• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e655091a26415e8266bf61008e415a6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>สาขาอุตสาหกรรมเกษตร</span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ศึกษาถึงองค์ประกอบทางเคมีของอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารแบบต่าง ๆ การใช้ความร้อน การใช้ความดัน การใช้สารเคมี การหมัก การเปลี่ยนแปลงของอาหารที่เกิดขึ้นในระหว่างการเก็บรักษา การแปรรูปสัตว์น้ำ เนื้อสัตว์ ธัญพืช ผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์นม บรรจุภัณฑ์และการออกแบบ กฎหมายอาหาร การประกันคุณภาพ รวมทั้งการสุขาภิบาลในโรงงานอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>สาขาเทคโนโลยีการหมัก</span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ศึกษาถึงความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมอาหาร การใช้ประโยชน์จาก จุลินทรีย์ในการผลิตอาหาร อาหารหมัก การจัดการวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การกำจัดของเสีย การผลิตกรดอินทรีย์ การผลิตก๊าซชีวภาพ การพัฒนาการผลิตอาหารหมัก การควบคุมและลดปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายในการผลิตอาหาร การปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ การออกแบบถังหมัก การควบคุมคุณภาพ รวมถึงการสุขาภิบาลและความปลอดภัยในการผลิตอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>สาขาวิศวกรรมแปรรูปอาหาร</span></u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ศึกษาถึงวิชาเฉพาะทางวิทยาศาสตร์การอาหาร และกระบวนการแปรรูปอาหาร เน้นการประยุกต์หลักการวิศวกรรมแปรรูปอาหาร เช่น เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารด้วยความร้อน ความเย็น การลดความชื้น การกลั่น การสกัด การตกผลึก และการตกตะกอน เป็นต้น ศึกษาการวางแผนและควบคุมการผลิต การออกแบบเครื่องมือและโรงงานอุตสาหกรรม เทคนิคการวัดและเครื่อมือทางวิศวกรรมอาหาร การควบคุมกระบวนการแปรรูปอาหาร รวมถึงการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาในโรงงานอุตสาหกรรม</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong></strong></span></span>แนวทางในการประกอบอาชีพ</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #800000\">ผู้สำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตในสาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการหมัก และสาขาวิชาวิศวกรรมแปรรูปอาหาร จะมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สามารถนำมาประยุกต์เพื่อการแปรรูปผลิตผลเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ และการกำจัดของเสียจากโรงงาน บัณฑิตทุกคนได้รับการฝึกงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปผลิตผลเกษตร ต่าง ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถทำงานประกอบอาชีพส่วนตัว ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมการหมัก และอุตสาหกรรมเกษตรด้านอื่น ๆ โดยจะทำหน้าที่ในด้านการควบคุมการผลิต การประกันคุณภาพหรือการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือเป็นนักการตลาดทำหน้าที่ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ และแนะนำการใช้สารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักวิเคราะห์ และอาจารย์ในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ นอกจากนี้บัณฑิตสามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโทในสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศ และต่างประเทศ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43054\"><strong><span style=\"color: #ff0000\"> คณะรัฐศาสตร์</span></strong></a>  <img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4938b816b4281.gif\" height=\"134\" style=\"width: 179px; height: 148px\" />  <strong><a href=\"/node/42912\"><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715503962, expire = 1715590362, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e655091a26415e8266bf61008e415a6f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะอุตสาหกรรมเกษตร

สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

ศึกษาถึงองค์ประกอบทางเคมีของอาหาร กระบวนการแปรรูปอาหารแบบต่าง ๆ การใช้ความร้อน การใช้ความดัน การใช้สารเคมี การหมัก การเปลี่ยนแปลงของอาหารที่เกิดขึ้นในระหว่างการเก็บรักษา การแปรรูปสัตว์น้ำ เนื้อสัตว์ ธัญพืช ผักและผลไม้ ผลิตภัณฑ์นม บรรจุภัณฑ์และการออกแบบ กฎหมายอาหาร การประกันคุณภาพ รวมทั้งการสุขาภิบาลในโรงงานอาหาร

สาขาเทคโนโลยีการหมัก

ศึกษาถึงความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมอาหาร การใช้ประโยชน์จาก จุลินทรีย์ในการผลิตอาหาร อาหารหมัก การจัดการวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การกำจัดของเสีย การผลิตกรดอินทรีย์ การผลิตก๊าซชีวภาพ การพัฒนาการผลิตอาหารหมัก การควบคุมและลดปริมาณจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายในการผลิตอาหาร การปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ การออกแบบถังหมัก การควบคุมคุณภาพ รวมถึงการสุขาภิบาลและความปลอดภัยในการผลิตอาหาร

สาขาวิศวกรรมแปรรูปอาหาร

ศึกษาถึงวิชาเฉพาะทางวิทยาศาสตร์การอาหาร และกระบวนการแปรรูปอาหาร เน้นการประยุกต์หลักการวิศวกรรมแปรรูปอาหาร เช่น เทคโนโลยีการแปรรูปอาหารด้วยความร้อน ความเย็น การลดความชื้น การกลั่น การสกัด การตกผลึก และการตกตะกอน เป็นต้น ศึกษาการวางแผนและควบคุมการผลิต การออกแบบเครื่องมือและโรงงานอุตสาหกรรม เทคนิคการวัดและเครื่อมือทางวิศวกรรมอาหาร การควบคุมกระบวนการแปรรูปอาหาร รวมถึงการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาในโรงงานอุตสาหกรรม

 

แนวทางในการประกอบอาชีพ

ผู้สำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตในสาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาเทคโนโลยีการหมัก และสาขาวิชาวิศวกรรมแปรรูปอาหาร จะมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สามารถนำมาประยุกต์เพื่อการแปรรูปผลิตผลเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร การตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ และการกำจัดของเสียจากโรงงาน บัณฑิตทุกคนได้รับการฝึกงานในหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมอาหารและแปรรูปผลิตผลเกษตร ต่าง ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ ผู้สำเร็จการศึกษา สามารถทำงานประกอบอาชีพส่วนตัว ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมการหมัก และอุตสาหกรรมเกษตรด้านอื่น ๆ โดยจะทำหน้าที่ในด้านการควบคุมการผลิต การประกันคุณภาพหรือการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือเป็นนักการตลาดทำหน้าที่ส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ และแนะนำการใช้สารเคมีในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย นักวิเคราะห์ และอาจารย์ในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ นอกจากนี้บัณฑิตสามารถศึกษาต่อระดับปริญญาโทในสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

 คณะรัฐศาสตร์    กลับสู่หน้าแรก

 

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 302 คน กำลังออนไลน์