• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3eaf597c5c9451b4ed01b643f6a320ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u31259/anigif_7.gif\" height=\"150\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"/node/87541\"><img border=\"0\" width=\"128\" src=\"/files/u31259/anigif_0.gif\" height=\"139\" style=\"width: 100px; height: 111px\" /></a><a href=\"/node/87545\"><img border=\"0\" width=\"128\" src=\"/files/u31259/anigif_1.gif\" height=\"139\" style=\"width: 101px; height: 111px\" /></a><a href=\"/node/87549\"><img border=\"0\" width=\"128\" src=\"/files/u31259/anigif_3.gif\" height=\"139\" style=\"width: 103px; height: 110px\" /></a><a href=\"/node/87556\"><img border=\"0\" width=\"128\" src=\"/files/u31259/anigif_4.gif\" height=\"139\" style=\"width: 103px; height: 112px\" /></a><a href=\"/node/87565\"><img border=\"0\" width=\"128\" src=\"/files/u31259/anigif_5.gif\" height=\"139\" style=\"width: 108px; height: 108px\" /></a>  </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; color: #2b3220; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 20pt; color: #2b3220; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\">น.ม.ส.</span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 20pt; color: #2b3220; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 20pt\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"188\" src=\"/files/u31259/Z26JCA5FC08QCAMQMVTLCAC02KEICASY8PUECAYYTVR3.jpg\" height=\"268\" /> \n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แหล่งที่มาของภาพ</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> <span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:2WLm8WThdg8sfM::&amp;t=1&amp;usg=__zRGkdzKJq13DtkTyX1NFsAzz8Ig\"><span lang=\"EN-US\"><span style=\"color: #0000ff\">http://t</span><span>2.</span><span lang=\"EN-US\">gstatic.com/imagesq=tbn:</span><span>2</span><span lang=\"EN-US\">WLm</span><span>8</span><span lang=\"EN-US\">WThdg</span><span>8</span><span lang=\"EN-US\">sfM::&amp;t=</span><span>1</span><span lang=\"EN-US\">&amp;usg=__zRGkdzKJq</span><span>13</span><span lang=\"EN-US\">DtkTyX</span><span>1</span><span lang=\"EN-US\">NFsAzz</span><span>8</span><span lang=\"EN-US\">Ig</span></span></a></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #2b3220; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"> <span lang=\"TH\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #339966\"> </span></span></span></span></span></span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประวัติผู้แต่ง</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: LilyUPC\" lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>กรมหมื่นพิทยาลงกรณเป็นพระโอรสในกรมพระราชวังบวรฯ<span>  </span>บวรวิไชยชาญ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">กับจอมมารดาเลี่ยม<span>  </span>(เล็ก)<span>  </span>มีเจ้าพี่ร่วมจอมารดาเดียวกันพระองค์หนึ่ง<span>  </span>คือ<span>  </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พระองค์เจ้าภัททาวดีศรีราชะดาซึ่งมีพระชันษาแก่กว่า<span>  </span>๕<span>  </span>ปี</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>               </span>กรมพระราชวังบวรฯ<span>  </span>พวรวิไชยาญ<span>  </span>เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ใน</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว<span>  </span>ซึ่งเป็นพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<span>  </span>รัชกาลที่<span>  </span>๔<span>  </span>ส่วนจอมมารดาเลี่ยม<span>  </span>(เล็ก)<span>  </span>เป็นกุลสตรี</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ในสกุล &quot;ชูโต&quot;<span>  </span>ทางฝ่ายบิดา<span>  </span>และสกุล<span>  </span>&quot;สโรบล&quot;<span>  </span>ทางฝ่ายมารดา</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>                </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">นิทานเวตาล<span>  </span>พระนิพนธ์ของพระราชวงศ์เธอ<span>  </span>กรมหมื่นพิทยาลงกรรหรือ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">น.มส.<span>  </span>เป็นนิทานที่ได้รับความนิยมอย่างสูง<span>  </span>ดังคำนำของสำนัพิมพ์คลังวิทยา<span>  </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">(กรมหมื่นพิทยาลงกรณ<span>  </span>๒๕๑๘<span>  </span>:<span>  </span>คำนำ)<span>  </span>กล่าว่า<span>  </span>&quot;นิมทานเวตาล<span>  </span>พระนิพนธ์</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ของกรมหมื่นพิทยาลงกรณเรื่องนี้<span>  </span>ปรากฎเป็นที่นิยมอ่านของชาวไทยเราเป็น</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อันมาก<span>  </span>จัดว่าเป็นยอดนิทานเรื่องหนึ่งที่อ่านกันได้เพลิดเพลิน<span>  </span>และได้สติ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ดังนั้นนผู้เขียนจึงสนใที่จะศึกษาและนำเสนอว่า<span>  </span>มีสุนทรีรสในบทพระราชนิพนธ์นี้</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อย่างไรจึทำให้ได้รับความนิบยมสูงเช่นนั้น<span>  </span>โดยเน้นการพิจารนารสคำและรสความ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นสำคัญ</span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>                </span>ในการพิจารณาวรรณคดีหรือวรรณกรรมนั้น<span>  </span>มีหลักเกณฑ์<span>  </span>ทฤษฎี<span>  </span>และ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แนวการพิจารณาในรายละเอียดต่างๆมากมาย<span>  </span>แตกต่างกันออกไปตามแนวทาง</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การศึกษาของแต่ละบุคคลแล้วแต่กรณี<span>  </span>แต่ดดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบในการ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พิจารณา<span>  </span>๒<span>  </span>ประการใหญ่ๆ<span>  </span>คือ<span>  </span>รูปแบบ<span>  </span>และเนื้อหา<span>  </span>ในด้านรุปแบบนั้นจะ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พิจารราที่รูปแบบการประพันธ์<span>  </span>เช่น<span>  </span>นวนิยาย<span>  </span>เรื่องสั้น<span>  </span>สารคดี<span>  </span>ฯลฯ<span>  </span>รวมทั้ง</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ศิลปะการประพันธ์<span>  </span>ทั้งนี้ผู้ศึกษาบางคนอาจแยกรูปแบบการประพันธ์<span>  </span>กับ</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ศิลปะการประพันธ์<span>  </span>ออกจากกันก็ได้<span>  </span>ส่วนในด้านเนื้อหานั้นจะพิจารณาที่เนื้อหา</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หรือเนื้อเรื่องของงานประพันธ์นั้นๆ<span>  </span>อย่างไรก็ดการพิจารณาองค์ประกอบทั้ง </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">๒<span>  </span>ประการดังกล่าวไม่สามารถที่จะแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจน<span>  </span>เพราะงาน</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประพันธ์เกิดขึ้นจากการผสมกลมกลืนของรูปแบบและภาษาอย่างมีศิลปะ</span></span>\n</p>\n<p>\n           <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">กรมหมื่นพิทยาลงกรณ<span>  </span>(๒๕๑๔<span>  </span>:<span>  </span>๓๑๖-๓๑๘)<span>  </span>ทรงอธิบายรสแห่งกวีนิพนธ์ไว้</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สรุปได้ความว่า รส (รส) ในทางกวีนิพนธ์อาจจำแนกได้เป็น<span>  </span>รสคำและรสความ<span>  </span>เกิดจากผจงร้อยกรองถ้อยคำอย่างเสนาะเพราะพริ้งเป็นเครื่องเพลินใจแก่ผู้อ่านผู้ยิน<span>  </span>ทำให้เกิดปรีดาปราโมทย์<span>  </span>ส่วน รสความนั้นเกิดจากความหมายหรือใจความสะกิดผู้อ่าน<span>  </span>ผู้ฟัง<span>  </span>ให้คิดหรือเห็นจริง </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span></span> <span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                </span>เรื่อง<span>  </span>นิทานเวตาล<span>  </span>ของ น.ม.ส. เป็นบทพระนิพนธ์ที่ทรงคุณค่าทั้งในด้านอรรถรส<span>  </span>คือความหมายหรือเนื้อหาสาระอันให้ประโยชน์ทางความรู้ ความคิด คติเตือนใจ<span>  </span>ที่ะสามารถยกระดับจิตใจของผู้อ่าน<span>  </span>และสุนทรียรส<span>  </span>คือความงามของภาษาอันประกอบขึ้นจากการเรียงร้อยถ้อยคำที่ไพเราะ<span>  </span>กินใจ<span>  </span>ได้อารมณ์สอดคล้องกับเรื่อง<span>  </span>ในเรื่องนี้ ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา (๒๕๑๙ : ๑๓๗-๑๓๘)<span>  </span>ได้กล่าวถึงบทนิพนธ์เรื่องเวตาลนี้ว่า<span>  </span>&quot;เรื่องเวตาล เป็นงานประพันธ์ชิ้นสำคัญที่แสดงลีลาการเขียนร้อยแก้วของ น.ม.ส.<span>  </span>ได้อย่างยอดเยี่ยม...&quot;<span>  </span>ยุพร แสงทักษิณ<span>  </span>การที่บทนิพันธ์ของพระองค์ได้รับการยกย่องว่าดีเด่น<span>  </span>นั้น<span>  </span>เนื่องมาจากเหตุผลสามประการ<span>  </span>คือ<span>  </span>ทรงพระปรีชาสามารถยิ่งในการสรรคำ<span>  </span>สำนวนโวหาร<span>  </span>ทรงแทรกอารมณ์ขัน<span>  </span>และทรงแสดงข้อคิดเห็นส่วนพระองค์ที่ให้ความเพลิดเพลินและเสริมสร้างปัญญาแก่ผู้อ่าน</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u31259/1105188aesmzdyfjb_0.gif\" height=\"64\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\"><a href=\"/node/81856\"><strong><img border=\"0\" width=\"230\" src=\"/files/u31259/HOME.gif\" height=\"230\" style=\"width: 158px; height: 173px\" /></strong></a> </span>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n', created = 1720381506, expire = 1720467906, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3eaf597c5c9451b4ed01b643f6a320ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติผู้แต่ง

 

 

น.ม.ส.

 

แหล่งที่มาของภาพ  http://t2.gstatic.com/imagesq=tbn:2WLm8WThdg8sfM::&t=1&usg=__zRGkdzKJq13DtkTyX1NFsAzz8Ig   

ประวัติผู้แต่ง

                กรมหมื่นพิทยาลงกรณเป็นพระโอรสในกรมพระราชวังบวรฯ  บวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยม  (เล็ก)  มีเจ้าพี่ร่วมจอมารดาเดียวกันพระองค์หนึ่ง  คือ  พระองค์เจ้าภัททาวดีศรีราชะดาซึ่งมีพระชันษาแก่กว่า    ปี

                กรมพระราชวังบวรฯ  พวรวิไชยาญ  เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว  ซึ่งเป็นพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่    ส่วนจอมมารดาเลี่ยม  (เล็ก)  เป็นกุลสตรีในสกุล "ชูโต"  ทางฝ่ายบิดา  และสกุล  "สโรบล"  ทางฝ่ายมารดา                 นิทานเวตาล  พระนิพนธ์ของพระราชวงศ์เธอ  กรมหมื่นพิทยาลงกรรหรือน.มส.  เป็นนิทานที่ได้รับความนิยมอย่างสูง  ดังคำนำของสำนัพิมพ์คลังวิทยา  (กรมหมื่นพิทยาลงกรณ  ๒๕๑๘  :  คำนำ)  กล่าว่า  "นิมทานเวตาล  พระนิพนธ์ของกรมหมื่นพิทยาลงกรณเรื่องนี้  ปรากฎเป็นที่นิยมอ่านของชาวไทยเราเป็นอันมาก  จัดว่าเป็นยอดนิทานเรื่องหนึ่งที่อ่านกันได้เพลิดเพลิน  และได้สติดังนั้นนผู้เขียนจึงสนใที่จะศึกษาและนำเสนอว่า  มีสุนทรีรสในบทพระราชนิพนธ์นี้อย่างไรจึทำให้ได้รับความนิบยมสูงเช่นนั้น  โดยเน้นการพิจารนารสคำและรสความเป็นสำคัญ

                ในการพิจารณาวรรณคดีหรือวรรณกรรมนั้น  มีหลักเกณฑ์  ทฤษฎี  และแนวการพิจารณาในรายละเอียดต่างๆมากมาย  แตกต่างกันออกไปตามแนวทางการศึกษาของแต่ละบุคคลแล้วแต่กรณี  แต่ดดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบในการพิจารณา    ประการใหญ่ๆ  คือ  รูปแบบ  และเนื้อหา  ในด้านรุปแบบนั้นจะพิจารราที่รูปแบบการประพันธ์  เช่น  นวนิยาย  เรื่องสั้น  สารคดี  ฯลฯ  รวมทั้งศิลปะการประพันธ์  ทั้งนี้ผู้ศึกษาบางคนอาจแยกรูปแบบการประพันธ์  กับศิลปะการประพันธ์  ออกจากกันก็ได้  ส่วนในด้านเนื้อหานั้นจะพิจารณาที่เนื้อหาหรือเนื้อเรื่องของงานประพันธ์นั้นๆ  อย่างไรก็ดการพิจารณาองค์ประกอบทั้ง   ประการดังกล่าวไม่สามารถที่จะแยกออกจากกันได้อย่างชัดเจน  เพราะงานประพันธ์เกิดขึ้นจากการผสมกลมกลืนของรูปแบบและภาษาอย่างมีศิลปะ

           กรมหมื่นพิทยาลงกรณ  (๒๕๑๔  :  ๓๑๖-๓๑๘)  ทรงอธิบายรสแห่งกวีนิพนธ์ไว้สรุปได้ความว่า รส (รส) ในทางกวีนิพนธ์อาจจำแนกได้เป็น  รสคำและรสความ  เกิดจากผจงร้อยกรองถ้อยคำอย่างเสนาะเพราะพริ้งเป็นเครื่องเพลินใจแก่ผู้อ่านผู้ยิน  ทำให้เกิดปรีดาปราโมทย์  ส่วน รสความนั้นเกิดจากความหมายหรือใจความสะกิดผู้อ่าน  ผู้ฟัง  ให้คิดหรือเห็นจริง                  เรื่อง  นิทานเวตาล  ของ น.ม.ส. เป็นบทพระนิพนธ์ที่ทรงคุณค่าทั้งในด้านอรรถรส  คือความหมายหรือเนื้อหาสาระอันให้ประโยชน์ทางความรู้ ความคิด คติเตือนใจ  ที่ะสามารถยกระดับจิตใจของผู้อ่าน  และสุนทรียรส  คือความงามของภาษาอันประกอบขึ้นจากการเรียงร้อยถ้อยคำที่ไพเราะ  กินใจ  ได้อารมณ์สอดคล้องกับเรื่อง  ในเรื่องนี้ ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา (๒๕๑๙ : ๑๓๗-๑๓๘)  ได้กล่าวถึงบทนิพนธ์เรื่องเวตาลนี้ว่า  "เรื่องเวตาล เป็นงานประพันธ์ชิ้นสำคัญที่แสดงลีลาการเขียนร้อยแก้วของ น.ม.ส.  ได้อย่างยอดเยี่ยม..."  ยุพร แสงทักษิณ  การที่บทนิพันธ์ของพระองค์ได้รับการยกย่องว่าดีเด่น  นั้น  เนื่องมาจากเหตุผลสามประการ  คือ  ทรงพระปรีชาสามารถยิ่งในการสรรคำ  สำนวนโวหาร  ทรงแทรกอารมณ์ขัน  และทรงแสดงข้อคิดเห็นส่วนพระองค์ที่ให้ความเพลิดเพลินและเสริมสร้างปัญญาแก่ผู้อ่าน

 

สร้างโดย: 
คุุณครูรัตนาภรณ์ ทองอยู่และ น.ส.วิลพรรณ ไพโรจน์พาณิชย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 416 คน กำลังออนไลน์