• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:112c82f3e833ad0af6e614a96bc24803' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">เข้าใจเรื่องพลังงาน</span></strong>  </span>\n</p>\n<p>\n   ก่อนที่เราจะเข้าใจได้อย่างถูกต้องว่าน้ำหนักของคนเราจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้อย่างไร เราจำเป็นที่จะต้องทำความรู้จักกับคำสองคำ<br />\nที่สำคัญที่สุด เพราะน้ำหนักเราจะเพิ่มหรือลดขึ้นอยู่กับสองอย่างนี้เท่านั้นคือ “พลังงานที่ได้จากอาหารที่ทาน” กับ <br />\n“พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญ” (หรือจะเรียกสั้นๆว่า “พลังงานที่ทาน” กับ “พลังงานที่ใช้”)\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #666699\">หน่วยของพลังงาน</span></u><br />\n    หน่วยของพลังงานจะมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่าเป็นพลังงานในเรื่องใด ในส่วนของพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการลดน้ำหนักเราจะ<br />\nใช้หน่วยที่ชื่อว่า กิโลแคลอรี่\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #666699\">พลังงานที่ได้จากอาหาร<br />\n</span></u>    ก่อนที่จะทำความรู้จักพลังงานที่ได้จากอาหาร เราจำเป็นต้องทบทวนความรู้พื้นฐานทางสุขศึกษานั่นคือ โดยทั่วไปร่างกายของเราจะ<br />\nต้องการสารอาหารให้ครบ 5 หมู่ นั่นคือ\n</p>\n<p>\n1.       โปรตีน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว ทุกประเภท\n</p>\n<p>\n2.       คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน ผลไม้ ขนมปัง\n</p>\n<p>\n3.       วิตามิน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ผัก ผลไม้ต่างๆ\n</p>\n<p>\n4.       เกลือแร่ ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ผัก ผลไม้ต่างๆ\n</p>\n<p>\n5.       ไขมัน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จากไขมันสัตว์และไขมันพืช\n</p>\n<p>\n    ซึ่งหากแยกตามลักษณะการให้พลังงานจะแยกได้สองกลุ่มก็คือ กลุ่มที่ให้พลังงานซึ่งประกอบไปด้วย โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน <br />\nและกลุ่มที่ไม่ให้พลังงานซึ่งประกอบไปด้วย วิตามิน เกลือแร่(แต่โดยทั่วไปในผลไม้มักจะมีคาร์โบไฮเดรตหรือน้ำตาล เราจึงได้รับทั้ง<br />\nวิตามิน เกลือแร่ และพลังงานด้วย)<br />\n   หากจะเปรียบเทียบกับรถยนต์ที่ต้องการน้ำมัน(หรือกาซ)เป็นพลังงานเพื่อให้รถวิ่งไปได้และต้องการน้ำมันหล่อลื่นต่างๆเพื่อให้<br />\nเครื่องยนต์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />\n   ร่างกายของเราจะทำงานและเคลื่อนไหวได้ก็ต้องการทั้งสารอาหารที่ให้พลังงานเพื่อให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้<br />\n(เหมือนน้ำมันหรือกาซ) และต้องการสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานเพื่อให้อวัยวะต่างๆทำงานได้(เหมือนน้ำมันหล่อลื่น)\n</p>\n<p>\n   โดยสารอาหารกลุ่มที่ให้พลังงานก็จะเป็นตัวกำหนดว่าเราจะได้พลังงานจากอาหารที่เราทานมากแค่ไหน(ได้น้ำมันเท่าไหร่) เช่น <br />\nโปรตีน 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ ไขมัน 1 กรัมให้พลังงาน 9 กิโล<br />\nแคลอรี่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n   พลังงานที่เราได้จากอาหารจึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับ “ ปริมาณหรือน้ำหนัก ” ของอาหารที่ทาน แต่ขึ้นอยู่กับ “ ชนิด ” ของอาหารที่ทาน <br />\nหากทานอาหารปริมาณเท่ากัน อาหารที่มีโปรตีน,คาร์โบไฮเดรต,ไขมันในปริมาณมาก เราจะได้พลังงานมากกว่า อาหารที่มีโปรตีน,<br />\nคาร์โบไฮเดรต,ไขมันในปริมาณน้อย เช่น หมูกรอบ 1 จานอาจให้พลังงานสูงถึง 560 กิโลแคลอรี่ ในขณะที่ผัดถั่วงอกเต้าหู้ 1 จานจะ<br />\nให้พลังงานประมาณ 155 กิโลแคลอรี่ในปริมาณพอๆกัน(ดูตารางแสดงพลังงานที่ได้จากอาหารท้ายเล่ม) หรือบางครั้งเราทานอาหาร<br />\nปริมาณน้อยแต่มีโปรตีน,คาร์โบไฮเดรต,ไขมันมากกว่า เราก็อาจจะได้พลังงานมากกว่าได้ เช่น ไก่ทอดเพียง 1 น่องให้พลังงานถึง <br />\n345 กิโลแคลอรี่ ในขณะที่ยำผักสด 1 จานให้พลังงานเพียง 95 กิโลแคลอรี่เท่านั้น\n</p>\n<p>\n    อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับคนที่มีปัญหาน้ำหนักตัวคือ อาหารที่มีสารอาหารที่ให้พลังงานในปริมาณมาก(มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต <br />\nไขมันมาก) แต่เป็นอาหารที่มีสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานในปริมาณน้อย(มีวิตามิน เกลือแร่น้อย) เช่น สเต็ก(500) แฮมเบอร์เกอร์(<br />\n400) เฟรนช์ฟราย(360) น้ำอัดลม(150) เค้ก(400) คุ้กกี้(100/ชิ้น) ขนมปัง(200) เป็นต้น เพราะอาหารแบบนี้ให้พลังงานสูงและ<br />\nทานแล้วอิ่มไม่นานต้องทานอีก<br />\n   ส่วนอาหารที่ควรทานสำหรับคนที่มีปัญหาน้ำหนักตัวคือ อาหารที่มีสารอาหารที่ให้พลังงานในปริมาณน้อย(มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต <br />\nไขมันน้อย) แต่เป็นอาหารที่มีสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานมาก(มีวิตามิน เกลือแร่มาก) เช่น แกงจืดตำลึงหมูสับ(90) แกงจืดฟักยัดไส้<br />\n(90) ผัดคะน้าปลาเค็ม(200) ฟักตุ๋นไก่มะนาวดอง(125) เป็นต้น เพราะอาหารแบบนี้ให้พลังงานต่ำและทานแล้วอิ่มนานกว่าไม่ต้อง<br />\nทานเพิ่มอีก<br />\n   ยิ่งเราทานอาหารที่ให้พลังงานมากเท่าไหร่เราก็จะยิ่งน้ำหนักเพิ่มง่ายขึ้น และลดน้ำหนักได้ยากขึ้น ยิ่งเราทานอาหารที่ให้พลังงาน<br />\nน้อยเท่าไหร่เราก็จะยิ่งน้ำหนักเพิ่มยากขึ้น และลดน้ำหนักได้ง่ายขึ้น ไม่เกี่ยวกับชนิด ไม่เกี่ยวกับปริมาณ ขึ้นอยู่กับพลังงานอย่างเดียว<br />\nเท่านั้น\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #666699\"><u>พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญ<br />\n</u></span>     พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญบางคนอาจจะได้รู้จักในชื่อว่า เมตาโบลิซึม หากเปรียบเทียบเป็นรถยนต์แล้ว พลังงานที่ร่างกายเผา<br />\nผลาญก็จะคล้ายกับปริมาณน้ำมันที่รถยนต์ใช้ในแต่ละวันนั่นเอง ซึ่งปกติแล้วรถยนต์แต่ละคันจะทานน้ำมันมากน้อยแค่ไหน ก็จะขึ้น<br />\nอยู่กับขนาดของเครื่องยนต์ว่ากี่ซีซี ลักษณะการใช้งานว่าวิ่งด้วยความเร็วแค่ไหน บรรทุกหนักแค่ไหน ใช้วันละกี่ชั่วโมง เครื่องยนต์อายุ<br />\nนานแค่ไหน เป็นต้น<br />\n    ร่างกายเราก็เช่นกัน ในแต่ละวันที่ร่างกายเราทำงานและเคลื่อนไหวเราก็ต้องใช้พลังงานเช่นกัน ปกติแล้วทางการแพทย์จะให้<br />\nตัวเลขว่า โดยเฉลี่ยคนเราจะเผาผลาญพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ อย่างไรก็ตามร่างกายแต่ละคนจะเผาผลาญ(ใช้)พลังงานใน<br />\nแต่ละวันไม่เท่ากัน บางคนอาจจะเผาผลาญเพียง 1,700 กิโลแคลอรี่ บางคนอาจจะเผาผลาญ 2,500 กิโลแคลอรี่ ซึ่งเกิดจากปัจจัย<br />\nหลายอย่าง เช่น กิจกรรมในระหว่างวันที่แตกต่างกัน ร่างกายเราก็จะใช้พลังงานที่ต่างกัน เช่น การนั่งจะใช้พลังงานประมาณ 100 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง การเดินจะใช้พลังงานประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง การวิ่งจะใช้พลังงานประมาณ 400 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง เป็นต้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n   อย่างไรก็ตามปัจจัยที่จะทำให้ร่างกายเราเผาผลาญพลังงานมากหรือน้อยนั้น มีมากมายและซับซ้อนมาก แต่หากเอาเฉพาะเรื่องหลักๆ<br />\nแล้วจะมีดังนี้\n</p>\n<p>\n1.       อายุ คนที่อายุมากขึ้นร่างกายมักจะทำงานน้อยลงจึงเผาผลาญพลังงานน้อยลง\n</p>\n<p>\n2.       กิจกรรมในแต่ละวัน ยิ่งในระหว่างวันเรามีกิจกรรมมากร่างกายเราก็จะเผาผลาญมาก เช่น คนที่ทำงานบ้านและเดินระหว่างวันจะเผาผลาญมากกว่าคนที่นั่งเป็นส่วนใหญ่ และยิ่งกิจกรรมนั้นต้องใช้แรงมากก็จะยิ่งเผาผลาญมากขึ้นด้วย เช่น การออกกำลังกาย การยกของหนัก ร่างกายก็จะเผาผลาญมากกว่า นั่ง นอน สรุปง่ายๆว่าหากใช้แรงมากร่างกายก็จะเผาผลาญพลังงานมาก เหมือนรถยนต์ถ้าใช้งานมากก็จะทานน้ำมันมากกว่าจอดไว้เป็นส่วนใหญ่\n</p>\n<p>\n3.       น้ำหนักตัว หากกิจกรรมในระหว่างวันเท่ากัน คนที่น้ำหนักตัวมากกว่า จะเผาผลาญพลังงานมากกว่า เพราะต้องใช้แรงในการเคลื่อนไหวตัวมากกว่า เหมือนรถยนต์หากวิ่งเท่ากัน รถคันที่บรรทุกน้ำหนักมากกว่าจะทานน้ำมันมากกว่า\n</p>\n<p>\n4.       ปริมาณโปรตีน(กล้ามเนื้อ)ในร่างกาย คนที่มีโปรตีน(กล้ามเนื้อ)ที่มากกว่าร่างกายจะเผาผลาญพลังงานมากกว่า เช่น นักกีฬาเพาะกาย ร่างกายจะเผาผลาญมากกว่าคนทั่วไป โดยเฉลี่ยแล้วโปรตีนในร่างกายที่เพิ่มขึ้น 1 ปอนด์(0.45กิโล)ร่างกายจะเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นประมาณ 14 กิโลแคลอรี่\n</p>\n<p>\n5.       โรคบางประเภท เช่น ไทรอยด์ประเภทหนึ่งจะทำให้ร่างกายเผาผลาญน้อยกว่าปกติ ในขณะที่ไทรอยด์อีกประเภทหนึ่งจะทำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานมากกว่าปกติ เป็นต้น\n</p>\n<p>\n6.       ยาบางประเภท เช่น ยาคุมกำเนิดบางยี่ห้อก็ส่งผลให้ร่างกายเราเผาผลาญได้น้อยลงหรือยาบางชนิด เช่นยาแก้แพ้ก็อาจมีส่วนผสมของสเตอร์รอย ก็จะส่งผลต่อการลดน้ำหนักของเราได้เช่นกัน\n</p>\n<p>\n    ขอให้จำเอาไว้ว่า การเผาผลาญพลังงานในแต่ละวัน ยิ่งมากเท่าไหร่ก็จะยิ่งทำให้เราลดน้ำหนักได้ง่ายขึ้น และจะยิ่งทำให้น้ำหนัก<br />\nของเราเพิ่มได้ยากขึ้น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                           <a href=\"/node/42710\"><img border=\"0\" width=\"47\" src=\"/files/u19759/back.jpg\" height=\"19\" style=\"width: 38px; height: 19px\" /></a>   <a href=\"/node/42710\"><img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/files/u19759/home.jpg\" height=\"20\" style=\"width: 51px; height: 20px\" /></a>  <a href=\"/node/50097\"><img border=\"0\" width=\"46\" src=\"/files/u19759/next.jpg\" height=\"23\" style=\"width: 44px; height: 22px\" /></a><a href=\"http://www.lodnumnuk.com/index.php?mo=3&amp;art=290238\"></a>\n</p>\n', created = 1715517053, expire = 1715603453, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:112c82f3e833ad0af6e614a96bc24803' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เข้าใจเรื่องพลังงาน

เข้าใจเรื่องพลังงาน 

   ก่อนที่เราจะเข้าใจได้อย่างถูกต้องว่าน้ำหนักของคนเราจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้อย่างไร เราจำเป็นที่จะต้องทำความรู้จักกับคำสองคำ
ที่สำคัญที่สุด เพราะน้ำหนักเราจะเพิ่มหรือลดขึ้นอยู่กับสองอย่างนี้เท่านั้นคือ “พลังงานที่ได้จากอาหารที่ทาน” กับ
“พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญ” (หรือจะเรียกสั้นๆว่า “พลังงานที่ทาน” กับ “พลังงานที่ใช้”)

หน่วยของพลังงาน
    หน่วยของพลังงานจะมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่าเป็นพลังงานในเรื่องใด ในส่วนของพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการลดน้ำหนักเราจะ
ใช้หน่วยที่ชื่อว่า กิโลแคลอรี่

พลังงานที่ได้จากอาหาร
    ก่อนที่จะทำความรู้จักพลังงานที่ได้จากอาหาร เราจำเป็นต้องทบทวนความรู้พื้นฐานทางสุขศึกษานั่นคือ โดยทั่วไปร่างกายของเราจะ
ต้องการสารอาหารให้ครบ 5 หมู่ นั่นคือ

1.       โปรตีน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว ทุกประเภท

2.       คาร์โบไฮเดรต ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ข้าว แป้ง น้ำตาล เผือก มัน ผลไม้ ขนมปัง

3.       วิตามิน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ผัก ผลไม้ต่างๆ

4.       เกลือแร่ ได้แก่ผลิตภัณฑ์จาก ผัก ผลไม้ต่างๆ

5.       ไขมัน ได้แก่ผลิตภัณฑ์จากไขมันสัตว์และไขมันพืช

    ซึ่งหากแยกตามลักษณะการให้พลังงานจะแยกได้สองกลุ่มก็คือ กลุ่มที่ให้พลังงานซึ่งประกอบไปด้วย โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน
และกลุ่มที่ไม่ให้พลังงานซึ่งประกอบไปด้วย วิตามิน เกลือแร่(แต่โดยทั่วไปในผลไม้มักจะมีคาร์โบไฮเดรตหรือน้ำตาล เราจึงได้รับทั้ง
วิตามิน เกลือแร่ และพลังงานด้วย)
   หากจะเปรียบเทียบกับรถยนต์ที่ต้องการน้ำมัน(หรือกาซ)เป็นพลังงานเพื่อให้รถวิ่งไปได้และต้องการน้ำมันหล่อลื่นต่างๆเพื่อให้
เครื่องยนต์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
   ร่างกายของเราจะทำงานและเคลื่อนไหวได้ก็ต้องการทั้งสารอาหารที่ให้พลังงานเพื่อให้ร่างกายเคลื่อนไหวได้
(เหมือนน้ำมันหรือกาซ) และต้องการสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานเพื่อให้อวัยวะต่างๆทำงานได้(เหมือนน้ำมันหล่อลื่น)

   โดยสารอาหารกลุ่มที่ให้พลังงานก็จะเป็นตัวกำหนดว่าเราจะได้พลังงานจากอาหารที่เราทานมากแค่ไหน(ได้น้ำมันเท่าไหร่) เช่น
โปรตีน 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน 1 กรัมให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่ ไขมัน 1 กรัมให้พลังงาน 9 กิโล
แคลอรี่

 


   พลังงานที่เราได้จากอาหารจึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับ “ ปริมาณหรือน้ำหนัก ” ของอาหารที่ทาน แต่ขึ้นอยู่กับ “ ชนิด ” ของอาหารที่ทาน
หากทานอาหารปริมาณเท่ากัน อาหารที่มีโปรตีน,คาร์โบไฮเดรต,ไขมันในปริมาณมาก เราจะได้พลังงานมากกว่า อาหารที่มีโปรตีน,
คาร์โบไฮเดรต,ไขมันในปริมาณน้อย เช่น หมูกรอบ 1 จานอาจให้พลังงานสูงถึง 560 กิโลแคลอรี่ ในขณะที่ผัดถั่วงอกเต้าหู้ 1 จานจะ
ให้พลังงานประมาณ 155 กิโลแคลอรี่ในปริมาณพอๆกัน(ดูตารางแสดงพลังงานที่ได้จากอาหารท้ายเล่ม) หรือบางครั้งเราทานอาหาร
ปริมาณน้อยแต่มีโปรตีน,คาร์โบไฮเดรต,ไขมันมากกว่า เราก็อาจจะได้พลังงานมากกว่าได้ เช่น ไก่ทอดเพียง 1 น่องให้พลังงานถึง
345 กิโลแคลอรี่ ในขณะที่ยำผักสด 1 จานให้พลังงานเพียง 95 กิโลแคลอรี่เท่านั้น

    อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับคนที่มีปัญหาน้ำหนักตัวคือ อาหารที่มีสารอาหารที่ให้พลังงานในปริมาณมาก(มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ไขมันมาก) แต่เป็นอาหารที่มีสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานในปริมาณน้อย(มีวิตามิน เกลือแร่น้อย) เช่น สเต็ก(500) แฮมเบอร์เกอร์(
400) เฟรนช์ฟราย(360) น้ำอัดลม(150) เค้ก(400) คุ้กกี้(100/ชิ้น) ขนมปัง(200) เป็นต้น เพราะอาหารแบบนี้ให้พลังงานสูงและ
ทานแล้วอิ่มไม่นานต้องทานอีก
   ส่วนอาหารที่ควรทานสำหรับคนที่มีปัญหาน้ำหนักตัวคือ อาหารที่มีสารอาหารที่ให้พลังงานในปริมาณน้อย(มีโปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ไขมันน้อย) แต่เป็นอาหารที่มีสารอาหารที่ไม่ให้พลังงานมาก(มีวิตามิน เกลือแร่มาก) เช่น แกงจืดตำลึงหมูสับ(90) แกงจืดฟักยัดไส้
(90) ผัดคะน้าปลาเค็ม(200) ฟักตุ๋นไก่มะนาวดอง(125) เป็นต้น เพราะอาหารแบบนี้ให้พลังงานต่ำและทานแล้วอิ่มนานกว่าไม่ต้อง
ทานเพิ่มอีก
   ยิ่งเราทานอาหารที่ให้พลังงานมากเท่าไหร่เราก็จะยิ่งน้ำหนักเพิ่มง่ายขึ้น และลดน้ำหนักได้ยากขึ้น ยิ่งเราทานอาหารที่ให้พลังงาน
น้อยเท่าไหร่เราก็จะยิ่งน้ำหนักเพิ่มยากขึ้น และลดน้ำหนักได้ง่ายขึ้น ไม่เกี่ยวกับชนิด ไม่เกี่ยวกับปริมาณ ขึ้นอยู่กับพลังงานอย่างเดียว
เท่านั้น

 พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญ
     พลังงานที่ร่างกายเผาผลาญบางคนอาจจะได้รู้จักในชื่อว่า เมตาโบลิซึม หากเปรียบเทียบเป็นรถยนต์แล้ว พลังงานที่ร่างกายเผา
ผลาญก็จะคล้ายกับปริมาณน้ำมันที่รถยนต์ใช้ในแต่ละวันนั่นเอง ซึ่งปกติแล้วรถยนต์แต่ละคันจะทานน้ำมันมากน้อยแค่ไหน ก็จะขึ้น
อยู่กับขนาดของเครื่องยนต์ว่ากี่ซีซี ลักษณะการใช้งานว่าวิ่งด้วยความเร็วแค่ไหน บรรทุกหนักแค่ไหน ใช้วันละกี่ชั่วโมง เครื่องยนต์อายุ
นานแค่ไหน เป็นต้น
    ร่างกายเราก็เช่นกัน ในแต่ละวันที่ร่างกายเราทำงานและเคลื่อนไหวเราก็ต้องใช้พลังงานเช่นกัน ปกติแล้วทางการแพทย์จะให้
ตัวเลขว่า โดยเฉลี่ยคนเราจะเผาผลาญพลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี่ อย่างไรก็ตามร่างกายแต่ละคนจะเผาผลาญ(ใช้)พลังงานใน
แต่ละวันไม่เท่ากัน บางคนอาจจะเผาผลาญเพียง 1,700 กิโลแคลอรี่ บางคนอาจจะเผาผลาญ 2,500 กิโลแคลอรี่ ซึ่งเกิดจากปัจจัย
หลายอย่าง เช่น กิจกรรมในระหว่างวันที่แตกต่างกัน ร่างกายเราก็จะใช้พลังงานที่ต่างกัน เช่น การนั่งจะใช้พลังงานประมาณ 100 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง การเดินจะใช้พลังงานประมาณ 200 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง การวิ่งจะใช้พลังงานประมาณ 400 กิโลแคลอรี่ต่อชั่วโมง เป็นต้น

 

   อย่างไรก็ตามปัจจัยที่จะทำให้ร่างกายเราเผาผลาญพลังงานมากหรือน้อยนั้น มีมากมายและซับซ้อนมาก แต่หากเอาเฉพาะเรื่องหลักๆ
แล้วจะมีดังนี้

1.       อายุ คนที่อายุมากขึ้นร่างกายมักจะทำงานน้อยลงจึงเผาผลาญพลังงานน้อยลง

2.       กิจกรรมในแต่ละวัน ยิ่งในระหว่างวันเรามีกิจกรรมมากร่างกายเราก็จะเผาผลาญมาก เช่น คนที่ทำงานบ้านและเดินระหว่างวันจะเผาผลาญมากกว่าคนที่นั่งเป็นส่วนใหญ่ และยิ่งกิจกรรมนั้นต้องใช้แรงมากก็จะยิ่งเผาผลาญมากขึ้นด้วย เช่น การออกกำลังกาย การยกของหนัก ร่างกายก็จะเผาผลาญมากกว่า นั่ง นอน สรุปง่ายๆว่าหากใช้แรงมากร่างกายก็จะเผาผลาญพลังงานมาก เหมือนรถยนต์ถ้าใช้งานมากก็จะทานน้ำมันมากกว่าจอดไว้เป็นส่วนใหญ่

3.       น้ำหนักตัว หากกิจกรรมในระหว่างวันเท่ากัน คนที่น้ำหนักตัวมากกว่า จะเผาผลาญพลังงานมากกว่า เพราะต้องใช้แรงในการเคลื่อนไหวตัวมากกว่า เหมือนรถยนต์หากวิ่งเท่ากัน รถคันที่บรรทุกน้ำหนักมากกว่าจะทานน้ำมันมากกว่า

4.       ปริมาณโปรตีน(กล้ามเนื้อ)ในร่างกาย คนที่มีโปรตีน(กล้ามเนื้อ)ที่มากกว่าร่างกายจะเผาผลาญพลังงานมากกว่า เช่น นักกีฬาเพาะกาย ร่างกายจะเผาผลาญมากกว่าคนทั่วไป โดยเฉลี่ยแล้วโปรตีนในร่างกายที่เพิ่มขึ้น 1 ปอนด์(0.45กิโล)ร่างกายจะเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นประมาณ 14 กิโลแคลอรี่

5.       โรคบางประเภท เช่น ไทรอยด์ประเภทหนึ่งจะทำให้ร่างกายเผาผลาญน้อยกว่าปกติ ในขณะที่ไทรอยด์อีกประเภทหนึ่งจะทำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานมากกว่าปกติ เป็นต้น

6.       ยาบางประเภท เช่น ยาคุมกำเนิดบางยี่ห้อก็ส่งผลให้ร่างกายเราเผาผลาญได้น้อยลงหรือยาบางชนิด เช่นยาแก้แพ้ก็อาจมีส่วนผสมของสเตอร์รอย ก็จะส่งผลต่อการลดน้ำหนักของเราได้เช่นกัน

    ขอให้จำเอาไว้ว่า การเผาผลาญพลังงานในแต่ละวัน ยิ่งมากเท่าไหร่ก็จะยิ่งทำให้เราลดน้ำหนักได้ง่ายขึ้น และจะยิ่งทำให้น้ำหนัก
ของเราเพิ่มได้ยากขึ้น

 

                                                               

สร้างโดย: 
บัณฑิตา คณาธนานันท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 313 คน กำลังออนไลน์