• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:501a3225f12a3de3524b90f3fc0575f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43878\" title=\"Backward : อินดิเคเตอร์กับการไทเทรต(1)\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43882\" title=\"Forward : สารละลายบัฟเฟอร์\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44757\" title=\"Mainpage : การไทเทรตและบัฟเฟอร์\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<strong><img border=\"0\" width=\"454\" src=\"/files/u18699/28_0.gif\" height=\"99\" /> </strong>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #987017\">2.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่ </span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          การเลือกอินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตกรดอ่อนนั้นจะมีข้อจำกัดมากกว่า โดยที่จุดสมมูลของการไทเทรต สารละลายจะมีความเป็นเบส จึงทำให้มีค่า pH มากกว่า 7</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"448\" src=\"/files/u18699/28_1.gif\" height=\"399\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">จากกราฟทำให้ทราบว่า เมทิลเรด นั้นจะเปลี่ยนสีก่อนถึงจุดสมมูล ดังนั้นจึงไม่เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นอินดิเคเตอร์ สำหรับฟีนอล์ฟทาลีนจะเปลี่ยนสีที่ช่วงจุดสมมูลพอดี ส่วนโบรโมไทมอลบลูนั้นอาจใช้เป็นอินดิเคเตอร์ได้ดี เมื่อใช้สีมาตรฐานเทียบ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"color: #987017\">3.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน </span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          การเปลี่ยนแปลง pH ของสารละลายขณะไทเทรตเบสอ่อน เมื่อถึงจุดยุติจะได้สารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7</span><strong> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"453\" src=\"/files/u18699/28_2.gif\" height=\"410\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">จากกราฟ ควรพิจารณาช่วง pH 3-7.5 เพื่อใช้ในการเลือกอินดิเคเตอร์ โดยเราอาจใช้โบรโมไทมอลบลู หรือเมทิลเรด แต่ไม่ควรใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเพราะช่วง pH ของฟีนอล์ฟทาลีนมีค่ามากกว่า 7 ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการบอกจุดสมมูลได้</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p> \n</p>\n<p> <strong></strong><strong></strong></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719823689, expire = 1719910089, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:501a3225f12a3de3524b90f3fc0575f2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อินดิเคเตอร์กับการไทเทรต(2)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

  • 2.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดอ่อนกับเบสแก่

          การเลือกอินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตกรดอ่อนนั้นจะมีข้อจำกัดมากกว่า โดยที่จุดสมมูลของการไทเทรต สารละลายจะมีความเป็นเบส จึงทำให้มีค่า pH มากกว่า 7

 

          จากกราฟทำให้ทราบว่า เมทิลเรด นั้นจะเปลี่ยนสีก่อนถึงจุดสมมูล ดังนั้นจึงไม่เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นอินดิเคเตอร์ สำหรับฟีนอล์ฟทาลีนจะเปลี่ยนสีที่ช่วงจุดสมมูลพอดี ส่วนโบรโมไทมอลบลูนั้นอาจใช้เป็นอินดิเคเตอร์ได้ดี เมื่อใช้สีมาตรฐานเทียบ

 

  • 3.อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยาระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อน

          การเปลี่ยนแปลง pH ของสารละลายขณะไทเทรตเบสอ่อน เมื่อถึงจุดยุติจะได้สารละลายที่มีค่า pH น้อยกว่า 7

 

          จากกราฟ ควรพิจารณาช่วง pH 3-7.5 เพื่อใช้ในการเลือกอินดิเคเตอร์ โดยเราอาจใช้โบรโมไทมอลบลู หรือเมทิลเรด แต่ไม่ควรใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเพราะช่วง pH ของฟีนอล์ฟทาลีนมีค่ามากกว่า 7 ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการบอกจุดสมมูลได้

 

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 545 คน กำลังออนไลน์