• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b87e8e74e86fecd6d3b74b39d159a45e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><a href=\"http://null/node/75734\"><strong></strong></a><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"http://null/node/75742\"><strong></strong></a><a href=\"http://null/node/75747\"><strong></strong></a><a href=\"http://null/node/75751\"><strong></strong></a><a href=\"http://null/node/75754\"><strong></strong></a></span></span><a href=\"/node/75734\"><strong><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/1.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 133px; height: 50px\" /></strong></a> <a href=\"http://null/node/75759\"><strong></strong></a><strong> <span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75742\"><strong><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/2.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 127px; height: 52px\" /></strong></a><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75747\"><strong><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/03.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 126px; height: 51px\" /></strong></a><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75751\"><strong><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/04.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 132px; height: 52px\" /></strong></a></span></span></span></span></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75754\"><strong><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/05.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 138px; height: 50px\" /></strong></a></span></span> <span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/75759\"><img border=\"0\" width=\"353\" src=\"/files/u31262/06.jpg\" height=\"80\" style=\"width: 137px; height: 52px\" /></a></span></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #00ccff\"></span></span></strong></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"309\" src=\"/files/u31262/5-2.jpg\" height=\"83\" /> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong> <span style=\"color: #ff99cc\">ฉบับที่ 5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #00ccff\">เกิดขึ้นโดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2491 ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกวุฒิสภา 10 คน สมาชิกสภาผู้แทน 10 คน และจากผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญอีก 4 ประเภท ประเภทละ 5 คน เท่ากับ 20 คน รวมทั้งสิ้น 40 คน มีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยที่จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน แล้วจึงนำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เสนอต่อรัฐสภาเพื่อให้ความเห็นชอบต่อไป</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     <span style=\"color: #99cc00\">รัฐธรรมนูญฉบับที่ร่างขึ้นโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญนี้ ได้ประกาศใช้บังคับเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2492 จำนวน 188 มาตรา ซึ่งนับว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากฉบับหนึ่ง แต่ในที่สุด ก็ถูก &quot;ฉีกทิ้ง&quot; เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 โดยการทำรัฐประหารภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 2 ปี 8 เดือน 6 วัน<br />\n</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"><img border=\"0\" width=\"256\" src=\"/files/u31262/por55.jpg\" height=\"380\" style=\"width: 142px; height: 164px\" /> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\">จอมพล แปลก พิบูลสงคราม </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #ff9900\">ที่มา : </span></span><a href=\"http://kanchanapisek.or.th/kp8/lbr/lbr202.html\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: #ff9900\">http://kanchanapisek.or.th/kp8/lbr/lbr202.html</span></span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\">     หลักการสำคัญ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 1) ให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของทหารทั้งปวง และกำหนดให้มีคณะองคมนตรี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 2) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้านั้น คือ มีการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมากขึ้น โดยได้บัญญัติถึงสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างละเอียดถึง 20 มาตรา ขณะเดียวกันก็กำหนดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย โดยได้บัญญัติขยายให้มากขึ้นด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 3) กำหนดให้มีแนวนโยบายแห่งรัฐเป็นครั้งแรก</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 4) ใช้ระบบรัฐสภาโดยมี 2 สภา สภาสูง ได้แก่ วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 100 คน มีอายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์ โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มีกำหนดวาระ 6 ปี และให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ส่วน สภาผู้แทน นั้น สมาชิกเป็นผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งโดยตรง ตามแบบรวมเขตจังหวัด มีกำหนดวาระ 4 ปี โดยมีข้อห้ามมิให้บุคคลเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนได้ในขณะเดียวกัน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 5) วุฒิสภาไม่มีอำนาจลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล และไม่มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ แต่มีอำนาจยับยั้งพระราชบัญญัติ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 6) สมาชิกวุฒิสภาและสภาผู้แทน มีวิธีเปิดอภิปรายทั่วไปในสภาแห่งตน โดยไม่มีการลงมติ เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญญาอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 7) สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทน จะเป็นข้าราชการประจำมิได้ และรัฐมนตรีจะเป็นข้าราชการประจำมิได้ เป็นการแยกราชการประจำออกจากการเมือง เพื่อป้องกันทหารประจำการไม่ให้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 8) ห้ามสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทน และรัฐมนตรีทำการค้า</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 9) กำหนดให้คณะรัฐมนตรี ขอให้สภาผู้แทนราษฎรยืนยันความไว้วางใจ ภายหลังที่สภาลงมติไว้วางใจในเมื่อแถลงนโยบายไปแล้วได้ และถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับราชการแผ่นดินที่คณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะฟังความคิดเห็นของสมาชิกวุฒิสภาและสภาผู้แทน นายกรัฐมนตรีจะแจ้งไปยังประธานรัฐสภาขอเปิดอภิปรายทั่วไปได้</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 10) กำหนดให้มีคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ เพื่อวินิจฉัยชี้ขาดกฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและทำหน้าที่อื่นๆ ด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"> 11) ให้ประชาชนออกเสียงประชามติเป็นครั้งแรกเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม</span></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/70396\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" height=\"82\" /></a>\n</div>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1720460236, expire = 1720546636, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b87e8e74e86fecd6d3b74b39d159a45e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่5

  

 

 

 ฉบับที่ 5 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492

     เกิดขึ้นโดย สภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2491 ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกวุฒิสภา 10 คน สมาชิกสภาผู้แทน 10 คน และจากผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญอีก 4 ประเภท ประเภทละ 5 คน เท่ากับ 20 คน รวมทั้งสิ้น 40 คน มีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศเป็นประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยที่จะต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน แล้วจึงนำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่เสนอต่อรัฐสภาเพื่อให้ความเห็นชอบต่อไป

     รัฐธรรมนูญฉบับที่ร่างขึ้นโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญนี้ ได้ประกาศใช้บังคับเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2492 จำนวน 188 มาตรา ซึ่งนับว่าเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยมากฉบับหนึ่ง แต่ในที่สุด ก็ถูก "ฉีกทิ้ง" เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 โดยการทำรัฐประหารภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม รวมอายุการประกาศและบังคับใช้ 2 ปี 8 เดือน 6 วัน

 

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม

ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp8/lbr/lbr202.html

     หลักการสำคัญ

 1) ให้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของทหารทั้งปวง และกำหนดให้มีคณะองคมนตรี ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์

 2) รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีลักษณะพิเศษแตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้านั้น คือ มีการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมากขึ้น โดยได้บัญญัติถึงสิทธิและเสรีภาพไว้อย่างละเอียดถึง 20 มาตรา ขณะเดียวกันก็กำหนดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย โดยได้บัญญัติขยายให้มากขึ้นด้วย

 3) กำหนดให้มีแนวนโยบายแห่งรัฐเป็นครั้งแรก

 4) ใช้ระบบรัฐสภาโดยมี 2 สภา สภาสูง ได้แก่ วุฒิสภา ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 100 คน มีอายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์ โดยพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มีกำหนดวาระ 6 ปี และให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ส่วน สภาผู้แทน นั้น สมาชิกเป็นผู้ที่ราษฎรเลือกตั้งโดยตรง ตามแบบรวมเขตจังหวัด มีกำหนดวาระ 4 ปี โดยมีข้อห้ามมิให้บุคคลเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนได้ในขณะเดียวกัน

 5) วุฒิสภาไม่มีอำนาจลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล และไม่มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ แต่มีอำนาจยับยั้งพระราชบัญญัติ

 6) สมาชิกวุฒิสภาและสภาผู้แทน มีวิธีเปิดอภิปรายทั่วไปในสภาแห่งตน โดยไม่มีการลงมติ เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญญาอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน

 7) สมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทน จะเป็นข้าราชการประจำมิได้ และรัฐมนตรีจะเป็นข้าราชการประจำมิได้ เป็นการแยกราชการประจำออกจากการเมือง เพื่อป้องกันทหารประจำการไม่ให้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

 8) ห้ามสมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทน และรัฐมนตรีทำการค้า

 9) กำหนดให้คณะรัฐมนตรี ขอให้สภาผู้แทนราษฎรยืนยันความไว้วางใจ ภายหลังที่สภาลงมติไว้วางใจในเมื่อแถลงนโยบายไปแล้วได้ และถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับราชการแผ่นดินที่คณะรัฐมนตรีเห็นสมควรจะฟังความคิดเห็นของสมาชิกวุฒิสภาและสภาผู้แทน นายกรัฐมนตรีจะแจ้งไปยังประธานรัฐสภาขอเปิดอภิปรายทั่วไปได้

 10) กำหนดให้มีคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ เพื่อวินิจฉัยชี้ขาดกฎหมายที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญและทำหน้าที่อื่นๆ ด้วย

 11) ให้ประชาชนออกเสียงประชามติเป็นครั้งแรกเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญที่แก้ไขเพิ่มเติม

 


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 401 คน กำลังออนไลน์