยสัมผัส


ผลลัพธ์ที่เกิดจากไฟฟ้าสถิตมาแล้ว ไฟฟ้าสถิตทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่บนฝาผนังหลังจากนำมาถูกับเส้นผม 
แหล่งที่มาของภาพ : http://www.rmutphysics.com/CHARUD/specialnews/5/static-electric/5-2.jpg
 
 
อิเล็กตรอนในไฟฟ้าสถิตทำให้เกิดประจุ ไฟฟ้าหยุดนิ่งตัวอย่างเช่น เมื่อถูลูกโป่งเข้ากับเส้นผมอิเล็กตรอนอิสระที่อยู่บนเส้นผมจะเปลี่ยนมาอยู่ บนลูกโป่งแทน และทำให้วัตถุที่เสียอิเล็กตรอน (เส้นผมของเรา) กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่ประจุบวกรับอิเล็กตรอน (ลูกโป่ง) กลายเป็นประจุลบ และดึงดูดกับประจุบวกที่อยู่บนฝาผนังทำให้ลูกโป่งติดค้างอยู่ได้ ลักษณะเช่นเดียวกันนี้เกิดขึ้น เมื่อเราเดินผ่านพรมแล้วมาสัมผัสกับลูกบิดโลหะ อิเล็กตรอนที่เกาะกันอย่างหลวมๆ บนพรมจะกระโดดมาอยู่ที่ตัวของเราทำให้เกิดเป็นขั้วของไฟฟ้า แต่เราจะไม่ทราบจนกระทั่งได้สัมผัสกับลูกบิดประตูโลหะ เพราะ ประจุลบจากตัวเราจะวิ่งผ่านมือไปยังลูกบิด ทำให้เรารู้สึกเหมือนโดยไฟฟ้าช็อตที่เกิดขึ้นด้วย
 
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า

ตัวนำไฟฟ้า

ตัวนำ (Conductor) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย หรือวัตถุที่มีความต้านทานต่ำ ได้แก่ ทองแดง อลูมิเนียม ทอง และเงิน ซึ่งเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดีที่สุด แต่ในสายไฟทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวนำ เพราะตัวนำที่ทำจากจะเงินมีราคาแพง

ฉนวนไฟฟ้า

ฉนวน (Insulator) คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรือ อุปกรณ์ที่ไม่สามารถยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปได้ หรือ ต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าไม่ให้ผ่านไปได้ ได้แก่ ไม้แห้ง พลาสติก, ยาง, แก้ว และกระดาษแห้ง เป็นต้น 
 

แหล่งที่มาของภาพ : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/conduct-1...

http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/electromagnetism/IMAGE/im1/Insulat-....

 

สารกึ่งตัวนำ

สารกึ่งตัวนำเป็นสารที่มีคุณสมบัติอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เช่น ซิลิกอน เยอรมันเนียม เทลลูเนียมเป็นต้น สารดังกล่าวเหล่านี้มีคุณสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ คือมีจำนวนอิเล็กตรอนอิสระอยู่น้อยจึงไม่สามารถให้กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวน มาก ฉะนั้นลำพังสารนี้อย่างเดียวแล้วไม่สามารถทำประโยชน์อะไรได้มากนัก ดังนั้น เพื่อที่จะให้ได้กระแสไฟฟ้าไหลเป็นจำนวนมากเราจึงต้องมีการปรุงแต่งโดยการ เจือปนอะตอมของธาตุอื่นลงไปในเนื้อสารเนื้อเดียวเหล่านี้ หรือเอาอะตอมของธาตุบางชนิดมาทำปฏิกิริยากันให้ได้สารประกอบที่มีคุณสมบัติ ตามที่ต้องการ สารกึ่งตัวนำที่สร้างขึ้นโดยวิธีดังกล่าวนี้เรียกว่า สารกึ่งตัวนำไม่บริสุทธิ์ หรือสารกึ่งตัวนำแบบสารประกอบตามลำดับ ซึ่งจะเป็นสารที่ใช้ทำทรานซิสเตอร์ และไดโอดชนิดต่าง ๆ 

 

สร้างโดย: 
คุณครู สุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาวจิรัชญา ตั้งเจตสกาว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 255 คน กำลังออนไลน์