• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f666b498ed3dc3e88a1b7ffc612355f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"248\" width=\"358\" src=\"/files/u20244/banner.jpg\" border=\"0\" /> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #cee684; color: #008000\">&quot; สบู่ &quot;</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n        <span style=\"color: #66cc66\">สบู่เป็นสารสังเคราะห์ที่ทำได้โดยการนำไขมันหรือน้ำมันจากพืชหรือสัตว์มาต้มกับสารละลายเบส ได้แก่ โซเดียมไฮดรอกไซด์ สารที่ได้จากการต้ม คือ กลีเซอรอล และโซเดียมคาร์บอกซิเลตของกรดไขมันหรือสบู่โซเดียมที่เราใช้กันทั่วไปนั่นเองนอกจากจะใช้สารละลายเบสจำพวกโซเดียมไฮดรอกไซด์แล้วยังสามารถใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์แทนได้ ซึ่งสารที่ได้จะมีลักษณะที่อ่อนกว่าและละลายได้ดีกว่าสบู่ที่ทำจากสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ สบู่โพแทสเซียมนิยมใช้ผสมในครีมโกนหนวดหรือใช้ทำสบู่เหลว</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        </span><span style=\"color: #99cc00\">โมเลกุลของสบู่ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำมัน เป็นส่วนที่ไม่ขั้วซึ่งเป็นลูกโซ่คาร์บอน และส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำเป็นส่วนที่มีขั้วซึ่งเป็นเกลือโซเดียมคาร์บอกซิเลตหรือโพแทสเซียมคาร์บอกซิเลต ไปละลายน้ำมันซึ่งมีโครงสร้างโมเลกุลประเภทเดียวกัน จนกระทั่งทำให้สิ่งสกปรกต่างๆ ที่เป็นพวกไขมันกลายเป็นหยดน้ำมันเล็กๆ น้ำมันเหล่านี้ก็จะกระจายเป็นสารแขวนลอยอยู่ในน้ำมีลักษณะเป็นฝ้าที่เราเห็นเมื่อนำสบู่ไปผสมกับน้ำที่แช่เสื้อผ้า หรือจานที่มีคราบน้ำมันเกาะอยู่ สำหรับส่วนปลายอีกข้างหนึ่งที่เป็นส่วนละลายน้ำก็จะละลายน้ำได้ดีขึ้น สิ่งสกปรกต่างๆ และคราบน้ำมันก็จะหลุดและกระจายตัวออกไปจากผิวหน้าของเสื้อผ้าหรือสิ่งสกปรกที่ต้องการล้าง กล่าวโดยสรุปได้ว่า การทำงานของสบู่เริ่มจากโมเลกุลของสบู่หันส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำมันเข้าหาหยดน้ำมัน โดยจัดการย่อยน้ำมันที่มีขนาดจะไม่เปลืองสบู่ แต่จะล้างสบู่ออกยากและมีฟองมาก เพราะน้ำฝนเป็นน้ำอ่อน แต่ถ้าใช้สบู่กับน้ำกระด้างจะเปลืองสบู่และจะมีฟองน้อย รวมทั้งมีฝ้าลอยอยู่เต็มผิวน้ำ เพราะน้ำกระด้างเมื่อทำปฏิกิริยากับสบู่ก็จะได้เกลือที่ไม่ละลายน้ำ ซึ่งเป็นเกลือแคลเซียมของกรดไขมันและเกลือใหญ่ให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จนหยดน้ำมันเล็กๆ นั้นกระจายตัวในน้ำจนมองดูน้ำนั้นเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งก็คือน้ำที่ใช้สบู่ซักล้างครั้งแรกนั่นเอง</span><span style=\"color: #000000\"></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                     ข้อมูลเกี่ยวกับสบู่</span></u></em></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #cc99ff\">&gt;&gt;&gt;   <a href=\"/node/46958\">ประเภทของสบู่</a>   &lt;&lt;&lt;</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">&gt;&gt;&gt;   <a href=\"/node/46766\">โครงสร้างทางเคมีของสบู่</a>   &lt;&lt;&lt;</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">&gt;&gt;&gt;   <a href=\"/node/46553\">วิธีการทำสบู่</a>   &lt;&lt;&lt;</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                            สบู่ชนิดต่างๆ </span></u></em></strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/46769\"><img height=\"199\" width=\"258\" src=\"/files/u20244/herbalsoaplink.jpg\" border=\"0\" /></a>   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/46767\"><img height=\"212\" width=\"309\" src=\"/files/u20244/tsoaplink.jpg\" border=\"0\" /></a></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/46788\"><img height=\"285\" width=\"239\" src=\"/files/u20244/Liquid-Soap-LINK.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                            การรีไซเคิลสบู่</span></u></em></strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/46793\"><img height=\"209\" width=\"291\" src=\"/files/u20244/recyclelink_1.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                            ประโยชน์</span></u></em></strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/50858\"><img height=\"180\" width=\"300\" src=\"/files/u20244/uselink.jpg\" border=\"0\" /></a></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><strong><em><u><span style=\"color: #ff0000\">                                                                                                            แหล่งอ้างอิง</span></u></em></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><a href=\"/node/46792\"><img height=\"225\" width=\"300\" src=\"/files/u20244/sourcelink_0.jpg\" border=\"0\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1714865085, expire = 1714951485, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f666b498ed3dc3e88a1b7ffc612355f7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สบู่...สบาย

 

" สบู่ "

        สบู่เป็นสารสังเคราะห์ที่ทำได้โดยการนำไขมันหรือน้ำมันจากพืชหรือสัตว์มาต้มกับสารละลายเบส ได้แก่ โซเดียมไฮดรอกไซด์ สารที่ได้จากการต้ม คือ กลีเซอรอล และโซเดียมคาร์บอกซิเลตของกรดไขมันหรือสบู่โซเดียมที่เราใช้กันทั่วไปนั่นเองนอกจากจะใช้สารละลายเบสจำพวกโซเดียมไฮดรอกไซด์แล้วยังสามารถใช้โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์แทนได้ ซึ่งสารที่ได้จะมีลักษณะที่อ่อนกว่าและละลายได้ดีกว่าสบู่ที่ทำจากสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ สบู่โพแทสเซียมนิยมใช้ผสมในครีมโกนหนวดหรือใช้ทำสบู่เหลว

        โมเลกุลของสบู่ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำมัน เป็นส่วนที่ไม่ขั้วซึ่งเป็นลูกโซ่คาร์บอน และส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำเป็นส่วนที่มีขั้วซึ่งเป็นเกลือโซเดียมคาร์บอกซิเลตหรือโพแทสเซียมคาร์บอกซิเลต ไปละลายน้ำมันซึ่งมีโครงสร้างโมเลกุลประเภทเดียวกัน จนกระทั่งทำให้สิ่งสกปรกต่างๆ ที่เป็นพวกไขมันกลายเป็นหยดน้ำมันเล็กๆ น้ำมันเหล่านี้ก็จะกระจายเป็นสารแขวนลอยอยู่ในน้ำมีลักษณะเป็นฝ้าที่เราเห็นเมื่อนำสบู่ไปผสมกับน้ำที่แช่เสื้อผ้า หรือจานที่มีคราบน้ำมันเกาะอยู่ สำหรับส่วนปลายอีกข้างหนึ่งที่เป็นส่วนละลายน้ำก็จะละลายน้ำได้ดีขึ้น สิ่งสกปรกต่างๆ และคราบน้ำมันก็จะหลุดและกระจายตัวออกไปจากผิวหน้าของเสื้อผ้าหรือสิ่งสกปรกที่ต้องการล้าง กล่าวโดยสรุปได้ว่า การทำงานของสบู่เริ่มจากโมเลกุลของสบู่หันส่วนที่ละลายได้ดีในน้ำมันเข้าหาหยดน้ำมัน โดยจัดการย่อยน้ำมันที่มีขนาดจะไม่เปลืองสบู่ แต่จะล้างสบู่ออกยากและมีฟองมาก เพราะน้ำฝนเป็นน้ำอ่อน แต่ถ้าใช้สบู่กับน้ำกระด้างจะเปลืองสบู่และจะมีฟองน้อย รวมทั้งมีฝ้าลอยอยู่เต็มผิวน้ำ เพราะน้ำกระด้างเมื่อทำปฏิกิริยากับสบู่ก็จะได้เกลือที่ไม่ละลายน้ำ ซึ่งเป็นเกลือแคลเซียมของกรดไขมันและเกลือใหญ่ให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จนหยดน้ำมันเล็กๆ นั้นกระจายตัวในน้ำจนมองดูน้ำนั้นเป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งก็คือน้ำที่ใช้สบู่ซักล้างครั้งแรกนั่นเอง

                                                                                                     ข้อมูลเกี่ยวกับสบู่ 

>>>   ประเภทของสบู่   <<<

>>>   โครงสร้างทางเคมีของสบู่   <<< 

>>>   วิธีการทำสบู่   <<< 

                                                                                                            สบู่ชนิดต่างๆ

  

                                                                                                            การรีไซเคิลสบู่

                                                                                                            ประโยชน์

                                                                                                            แหล่งอ้างอิง

สร้างโดย: 
นางสาวศุภัชยา พวงพรทิพ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 518 คน กำลังออนไลน์