• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('กัณฑ์ที่7', 'node/50312', '', '3.17.167.114', 0, '5add7bbb89a923e8d3272a6403cc5986', 143, 1717043096) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:096651f0994d80e243513eb72ee90062' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">การแตกตัวของกรด-เบสและนำ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"186\" src=\"http://4.bp.blogspot.com/_c7txcmnR-Fo/SrcBxeqpdVI/AAAAAAAAAA8/sDL3QgXn23g/s320/1.bmp\" height=\"138\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm\">http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่</span><span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>                     กรดแก่-เบสแก่จะมีความสามารถในการละลายน้ำให้สารละลายที่มีไอออนได้มากซึ่งแสดงว่ามีความแรงของกรดหรือเบสสูงในทางการคำนวณถือว่ากรดแก่-เบสแก่แตกตัวได้ร้อยเปอร์เซนต์ดังนั้นในการแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่มีแต่เฉพาะปฏิกิริยาไปข้างหน้าจีงไม่เกิดสมดุลขี้น เช่น\n</p>\n<p align=\"center\">\nNaOH Na+ + OH-\n</p>\n<p align=\"center\">\nKOH K+ + OH-\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>กรดอ่อน-เบสอ่อนเมื่อละลายน้ำจะมีการละลายแตกตัวให้ไอออนในสารละลายได้น้อยคง<br />\nเหลือโมเลกุลของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนอยู่มาก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ คือเกิดสมดุลขึ้นจึงสามารถหาค่าคงที่สมดุลของกรดอ่อน(Ka)หรือค่าคงที่สมดุลของ<br />\nเบสอ่อน(Kb)ได้นอกจากนี้ค่าคงที่ดังกล่าวยังสามารถบอกความแรงของกรดหรือเบสได้อีกด้วย<br />\n-ถ้า Ka ,Kb มากแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงมาก<br />\n-ถ้าKa ,Kb น้อยแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงน้อย\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nHA + H2O = H+ + A-<br />\nKa = [ H+][ A-]/[ HA]\n</p>\n<p align=\"center\">\nBOH + H2O = B+ + OH-<br />\nKb = [ B+][ OH-]/[ BOH]\n</p>\n<p align=\"center\">\n-ในกรณีMonoprotic Acid (HA)\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\nHA + H2O =H3O+ +A-<br />\nKa = [ H3O+][ A-]/[ HA]\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n-ในกรณี Diprotic Acid(H2A);Ka1&gt;Ka2<br />\nH2A + H2O=H3O+ + HA- ;Ka1.(1)<br />\nHA- + H2O =H3O+ + A2- ;Ka2.(2)<br />\nH2A + 2 H2O =2H3O+ + A2- ;Ka\n</p>\n<p align=\"center\">\n-ในกรณี Polyprotic Acid(&gt; H2A )ได้แก่ H3A ;ka1 &gt;ka2 &gt;&gt;ka3<br />\nสรุปสูตรการแตกตัวของกรดอ่อน<br />\n%การแตกตัว = [ H3O+] /Ca x100<br />\n-ในกรณีการแตกตัวของเบสอ่อน\n</p>\n<p align=\"center\">\n%การแตกตัว = [ OH-] /Cb x100\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">การแตกตัวของน้ำ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><br />\n</span>น้ำกลั่น(distilled water)จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมากจึงแตกตัวออกเป็นไอออนได้น้อยดังสมการ<br />\n2H2O =H3O+ + OH-<br />\nK = [ H3O+ ][ OH-]/[ H2O]2<br />\nเนื่องจากน้ำแตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำไม่เปลี่ยนแปลง<br />\nโดย[ H2O]บริสุทธิ์=55.56 mol/dm3<br />\nจาก K[ H2O]2 = [ H3O+ ][ OH-]<br />\nจะได้ kw =[ H3O+ ][ OH-]<br />\nที่อุณหภูมิ 25oc kw = 1.0x10-14<br />\nจากสมการแสดงการแตกตัวของน้ำ พบว่า[ H3O+]และ[ OH-]ที่เกิดขึ้นเท่ากัน<br />\nดังนั้น [ H3O+ ] = [ OH-]<br />\nkw=[ H3O+ ]2 = [ OH-]2<br />\n[ H3O+ ] = [ OH-] <br />\nkw =(1.0x10-14)power1/2<br />\nดังนั้น[ H3O+ ] = [ OH-] =1.0x10-7 mol/dm3<br />\nสารที่เติมในน้ำ [H3O+] mol/dm3 [OH-] mol/dm3<br />\nกรดเบส &gt;1.0x10-7&lt;1.0x10-7 &lt;1.0x10-7&gt;1.0x10-7\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"147\" src=\"http://udata2.postjung.com/udata/0/765/765436/upic-736.gif\" height=\"255\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา <a href=\"http://udata2.postjung.com/udata/0/765/765436/upic-736.gif\">http://udata2.postjung.com/udata/0/765/765436/upic-736.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n**********************************************\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42578\">กรด - เบส คืออะไร </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42579\">คู่กรด – เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42580\">ชนิดของกรดและเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/42581\">ปฏิกิริยาของกรด - เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <a href=\"/node/42619\">ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42662\">กรด  เบส  เกลือ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/42885\">กรด,เบส, ค่า pH </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42899\">สารละลายกรด เบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/42903\">กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/43481\">ความเป็นกรด-เบสของดิน </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <a href=\"/node/44056\">อินดิเคเตอร์ </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44057\">การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44059\">กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44060\">กรด </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44061\">เบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44201\">การไทเทรต กรดเบส </a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"/node/44226\">การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44227\">ลักษณะเฉพาะของเบส</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/44742\">นิยามกรด-เบส <br />\n</a>\n</p>\n', created = 1717043116, expire = 1717129516, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:096651f0994d80e243513eb72ee90062' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแตกตัวของกรด-เบสและนำ

การแตกตัวของกรด-เบสและนำ

ที่มา http://www.thaigoodview.com/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/blank.htm

 

การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
                     กรดแก่-เบสแก่จะมีความสามารถในการละลายน้ำให้สารละลายที่มีไอออนได้มากซึ่งแสดงว่ามีความแรงของกรดหรือเบสสูงในทางการคำนวณถือว่ากรดแก่-เบสแก่แตกตัวได้ร้อยเปอร์เซนต์ดังนั้นในการแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่มีแต่เฉพาะปฏิกิริยาไปข้างหน้าจีงไม่เกิดสมดุลขี้น เช่น

NaOH Na+ + OH-

KOH K+ + OH-

การแตกตัวของกรดอ่อน-เบสอ่อน


กรดอ่อน-เบสอ่อนเมื่อละลายน้ำจะมีการละลายแตกตัวให้ไอออนในสารละลายได้น้อยคง
เหลือโมเลกุลของกรดอ่อนหรือเบสอ่อนอยู่มาก เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ คือเกิดสมดุลขึ้นจึงสามารถหาค่าคงที่สมดุลของกรดอ่อน(Ka)หรือค่าคงที่สมดุลของ
เบสอ่อน(Kb)ได้นอกจากนี้ค่าคงที่ดังกล่าวยังสามารถบอกความแรงของกรดหรือเบสได้อีกด้วย
-ถ้า Ka ,Kb มากแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงมาก
-ถ้าKa ,Kb น้อยแสดงว่ากรดอ่อนหรือเบสอ่อนนั้นมีความแรงน้อย

 


HA + H2O = H+ + A-
Ka = [ H+][ A-]/[ HA]

BOH + H2O = B+ + OH-
Kb = [ B+][ OH-]/[ BOH]

-ในกรณีMonoprotic Acid (HA)


HA + H2O =H3O+ +A-
Ka = [ H3O+][ A-]/[ HA]

 

-ในกรณี Diprotic Acid(H2A);Ka1>Ka2
H2A + H2O=H3O+ + HA- ;Ka1.(1)
HA- + H2O =H3O+ + A2- ;Ka2.(2)
H2A + 2 H2O =2H3O+ + A2- ;Ka

-ในกรณี Polyprotic Acid(> H2A )ได้แก่ H3A ;ka1 >ka2 >>ka3
สรุปสูตรการแตกตัวของกรดอ่อน
%การแตกตัว = [ H3O+] /Ca x100
-ในกรณีการแตกตัวของเบสอ่อน

%การแตกตัว = [ OH-] /Cb x100

 

การแตกตัวของน้ำ


น้ำกลั่น(distilled water)จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมากจึงแตกตัวออกเป็นไอออนได้น้อยดังสมการ
2H2O =H3O+ + OH-
K = [ H3O+ ][ OH-]/[ H2O]2
เนื่องจากน้ำแตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นความเข้มข้นของน้ำไม่เปลี่ยนแปลง
โดย[ H2O]บริสุทธิ์=55.56 mol/dm3
จาก K[ H2O]2 = [ H3O+ ][ OH-]
จะได้ kw =[ H3O+ ][ OH-]
ที่อุณหภูมิ 25oc kw = 1.0x10-14
จากสมการแสดงการแตกตัวของน้ำ พบว่า[ H3O+]และ[ OH-]ที่เกิดขึ้นเท่ากัน
ดังนั้น [ H3O+ ] = [ OH-]
kw=[ H3O+ ]2 = [ OH-]2
[ H3O+ ] = [ OH-]
kw =(1.0x10-14)power1/2
ดังนั้น[ H3O+ ] = [ OH-] =1.0x10-7 mol/dm3
สารที่เติมในน้ำ [H3O+] mol/dm3 [OH-] mol/dm3
กรดเบส >1.0x10-7<1.0x10-7 <1.0x10-7>1.0x10-7

ที่มา http://udata2.postjung.com/udata/0/765/765436/upic-736.gif

 

**********************************************

 

กรด - เบส คืออะไร


คู่กรด – เบส


ชนิดของกรดและเบส


ปฏิกิริยาของกรด - เบส


 ทดสอบความเป็นกรด-เบสกับวัสดุหาง่ายยุค IMF

กรด  เบส  เกลือ

 กรด,เบส, ค่า pH

สารละลายกรด เบส

กรด-เบส ที่พบในชีวิตประจำวัน


ความเป็นกรด-เบสของดิน

 อินดิเคเตอร์

การแตกตัวของกรด-เบสและน้ำ

กรดและเบสทำปฏิกิริยากัน

กรด

เบส

การไทเทรต กรดเบส


การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์

ลักษณะเฉพาะของเบส

นิยามกรด-เบส

สร้างโดย: 
วชิราภรณ์ พอสม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 433 คน กำลังออนไลน์