• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:54b0796bbe2ab25e841570a535656819' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43877\" title=\"Backward : การไทเทรต\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43879\" title=\"Forward : อินดิเคเตอร์กับการไทเทรต(2)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44757\" title=\"Mainpage : การไทเทรตและบัฟเฟอร์\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"454\" src=\"/files/u18699/27_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด – เบส</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">อินดิเคเตอร์กรด-เบสที่เหมาะสมกับการไทเทรตนั้น จะต้องมีค่า pH อยู่ที่จุดกึ่งกลางของช่วงการเปลี่ยนสีที่ใกล้เคียงหรือเท่ากับ pH ที่จุดสมมูลของการไทเทรต นอกจากนี้การเลือกใช้อินดิเคเตอร์ต้องพิจารณาจากสีที่ปรากฎ โดยจะต้องมีความเข้มมากพอที่จะมองเห็นได้ง่าย คือ ต้องสามารถเห็นการเปลี่ยนสีได้ชัดเจน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          การเลือกอินดิเคเตอร์ อาจขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส เพราะที่จุดสมมูลของแต่ละปฏิกิริยานั้นจะมีค่า pH ที่แตกต่างกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          กราฟของการไทเทรตจะช่วยในการเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมได้ เพราะกราฟจะแสดงค่า pH ของสารละลายขณะไทเทรต ตั้งแต่ก่อนจุดสมมูล ที่จุดสมมูล และหลังจุดสมมูล จุดที่มีค่า pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลงไปมาก เรียกว่า จุดสมมูล ซึ่งจุดนี้จะบอกช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ที่จะใช้ ในการเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม จากกราฟของการไทเทรต สามารถแบ่งตามชนิดของปฏิกิริยาได้ ดังนี้ </span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #987017\">1.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่ </span></li>\n</ul>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"416\" src=\"/files/u18699/27_1.gif\" height=\"397\" />\n</div>\n<p>\n<strong>      </strong>  <span style=\"color: #987017\">จากกราฟ ทำให้ทราบว่าค่า pH จะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่จุดใกล้จุดยุติ (ตั้งแต่ pH 4 - 10) ดังนั้นอินดิเคเตอร์ที่มีช่วง pH ของการเปลี่ยนสีอยู่ระหว่าง 4 ถึง 10 จะสามารถนำมาใช้ในการไทเทรตได้ ซึ่งอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม ได้แก่ เมทิลเรด (4.4-6.2), โบรโมไทมอลบลู (6.0-7.5) และฟีนอล์ฟทาลีน(8.2-10.0) ดังภาพ แต่ส่วนใหญ่นิยมใช้ฟีนอล์ฟทาลีน เพราะสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงสีได้ชัดเจนกว่า ส่วนโบรโมคลีซอล กรีน (3.8-5.4) นั้นไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นอินดิเคเตอร์ เพราะช่วงการเปลี่ยนสีจะเกิดก่อนจุดสมมูล ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการบอกจุดยุติ </span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719993221, expire = 1720079621, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:54b0796bbe2ab25e841570a535656819' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อินดิเคเตอร์กับการไทเทรต(1)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 อินดิเคเตอร์กับการไทเทรตกรด – เบส

          อินดิเคเตอร์กรด-เบสที่เหมาะสมกับการไทเทรตนั้น จะต้องมีค่า pH อยู่ที่จุดกึ่งกลางของช่วงการเปลี่ยนสีที่ใกล้เคียงหรือเท่ากับ pH ที่จุดสมมูลของการไทเทรต นอกจากนี้การเลือกใช้อินดิเคเตอร์ต้องพิจารณาจากสีที่ปรากฎ โดยจะต้องมีความเข้มมากพอที่จะมองเห็นได้ง่าย คือ ต้องสามารถเห็นการเปลี่ยนสีได้ชัดเจน

          การเลือกอินดิเคเตอร์ อาจขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยาระหว่างกรด - เบส เพราะที่จุดสมมูลของแต่ละปฏิกิริยานั้นจะมีค่า pH ที่แตกต่างกัน

          กราฟของการไทเทรตจะช่วยในการเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมได้ เพราะกราฟจะแสดงค่า pH ของสารละลายขณะไทเทรต ตั้งแต่ก่อนจุดสมมูล ที่จุดสมมูล และหลังจุดสมมูล จุดที่มีค่า pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลงไปมาก เรียกว่า จุดสมมูล ซึ่งจุดนี้จะบอกช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ที่จะใช้ ในการเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม จากกราฟของการไทเทรต สามารถแบ่งตามชนิดของปฏิกิริยาได้ ดังนี้

  • 1.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสแก่
 

        จากกราฟ ทำให้ทราบว่าค่า pH จะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่จุดใกล้จุดยุติ (ตั้งแต่ pH 4 - 10) ดังนั้นอินดิเคเตอร์ที่มีช่วง pH ของการเปลี่ยนสีอยู่ระหว่าง 4 ถึง 10 จะสามารถนำมาใช้ในการไทเทรตได้ ซึ่งอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม ได้แก่ เมทิลเรด (4.4-6.2), โบรโมไทมอลบลู (6.0-7.5) และฟีนอล์ฟทาลีน(8.2-10.0) ดังภาพ แต่ส่วนใหญ่นิยมใช้ฟีนอล์ฟทาลีน เพราะสามารถสังเกตการเปลี่ยนแปลงสีได้ชัดเจนกว่า ส่วนโบรโมคลีซอล กรีน (3.8-5.4) นั้นไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นอินดิเคเตอร์ เพราะช่วงการเปลี่ยนสีจะเกิดก่อนจุดสมมูล ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการบอกจุดยุติ

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์