• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9f12925bf56eabc1f97e3d020dab14a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43878\" title=\"Forward : อินดิเคเตอร์กับการไทเทรต(1)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44757\" title=\"Mainpage : การไทเทรตและบัฟเฟอร์\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"312\" src=\"/files/u18699/26_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">การไทเทรตกรด - เบส (Acid-base titration)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">การไทเทรตกรด - เบส หมายถึง กระบวนการหาปริมาณของสารในสารละลายตัวอย่าง โดยให้ทำปฏิกิริยากับสารละลายมาตรฐานที่ทราบค่าความเข้มข้นแน่นอนแล้ว จากนั้นจึงอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรด - เบสที่เข้าทำปฏิกิริยากันพอดี มาคำนวณหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารตัวอย่าง <br />\n</span><strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">วิธีการไทเทรตกรด - เบส</span> </strong>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #987017\">คือ นำสารละลายกรด - เบสตัวอย่างที่ต้องการหาปริมาณ มาทำการไทเทรตกับสารละลายเบส - กรดมาตรฐานที่ทราบค่าความเข้มข้น หมายความว่า ถ้าสารละลายตัวอย่างเป็นสารละลายกรด จะต้องใช้สารละลายมาตรฐานที่เป็นเบสมาทำการไทเทรต แล้วบันทึกปริมาตรของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ จากนั้นจึงนำไปคำนวณหาปริมาณของสารตัวอย่าง ในทางตรงกันข้าม ถ้าใช้สารละลายตัวอย่างเป็นเบส ก็จะต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นกรด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          สารละลายมาตรฐานที่ทราบความเข้มข้นแน่นอนแล้ว จะถูกบรรจุอยู่ในเครื่องแก้วที่เรียกว่า บิวเรตต์ ซึ่งจะมีก๊อกไขเปิด - ปิดเพื่อหยดสารละลายมาตรฐานลงมายังขวดรูปกรวยที่บรรจุสารละลายตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ไว้แล้ว ในการไทเทรตจะค่อยๆ หยดสารละลายมาตรฐานลงมาทำปฏิกิริยากับสารละลายตัวอย่างในขวดรูปกรวย เขย่าหรือหมุนขวดรูปกรวยเพื่อให้สารผสมกัน ไทเทรตจนกระทั่งอินดิเคเตอร์เปลี่ยนสีจึงหยุดการไทเทรต จากนั้นให้บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐานที่ใช้ เพื่อนำไปคำนวณหา pH ของสารละลาย</span><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong> <img border=\"0\" width=\"305\" src=\"/files/u18699/26_1.gif\" height=\"473\" /></strong>\n</div>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ปิเปตต์ คือ เครื่องแก้วเชิงปริมาตร ที่ใช้ในการถ่ายเทของเหลวตัวอย่างลงในขวดรูปกรวย ซึ่งปิเปตต์นี้เป็นเครื่องแก้วที่สามารถบอกค่าปริมาตรได้อย่างละเอียด และมีความถูกต้องมากที่สุด โดยจะมีขนาดกัน  เช่น ขนาด 1 cm<sup>3</sup>, 5 cm<sup>3</sup>, 10 cm<sup>3</sup>, 25 cm<sup>3</sup>, 50 cm<sup>3</sup> เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          วิธีใช้ปิเปตต์ จะใช้ลูกยางในการช่วยดูดสารละลาย โดยตอนแรกให้บีบอากาศออกจากลูก จากนั้นจุ่มปลายปิเปตต์ลงในสารละลายที่ต้องการ แล้วค่อยๆ ปล่อยลูกยาง สารละลายจะถูกดูดขึ้นมาในปิเปตต์ เมื่อสารละลายอยู่เหนือขีดบอกปริมาตรที่ต้องการ ดึงลูกยางออก และรีบใช้นิ้วชี้กดที่ปลายปิเปตต์ค่อยๆ ปล่อยสารละลายออกจนถึงขีดบอกปริมาตรที่ต้องการ จากนั้นให้ปล่อยสารละลายออกจากปิเปตต์สู่ขวดรูปกรวยจนหมด</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong> <img border=\"0\" width=\"454\" src=\"/files/u18699/26_2.gif\" height=\"440\" /></strong>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong> <img border=\"0\" width=\"385\" src=\"/files/u18699/26_3.gif\" height=\"349\" /></strong>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" /> </strong>\n</div>\n<p><strong>  </strong></p>\n<p>\n<br />\n<strong>  </strong>\n</p>\n', created = 1719991802, expire = 1720078202, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9f12925bf56eabc1f97e3d020dab14a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การไทเทรต

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 การไทเทรตกรด - เบส (Acid-base titration)

          การไทเทรตกรด - เบส หมายถึง กระบวนการหาปริมาณของสารในสารละลายตัวอย่าง โดยให้ทำปฏิกิริยากับสารละลายมาตรฐานที่ทราบค่าความเข้มข้นแน่นอนแล้ว จากนั้นจึงอาศัยหลักการเกิดปฏิกิริยาระหว่างสารละลายกรด - เบสที่เข้าทำปฏิกิริยากันพอดี มาคำนวณหาความเข้มข้นหรือปริมาณของสารตัวอย่าง
 วิธีการไทเทรตกรด - เบส

          คือ นำสารละลายกรด - เบสตัวอย่างที่ต้องการหาปริมาณ มาทำการไทเทรตกับสารละลายเบส - กรดมาตรฐานที่ทราบค่าความเข้มข้น หมายความว่า ถ้าสารละลายตัวอย่างเป็นสารละลายกรด จะต้องใช้สารละลายมาตรฐานที่เป็นเบสมาทำการไทเทรต แล้วบันทึกปริมาตรของสารละลายมาตรฐานที่ใช้ จากนั้นจึงนำไปคำนวณหาปริมาณของสารตัวอย่าง ในทางตรงกันข้าม ถ้าใช้สารละลายตัวอย่างเป็นเบส ก็จะต้องใช้สารละลายมาตรฐานเป็นกรด

          สารละลายมาตรฐานที่ทราบความเข้มข้นแน่นอนแล้ว จะถูกบรรจุอยู่ในเครื่องแก้วที่เรียกว่า บิวเรตต์ ซึ่งจะมีก๊อกไขเปิด - ปิดเพื่อหยดสารละลายมาตรฐานลงมายังขวดรูปกรวยที่บรรจุสารละลายตัวอย่างที่ต้องการวิเคราะห์ไว้แล้ว ในการไทเทรตจะค่อยๆ หยดสารละลายมาตรฐานลงมาทำปฏิกิริยากับสารละลายตัวอย่างในขวดรูปกรวย เขย่าหรือหมุนขวดรูปกรวยเพื่อให้สารผสมกัน ไทเทรตจนกระทั่งอินดิเคเตอร์เปลี่ยนสีจึงหยุดการไทเทรต จากนั้นให้บันทึกปริมาตรสารละลายมาตรฐานที่ใช้ เพื่อนำไปคำนวณหา pH ของสารละลาย

 

 

          ปิเปตต์ คือ เครื่องแก้วเชิงปริมาตร ที่ใช้ในการถ่ายเทของเหลวตัวอย่างลงในขวดรูปกรวย ซึ่งปิเปตต์นี้เป็นเครื่องแก้วที่สามารถบอกค่าปริมาตรได้อย่างละเอียด และมีความถูกต้องมากที่สุด โดยจะมีขนาดกัน  เช่น ขนาด 1 cm3, 5 cm3, 10 cm3, 25 cm3, 50 cm3 เป็นต้น

          วิธีใช้ปิเปตต์ จะใช้ลูกยางในการช่วยดูดสารละลาย โดยตอนแรกให้บีบอากาศออกจากลูก จากนั้นจุ่มปลายปิเปตต์ลงในสารละลายที่ต้องการ แล้วค่อยๆ ปล่อยลูกยาง สารละลายจะถูกดูดขึ้นมาในปิเปตต์ เมื่อสารละลายอยู่เหนือขีดบอกปริมาตรที่ต้องการ ดึงลูกยางออก และรีบใช้นิ้วชี้กดที่ปลายปิเปตต์ค่อยๆ ปล่อยสารละลายออกจนถึงขีดบอกปริมาตรที่ต้องการ จากนั้นให้ปล่อยสารละลายออกจากปิเปตต์สู่ขวดรูปกรวยจนหมด

 

 

 

 

 

 


 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 468 คน กำลังออนไลน์