• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b0e550dae07199effb8ea8362e67bcc8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/kambalisansaklit3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 625px; height: 333px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/87996\"><img height=\"267\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/2.gif\" border=\"0\" style=\"width: 202px; height: 138px\" /></a> <a href=\"/node/87998\"><img height=\"267\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/3.gif\" border=\"0\" style=\"width: 203px; height: 138px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/88004\"><img height=\"267\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/1-1.gif\" border=\"0\" style=\"width: 205px; height: 137px\" /></a> <a href=\"/node/89317\"><img height=\"267\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/exercise.gif\" border=\"0\" style=\"width: 202px; height: 138px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><img height=\"257\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/sansakit.gif\" border=\"0\" style=\"width: 221px; height: 136px\" />      \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\">วิธีสังเกตคำสันสกฤต</span></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #800080\">1.    พยัญชนะสันกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว  + 2 ตัว  คือ ศ, ษ <br />\n ฉะนั้นจึงสังเกตจากตัว ศ, ษ  มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น กษัตริย์ ศึกษา เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เป็นต้น  ยกเว้นคำไทยบางคำที่ใช้เขียนด้วยพยัญชนะทั้ง 2 ตัวนี้ เช่น  ศอก  ศึก  ศอ  เศร้า  ศก ดาษ  กระดาษ  ฝรั่งเศส ฝีดาษ  ฯลฯ<br />\n      2. ไม่มีหลักการสะกดแน่นอน  ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้ามวรรคกันได้<br />\nไม่กำหนดตายตัว เช่น  อัปสร  เกษตร  ปรัชญา  อักษร เป็นต้น<br />\n      3. สังเกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี  8  ตัว  คือ  อะ  อา  อิ  อี  อุ  อู  เอ  โอ  <br />\nส่วนสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี  8 ตัว +  เพิ่มอีก 6  ตัว  คือ สระ ฤ  ฤา ภ ภา   ไอ  เอา <br />\nถ้ามีสระเหล่านี้อยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์<br />\nเสาร์  ไปรษณีย์  ฤาษี  คฤหาสน์ เป็นต้น<br />\n      4.สังเกตจากพยัญชนะควบกล้ำ ภาษาสันสกฤตมักจะมีคำควบกล้ำข้างท้าย เช่น<br />\nจักร  อัคร  บุตร  สตรี  ศาสตร์  อาทิตย์  จันทร์ เป็นต้น<br />\n      5.สังเกตจากคำที่มีคำว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น เคราะห์ พิเคราะห์<br />\nสังเคราะห์  อนุเคราะห์  เป็นต้น<br />\n      6. สังเกตจากคำที่มี  “ฑ”  อยู่  เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล เป็นต้น<br />\n      7.สังเกตจากคำที่มี  “รร”  อยู่ เช่น สรรค์  ธรรม์  วรรณ บรรพต ภรรยา บรรณารักษ์<br />\nมรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800080\"><a href=\"/node/82908\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"400\" width=\"400\" src=\"/files/u42662/homezn9.png\" border=\"0\" style=\"width: 217px; height: 174px\" />\n</div>\n<p><span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1720139558, expire = 1720225958, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b0e550dae07199effb8ea8362e67bcc8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำสันสกฤต

 
 

      

 

วิธีสังเกตคำสันสกฤต


       1.    พยัญชนะสันกฤต มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว  + 2 ตัว  คือ ศ, ษ
 ฉะนั้นจึงสังเกตจากตัว ศ, ษ  มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น กษัตริย์ ศึกษา เกษียร พฤกษ์ ศีรษะ เป็นต้น  ยกเว้นคำไทยบางคำที่ใช้เขียนด้วยพยัญชนะทั้ง 2 ตัวนี้ เช่น  ศอก  ศึก  ศอ  เศร้า  ศก ดาษ  กระดาษ  ฝรั่งเศส ฝีดาษ  ฯลฯ
      2. ไม่มีหลักการสะกดแน่นอน  ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้ามวรรคกันได้
ไม่กำหนดตายตัว เช่น  อัปสร  เกษตร  ปรัชญา  อักษร เป็นต้น
      3. สังเกตจากสระ สระในภาษาบาลี มี  8  ตัว  คือ  อะ  อา  อิ  อี  อุ  อู  เอ  โอ 
ส่วนสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี  8 ตัว +  เพิ่มอีก 6  ตัว  คือ สระ ฤ  ฤา ภ ภา   ไอ  เอา
ถ้ามีสระเหล่านี้อยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์
เสาร์  ไปรษณีย์  ฤาษี  คฤหาสน์ เป็นต้น
      4.สังเกตจากพยัญชนะควบกล้ำ ภาษาสันสกฤตมักจะมีคำควบกล้ำข้างท้าย เช่น
จักร  อัคร  บุตร  สตรี  ศาสตร์  อาทิตย์  จันทร์ เป็นต้น
      5.สังเกตจากคำที่มีคำว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น เคราะห์ พิเคราะห์
สังเคราะห์  อนุเคราะห์  เป็นต้น
      6. สังเกตจากคำที่มี  “ฑ”  อยู่  เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล เป็นต้น
      7.สังเกตจากคำที่มี  “รร”  อยู่ เช่น สรรค์  ธรรม์  วรรณ บรรพต ภรรยา บรรณารักษ์
มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น

 

สร้างโดย: 
สิริดา นางสาวศรีสวาสดิ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 608 คน กำลังออนไลน์